SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
บทเรียนที่ 2 การใช้งานระบบจัดการ Joomla
การเข้าใช้งานระบบจัดการ Joomla
ผู้ดูแลเว็บไซต์สามารถเข้าสู่หน้าเว็บเพจของระบบจัดการเว็บไซต์ Joomla ได้โดยมี
ขั้นตอนดังนี้
1. เปิดหน้าเว็บเพจโดยพิมพ์ /administrator ต่อท้ายชื่อเว็บไซต์ เช่น
http://127.0.0.1/joomla/Administrator,http://www.jerasith.com/administrator เป็นต้น
2. ระบุชื่อผู้ใช้งานในช่อง User Name
3. ระบุรหัสผ่าน ในช่อง Password
4. คลิกปุ่ม Login
หลังจากนั้นก็จะเข้าสู่หน้าเว็บเพจสาหรับจัดการเว็บไซต์ของผู้ดูแล
เว็บไซต์ (adminstator) หรือ หน้าควบคุมหลัก (control panel)
• หน้าควบคุมหลัก (Control Panel)
• หน้าควบคุมหลัก เป็นหน้าเว็บเพจที่รวบรวมเครื่องมือที่ใช้จัดการส่วนต่างๆ ของเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นด้วย
ขึ้นด้วย Joomla ซึ่งประกอบด้วย 4 ส่วนดังนี้
• เป็นเมนูหลัก (Menu Bar)
• แถบเฮดเดอร์ (Header Bar)
• แผงไอคอนทางลัด (Quick Icon panel)
• สถิติการใช้งาน
A: แถบเมนูหลัก (Menu Bar)
• แถบเมนูหลัก เป็นแถบที่รวบรวมกลุ่มเครื่องมือประเภทเดี้ยวกันของ Joomla ไว้ใน
ไว้ในเมนูเดียวกัน ทาใหใช้งานได้ง่ายขึ้น ประกอบด้วย 7 เมนู ดังนี้
• เมนู Site ประกอบด้วยเครื่องมือจัดการเว็บไซต์
• Control Panel : หน้าควบคุมหลัก
• My Profile : ตั้งค่าโ)รไฟล์
• Global Configuration : ตั้งค่าการทางานของระบบโดยรวม
• Maintenance : จัดการเกี่ยวกับ Checkin,ยกเลิกการล๊อกเคลียร์แคช
• System Information : จัดการเกี่ยวกับเซิพเวอร์ เช่น ค่าคอนฟิกของระบบ
• Login : ออกจากระบบ
เมนู Users ประกอบด้วยเครื่องมือจัดการผู้ใช้เว็บไซต์
• User Manager : จัดการสมาชิกหรือผู้ใช้งาน
• Groups : จัดการกลุ่มผู้ใช้งาน
• Access Levels : จัดการระดับการเข้าถึงเนื้อหาหรือบทความ
• User Notes : เขียนบันทึกไว้สาหรับผู้ใช้งาน
• Mass Mail Users: ส่งเมล์ให้กับกลุ่มสมาชิก
เมนู Menus ประด้วยเครื่องมือจัดการเกี่ยวกับเมนูของเว็บไซต์
• Menu Manager : จัดการระบบเมนู
• Main Menu : จัดการเมนูหลัก
เมนู Content ประกอบด้วยเครื่องมือจัดการเกี่ยวกับบทความของเว็บไซต์
• Article Manager : จัดการเนื้อหาบทความ
• Category Manager : จัดการหมวดหมู่
• Featured Articles : จัดการเนื้อหาที่แสดงหน้าแรก
• Medie Manager : จัดการไฟล์มีเดีย
เมนู Components ประกอบด้วยเครื่องมือจัดการเกี่ยวกับคอมโพเนนต์
ต่างๆที่ติดตั้งเพื่อใช้งานใน Joomla
• Banners : จัดการแบนเนอร์โฆษณา
• Contacts : จัดการรายชื่อผู้ติดต่อ
• Joomla Update : แจ้งเตือนการอัพเดตเวอร์ชั่น Joomla
• Messaging : จัดการข้อความที่ส้งมาถึงเรา
• Newsfeeds : จัดการข่าวสารแบบ RSS
• Redirect : จัดการลิงค์ URL
• Search : จัดการเกี่ยวกับการค้นหา
• Smart Search : จัดการระบบการค้นหาข้อมูลอัจฉริยะในเว็บไซต์
