SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
รู้จักกับ Joomla!
Joomla! จัดเป็นเว็บไซต์ประเภท CMS ตัวหนึ่ ง เช่นเดียวกับ WordPress,
Drupal ซึ่ง CMS ถูกสร้างขึ้นมาด้วยภาษาสคริปต์ PHP และ JavaScript ทางานร่วมกับ
ร่วมกับฐานข้อมูล MySQL และภาษาจัดการข้อมูล XML โดย CMS เป็นระบบที่ช่วย
บริหารจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต์ สามารถใส่ข้อมูลเนื้อหา ปรับแต่งแก้ไขหน้าตาของ
เว็บไซต์ได้ตามต้องการ ทาให้ช่วยลดขั้นตอน และความยุ่งยาก ตลอดจนอานวยความ
ความสะดวก และง่ายต่อการบริหารจัดการเว็บไซต์ โดยที่ผู้ใช้งานสามารถจัดทาเว็บไซต์
เว็บไซต์ได้โดยง่ายด้วยตนเอง ไม่จาเป็นต้องมีความรู้ในด้านการเขียนโปรแกรมหรือ
ออกแบบเว็บไซต์ เพียงแค่เรียนรู้การติดตั้งการปรับแต่ง และการใช้งานเท่านั้น
(รายละเอียดสามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.joomla.org)
Joomla! ถือกำเนิดขึ้นจำกกำรแยกตัวของกลุ่มพัฒนำโปรเจ็คแมมโบ้ (Mambo) เมื่อวันที่ 17 สิงหำคม
2548 และได้รวมกลุ่มกันสร้ำงเว็บไซต์ชื่อ “OpenSource.Matters.org” ขึ้นมำเพื่อกระจำยข้อมูลข่ำวสำรไปสู่กลุ่มผู้ใช้
นักพัฒนำโปรแกรม และสังคมออนไลน์ต่ำง ๆ ด้วยกำรนำทีมโดน Andrew Addie (ใช้ชื่อออนไลน์ว่ำ “MasterChief”)
หลังจำกนั้นเพียง 2 สัปดำห์จึงได้ทำโปรเจ็คชื่อ “Joomla!” ขึ้นโดย Joomla! ถูกแบ่งออกเป็น 6 เวอร์ชั่น ดังนี้
 เวอร์ชั่น 1.0.x โดยเวอร์ชั่นแรก 1.0.0 เปิดตัวเมื่อวันที่ 16 กันยำยน 2548 เป็นกำรนำชอร์สโค้ดของแมมโบ้เวอร์ชั่น
45.2.3 มำพัฒนำต่อพร้อมแก้ไขบัก (Bug) และเพิ่มเติมคุณสมบัติทำงด้ำนกำรรักษำควำมปลอดภัยเข้ำไป (รุ่นล่ำสุด
คือ 1.0.15 เมื่อวันที่ 1 มกรำคม 2552)
 เวอร์ชั่น 1.5.x เปิดตัวเมื่อวันที่ 22 มกรำคม 2551 โดยพัฒนำแก้ไขในส่วนต่ำง ๆ (รุ