• Weblinks : จัดการกับรายชื่อลิงค์
เมนู Extensions ประกอบด้วยเครื่องมือจัดการติดตั้งและถอนการติดตั้ง
โปรแกรม โมดูล ปลั๊กอิน เทมเพลต และเครื่องมือจัดการภาษาบน Joomla
• Extension Manager : จัดการกับโปรแกรมเสริม
• Module Manager : จัดการกับโมดูล
• Plug-in Manager : จัดการกับเทมเพลต
• Language Manager : จัดการกับภาษา
เมนู Help ประกอบด้วยเครื่องมือเกี่ยวกับการช่วยเหลือ
B: แถบเฮดเดอร์ (Heder Bar)
• แถบเฮดเดอร์ เป็นแถบที่แสดงรายละเอียดต่างๆ ซึ่งอยู่ทางด้านมุมขวาหน้า
หน้าควบคุมหลัก ประกอบด้วย
C : แผงไอคอนทางลัด
• เป็นพื้นที่รวบรวมเครื่องมือที่ใช้บ่อยๆ เพื่อให้ดูแลเว็บไซต์สามารถเปิดใช้งานได้ทันที ซึ่งประกอบด้วย 14
เครื่องมือ ดังนี้
• Add New Article : เพิ่มเนื้อหาบทความใหม่
• Article Manager : จัดการกับเนื้อหาบทความ
• Category Manager : จัดการกับหมวดหมู่
• Medie Manager : จัดการกับไฟล์มีเดีย
• Menu Manager : จัดการกับเมนู
• User Manager : จัดการกับสมาชิก
• Module Manager : จัดารกับโมดูล
• Extension Manager จัดการกับโปรแกรมเสริม
• Language Manager จัดการกับภาษา
• Global Configuration : ตั้งค่าการทางานระบบ
• Template Manager : จัดการกับเทมเพลต
• Edit Profile : แก้ไขข้อมูลส่วนตัว
• Joomla is up-to-date : แจ้งเตือนการอัพเดตเวอร์ชั่น Joomla
• All extensions are ip-to-date : แจ้งเตือนการอัพเดตโปรแกรมเสริมต่างๆ
D : สถิติการใช้งาน
• ผู้ดูแลเว็บไซต์สารถเรียกดูข้อมูลการเรียกใช้งานต่างๆ ของระบบได้ดังนี้
• Last 5 Logged-in Users : ผู้ดูแลเว็บไซต์ที่ล็อกอินเข้าระบบล่าสุด 5 อันดับ
อันดับแรก
• Top 5 Popular Articles : เนื้อหาบทความที่ถูกเปิดดูที่สุด 5 อันดับแรก
• Last 5 Added Articles : เนื้อหาบทความที่สร้างขึ้นมาล่าสุด 5 อันดับ
การกาหนดค่าการทางานพื้นฐานของเว็บไซต์ (Global Configuration)
เป็นการปรับแต่งหรือกาหนดค่าการทางานพื้นฐานของระบบภายใน
ภายในของเว็บไซต์ เช่น กาหนดค่าในการแสดงเนื้อหาบนเว็บไซต์, การ
กาหนดค่า SEO เป็นต้น โดยสามารถเข้าถึงหน้าการกาหนดค่าระบบได้2 วิธี
วิธี ดังนี้
• - คลิกเมนู Site > Global Configuration
• - คลิกไอคอน Global Configuration ที่แผงควบคุมหลัก
จากนั้นจะเข้าสู่หน้าการกาหนดค่าการทางานพื้นฐานของเว็บไซต์
ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ Site, System, Server, Permissions และ Text
Filter ดังภาพ
การกาหนดค่าในส่วน Site
• ส่วนนี้จะเป็นการปรับแต่งการทางานของส่วนที่เกี่ยวข้องกับหน้าเว็บไซต์
Site Settings เป็นการกาหนดค่าในการแสดงเนื้อหาบนหน้าเว็บไซต์ โดยมีรายละเอียดดังนี้
• Site Name : กาหนดชื่อของเว็บไซต์ ซึ่งจะแสดงในไตเติลบาร์ของหน้าต่างผู้ดูแลระบบ
• Site Offline : กาหนดเปิด/ปิดเว็บไซต์ชั่วคราว
• Offline Message : เลือกกาหนดข้อความที่ใช้แสดงแทนเนื้อหาบทความขณะปิดเว็บไซต์ชั่วคราว
• Custom Message : กาหนดข้อความที่ใช้แสดงขณะที่ปิดเว็บไซต์ชั่วคราว
• Default Editor : เลือกเอดิเตอร์ในการสร้างเนื้อหาบทความ
• Default Access Level : เลือกระดับของผู้ที่สามารถเข้าชมเว็บไซต์
• Default List Limit : กาหนดจานวนรายการข้อมูลที่ให้แสดงในแต่ล่ะหน้าของเว็บไซต์
• Default Feed Limit : กาหนดจานวนหัวข้อของเนื้อหาที่แสดงใน feed ในเว็บไซต์ที่ถูกดึงไปแสดงบนเว็บอื่นๆ
Note
Search Engine เป็นเครื่องมือประเภทเว็บไซต์ที่ใช้สาหรับค้นหาข้อมูล โดยใช้โปรแกรม
อัตโนมัติที่เรียกว่า Spider หรือ Robot ในการเก็บรวบรวมคีย์เวิร์ด (Keyword) และรายละเอียด
(description) เกี่ยวกับเว็บไซต์ต่างๆ
การกาหนดค่าในส่วน System
ในส่วนนี้จะกาหนดค่าให้กับระบบ (ซึ่งบางส่วนไม่จาเป็นต้องปรับแก้ไขค่าใดๆ) โดยแบ่งเป็น 4
System settings เป็นการกาหนดค่าให้กับระบบ
• Path to Log Folder : กาหนดพาธสาหรับเก็บบันทึกค่า Login ในการใช้งาน
• Help Server : เลือกเซิร์ฟเวิอร์ของข้อมูลสาหรับช่วยเหลือการใช้งาน
Debug Settings เป็นการกาหนดค่าเกี่ยวกับจุดบกพร่องการทางานให้กับระบบ
• Debug System : กาหนดให้แสดงจุดบกพร่องการทางานบริเวณส่วนล่างสุดของหน้าเว็บไซต์หรือไม่
การกาหนดค่าในส่วน Server
ส่วนนี้เป็นการกาหนดค่าให้กับระบบของเซิร์ฟเวอร์ทั้งหมด โดยแบ่งการ
การกาหนดค่าออกเป็น 5 ส่วนด้วยกัน
• Sever Settings เป็นการกาหนดค่าระบบเซิร์ฟเวอร์ โดยมีรายละเอียดดังนี้
• Location Settings เป็นการกาหนดเวลาให้เซิร์ฟเวอร์
• FTP Settings เป็นการกาหนดรายละเอียดการใช้งาน FTP
• Database Settings กาหนดรายละเอียดการทางานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
• Mail Settings เป็นการกาหนดรายละเอียดการใช้งานเกี่ยวกับอีเมล์
การกาหนดค่าในส่วน Permission Settings
ส่วนนี้เป็นการกาหนดระดับการเข้าถึงและจัดการ เพิ่ม ลบ แก้ไข
ข้อมูลในส่วนต่างๆ ของเว็บไซต์ในแต่ละส่วนสาหรับผู้ใช้งานทั้งหมด ไม่ว่าจะ
จะเป็นสมาชิกหรือบุคคลทั่วไป โดยการกาหนดระดับการเข้าถึงในแต่ละส่วนมี
ส่วนมีรายละเอียดดังนี้
• Site Login : กาหนดการเข้าถึงการล๊อกอินจากหน้าเว็บไซต์
• Admin Login : กาหนดการเข้าถึงการล๊อกอินของผู้ดูแลระบบจากหน้า
เว็บไซต์
• Offline Access : กาหนดการเข้าถึงการกาหนดค่าระดับ Super Admin
• Access Administration Interface : กาหนดการเข้าถึงการจัดการใน
ส่วนการทางานต่างๆของผู้ดูแลระบบ
• Create : กาหนดการเข้าถึงเกี่ยวกลับการสร้างใหม่ เช่น สร้างบทความ
• Delete : กาหนดการเข้าถึงเกี่ยวกับการลบ เช่น การลบบทความ
• Edit : กาหนดการเข้าถึงเกี่ยวกับการไข เช่น แก้ไขบทความ
การกาหนดค่าในส่วน Text Filters
ในส่วนนี้เป็นการจากัดหรืออนุญาตการใช้งานบางอย่างให้แต่ละกลุ่ม
กลุ่มผู้ใช้งาน เช่น การอนุญาตให้ผู้ดูแลระบบหรือ Super users สามารถใส่แท็ก
แท็ก<script> หรือ <iFrame> เป็นต้น

More Related Content

Similar to บทเรียนที่ 2 การใช้งานระบบจัดการ

อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomla
อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomlaอบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomla
อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomla
Krukeng Smedu III
 
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
doraemonbookie
 
Joomla คืออะไร
Joomla คืออะไรJoomla คืออะไร
Joomla คืออะไร
krudaojar
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
ปอ อา มอ
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
withawat na wanma
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
ธนวัฒน์ แสนสุข
 
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบกลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
เขมิกา กุลาศรี
 
คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8
duangnapa27
 

Similar to บทเรียนที่ 2 การใช้งานระบบจัดการ (20)

Joomla2 5
Joomla2 5Joomla2 5
Joomla2 5
 
Joomla
JoomlaJoomla
Joomla
 
Joomla2-5-article-manager
Joomla2-5-article-managerJoomla2-5-article-manager
Joomla2-5-article-manager
 
อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomla
อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomlaอบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomla
อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomla
 
Control Panel ใน Joomla 1.5
Control Panel ใน Joomla 1.5Control Panel ใน Joomla 1.5
Control Panel ใน Joomla 1.5
 
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
 
Joomla present at Bangkok University
Joomla present at Bangkok UniversityJoomla present at Bangkok University
Joomla present at Bangkok University
 
คู่มือ อบรม Joomla! 3.x
คู่มือ อบรม Joomla! 3.xคู่มือ อบรม Joomla! 3.x
คู่มือ อบรม Joomla! 3.x
 
Joomla 3-by-colorpack
Joomla 3-by-colorpackJoomla 3-by-colorpack
Joomla 3-by-colorpack
 
Joomla คืออะไร
Joomla คืออะไรJoomla คืออะไร
Joomla คืออะไร
 
การบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshop
การบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshopการบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshop
การบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshop
 
PHP & Dreamweaver ch03
PHP & Dreamweaver  ch03 PHP & Dreamweaver  ch03
PHP & Dreamweaver ch03
 
Joomla NetDesign2
Joomla NetDesign2Joomla NetDesign2
Joomla NetDesign2
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
 
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบกลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
 
คู่มือ Joomla
คู่มือ Joomlaคู่มือ Joomla
คู่มือ Joomla
 
Joomla
JoomlaJoomla
Joomla
 
คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8
 

More from Nakharin Inphiban

หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์
หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์
หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์
Nakharin Inphiban
 
บทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความ
บทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความบทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความ
บทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความ
Nakharin Inphiban
 
หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความ
หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความหน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความ
หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความ
Nakharin Inphiban
 
บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4
Nakharin Inphiban
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
Nakharin Inphiban
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
Nakharin Inphiban
 
บทเรียนที่ 4 การใช้งานระบบจัดการไฟล์
บทเรียนที่ 4 การใช้งานระบบจัดการไฟล์บทเรียนที่ 4 การใช้งานระบบจัดการไฟล์
บทเรียนที่ 4 การใช้งานระบบจัดการไฟล์
Nakharin Inphiban
 

More from Nakharin Inphiban (9)

หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์
หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์
หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์
 
บท 8
บท 8บท 8
บท 8
 
บท 7
บท 7บท 7
บท 7
 
บทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความ
บทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความบทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความ
บทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความ
 
หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความ
หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความหน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความ
หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความ
 
บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
 
บทเรียนที่ 4 การใช้งานระบบจัดการไฟล์
บทเรียนที่ 4 การใช้งานระบบจัดการไฟล์บทเรียนที่ 4 การใช้งานระบบจัดการไฟล์
บทเรียนที่ 4 การใช้งานระบบจัดการไฟล์
 

บทเรียนที่ 2 การใช้งานระบบจัดการ

  • 1. บทเรียนที่ 2 การใช้งานระบบจัดการ Joomla การเข้าใช้งานระบบจัดการ Joomla ผู้ดูแลเว็บไซต์สามารถเข้าสู่หน้าเว็บเพจของระบบจัดการเว็บไซต์ Joomla ได้โดยมี ขั้นตอนดังนี้ 1. เปิดหน้าเว็บเพจโดยพิมพ์ /administrator ต่อท้ายชื่อเว็บไซต์ เช่น http://127.0.0.1/joomla/Administrator,http://www.jerasith.com/administrator เป็นต้น 2. ระบุชื่อผู้ใช้งานในช่อง User Name 3. ระบุรหัสผ่าน ในช่อง Password 4. คลิกปุ่ม Login
  • 3. • หน้าควบคุมหลัก (Control Panel) • หน้าควบคุมหลัก เป็นหน้าเว็บเพจที่รวบรวมเครื่องมือที่ใช้จัดการส่วนต่างๆ ของเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นด้วย ขึ้นด้วย Joomla ซึ่งประกอบด้วย 4 ส่วนดังนี้ • เป็นเมนูหลัก (Menu Bar) • แถบเฮดเดอร์ (Header Bar) • แผงไอคอนทางลัด (Quick Icon panel) • สถิติการใช้งาน
  • 4. A: แถบเมนูหลัก (Menu Bar) • แถบเมนูหลัก เป็นแถบที่รวบรวมกลุ่มเครื่องมือประเภทเดี้ยวกันของ Joomla ไว้ใน ไว้ในเมนูเดียวกัน ทาใหใช้งานได้ง่ายขึ้น ประกอบด้วย 7 เมนู ดังนี้ • เมนู Site ประกอบด้วยเครื่องมือจัดการเว็บไซต์ • Control Panel : หน้าควบคุมหลัก • My Profile : ตั้งค่าโ)รไฟล์ • Global Configuration : ตั้งค่าการทางานของระบบโดยรวม • Maintenance : จัดการเกี่ยวกับ Checkin,ยกเลิกการล๊อกเคลียร์แคช • System Information : จัดการเกี่ยวกับเซิพเวอร์ เช่น ค่าคอนฟิกของระบบ • Login : ออกจากระบบ
  • 5. เมนู Users ประกอบด้วยเครื่องมือจัดการผู้ใช้เว็บไซต์ • User Manager : จัดการสมาชิกหรือผู้ใช้งาน • Groups : จัดการกลุ่มผู้ใช้งาน • Access Levels : จัดการระดับการเข้าถึงเนื้อหาหรือบทความ • User Notes : เขียนบันทึกไว้สาหรับผู้ใช้งาน • Mass Mail Users: ส่งเมล์ให้กับกลุ่มสมาชิก
  • 6. เมนู Menus ประด้วยเครื่องมือจัดการเกี่ยวกับเมนูของเว็บไซต์ • Menu Manager : จัดการระบบเมนู • Main Menu : จัดการเมนูหลัก เมนู Content ประกอบด้วยเครื่องมือจัดการเกี่ยวกับบทความของเว็บไซต์ • Article Manager : จัดการเนื้อหาบทความ • Category Manager : จัดการหมวดหมู่ • Featured Articles : จัดการเนื้อหาที่แสดงหน้าแรก • Medie Manager : จัดการไฟล์มีเดีย
  • 7. เมนู Components ประกอบด้วยเครื่องมือจัดการเกี่ยวกับคอมโพเนนต์ ต่างๆที่ติดตั้งเพื่อใช้งานใน Joomla • Banners : จัดการแบนเนอร์โฆษณา • Contacts : จัดการรายชื่อผู้ติดต่อ • Joomla Update : แจ้งเตือนการอัพเดตเวอร์ชั่น Joomla • Messaging : จัดการข้อความที่ส้งมาถึงเรา • Newsfeeds : จัดการข่าวสารแบบ RSS • Redirect : จัดการลิงค์ URL • Search : จัดการเกี่ยวกับการค้นหา • Smart Search : จัดการระบบการค้นหาข้อมูลอัจฉริยะในเว็บไซต์ • Weblinks : จัดการกับรายชื่อลิงค์
  • 8. เมนู Extensions ประกอบด้วยเครื่องมือจัดการติดตั้งและถอนการติดตั้ง โปรแกรม โมดูล ปลั๊กอิน เทมเพลต และเครื่องมือจัดการภาษาบน Joomla • Extension Manager : จัดการกับโปรแกรมเสริม • Module Manager : จัดการกับโมดูล • Plug-in Manager : จัดการกับเทมเพลต • Language Manager : จัดการกับภาษา เมนู Help ประกอบด้วยเครื่องมือเกี่ยวกับการช่วยเหลือ
  • 9. B: แถบเฮดเดอร์ (Heder Bar) • แถบเฮดเดอร์ เป็นแถบที่แสดงรายละเอียดต่างๆ ซึ่งอยู่ทางด้านมุมขวาหน้า หน้าควบคุมหลัก ประกอบด้วย
  • 10. C : แผงไอคอนทางลัด • เป็นพื้นที่รวบรวมเครื่องมือที่ใช้บ่อยๆ เพื่อให้ดูแลเว็บไซต์สามารถเปิดใช้งานได้ทันที ซึ่งประกอบด้วย 14 เครื่องมือ ดังนี้ • Add New Article : เพิ่มเนื้อหาบทความใหม่ • Article Manager : จัดการกับเนื้อหาบทความ • Category Manager : จัดการกับหมวดหมู่ • Medie Manager : จัดการกับไฟล์มีเดีย • Menu Manager : จัดการกับเมนู • User Manager : จัดการกับสมาชิก • Module Manager : จัดารกับโมดูล • Extension Manager จัดการกับโปรแกรมเสริม • Language Manager จัดการกับภาษา • Global Configuration : ตั้งค่าการทางานระบบ • Template Manager : จัดการกับเทมเพลต • Edit Profile : แก้ไขข้อมูลส่วนตัว • Joomla is up-to-date : แจ้งเตือนการอัพเดตเวอร์ชั่น Joomla • All extensions are ip-to-date : แจ้งเตือนการอัพเดตโปรแกรมเสริมต่างๆ
  • 11. D : สถิติการใช้งาน • ผู้ดูแลเว็บไซต์สารถเรียกดูข้อมูลการเรียกใช้งานต่างๆ ของระบบได้ดังนี้ • Last 5 Logged-in Users : ผู้ดูแลเว็บไซต์ที่ล็อกอินเข้าระบบล่าสุด 5 อันดับ อันดับแรก • Top 5 Popular Articles : เนื้อหาบทความที่ถูกเปิดดูที่สุด 5 อันดับแรก • Last 5 Added Articles : เนื้อหาบทความที่สร้างขึ้นมาล่าสุด 5 อันดับ
  • 12. การกาหนดค่าการทางานพื้นฐานของเว็บไซต์ (Global Configuration) เป็นการปรับแต่งหรือกาหนดค่าการทางานพื้นฐานของระบบภายใน ภายในของเว็บไซต์ เช่น กาหนดค่าในการแสดงเนื้อหาบนเว็บไซต์, การ กาหนดค่า SEO เป็นต้น โดยสามารถเข้าถึงหน้าการกาหนดค่าระบบได้2 วิธี วิธี ดังนี้ • - คลิกเมนู Site > Global Configuration • - คลิกไอคอน Global Configuration ที่แผงควบคุมหลัก
  • 14. การกาหนดค่าในส่วน Site • ส่วนนี้จะเป็นการปรับแต่งการทางานของส่วนที่เกี่ยวข้องกับหน้าเว็บไซต์ Site Settings เป็นการกาหนดค่าในการแสดงเนื้อหาบนหน้าเว็บไซต์ โดยมีรายละเอียดดังนี้ • Site Name : กาหนดชื่อของเว็บไซต์ ซึ่งจะแสดงในไตเติลบาร์ของหน้าต่างผู้ดูแลระบบ • Site Offline : กาหนดเปิด/ปิดเว็บไซต์ชั่วคราว • Offline Message : เลือกกาหนดข้อความที่ใช้แสดงแทนเนื้อหาบทความขณะปิดเว็บไซต์ชั่วคราว • Custom Message : กาหนดข้อความที่ใช้แสดงขณะที่ปิดเว็บไซต์ชั่วคราว • Default Editor : เลือกเอดิเตอร์ในการสร้างเนื้อหาบทความ • Default Access Level : เลือกระดับของผู้ที่สามารถเข้าชมเว็บไซต์ • Default List Limit : กาหนดจานวนรายการข้อมูลที่ให้แสดงในแต่ล่ะหน้าของเว็บไซต์ • Default Feed Limit : กาหนดจานวนหัวข้อของเนื้อหาที่แสดงใน feed ในเว็บไซต์ที่ถูกดึงไปแสดงบนเว็บอื่นๆ
  • 15. Note Search Engine เป็นเครื่องมือประเภทเว็บไซต์ที่ใช้สาหรับค้นหาข้อมูล โดยใช้โปรแกรม อัตโนมัติที่เรียกว่า Spider หรือ Robot ในการเก็บรวบรวมคีย์เวิร์ด (Keyword) และรายละเอียด (description) เกี่ยวกับเว็บไซต์ต่างๆ การกาหนดค่าในส่วน System ในส่วนนี้จะกาหนดค่าให้กับระบบ (ซึ่งบางส่วนไม่จาเป็นต้องปรับแก้ไขค่าใดๆ) โดยแบ่งเป็น 4
  • 16. System settings เป็นการกาหนดค่าให้กับระบบ • Path to Log Folder : กาหนดพาธสาหรับเก็บบันทึกค่า Login ในการใช้งาน • Help Server : เลือกเซิร์ฟเวิอร์ของข้อมูลสาหรับช่วยเหลือการใช้งาน Debug Settings เป็นการกาหนดค่าเกี่ยวกับจุดบกพร่องการทางานให้กับระบบ • Debug System : กาหนดให้แสดงจุดบกพร่องการทางานบริเวณส่วนล่างสุดของหน้าเว็บไซต์หรือไม่
  • 17. การกาหนดค่าในส่วน Server ส่วนนี้เป็นการกาหนดค่าให้กับระบบของเซิร์ฟเวอร์ทั้งหมด โดยแบ่งการ การกาหนดค่าออกเป็น 5 ส่วนด้วยกัน • Sever Settings เป็นการกาหนดค่าระบบเซิร์ฟเวอร์ โดยมีรายละเอียดดังนี้ • Location Settings เป็นการกาหนดเวลาให้เซิร์ฟเวอร์ • FTP Settings เป็นการกาหนดรายละเอียดการใช้งาน FTP • Database Settings กาหนดรายละเอียดการทางานเกี่ยวกับฐานข้อมูล • Mail Settings เป็นการกาหนดรายละเอียดการใช้งานเกี่ยวกับอีเมล์
  • 18. การกาหนดค่าในส่วน Permission Settings ส่วนนี้เป็นการกาหนดระดับการเข้าถึงและจัดการ เพิ่ม ลบ แก้ไข ข้อมูลในส่วนต่างๆ ของเว็บไซต์ในแต่ละส่วนสาหรับผู้ใช้งานทั้งหมด ไม่ว่าจะ จะเป็นสมาชิกหรือบุคคลทั่วไป โดยการกาหนดระดับการเข้าถึงในแต่ละส่วนมี ส่วนมีรายละเอียดดังนี้
  • 19. • Site Login : กาหนดการเข้าถึงการล๊อกอินจากหน้าเว็บไซต์ • Admin Login : กาหนดการเข้าถึงการล๊อกอินของผู้ดูแลระบบจากหน้า เว็บไซต์ • Offline Access : กาหนดการเข้าถึงการกาหนดค่าระดับ Super Admin • Access Administration Interface : กาหนดการเข้าถึงการจัดการใน ส่วนการทางานต่างๆของผู้ดูแลระบบ • Create : กาหนดการเข้าถึงเกี่ยวกลับการสร้างใหม่ เช่น สร้างบทความ • Delete : กาหนดการเข้าถึงเกี่ยวกับการลบ เช่น การลบบทความ • Edit : กาหนดการเข้าถึงเกี่ยวกับการไข เช่น แก้ไขบทความ
  • 20. การกาหนดค่าในส่วน Text Filters ในส่วนนี้เป็นการจากัดหรืออนุญาตการใช้งานบางอย่างให้แต่ละกลุ่ม กลุ่มผู้ใช้งาน เช่น การอนุญาตให้ผู้ดูแลระบบหรือ Super users สามารถใส่แท็ก แท็ก<script> หรือ <iFrame> เป็นต้น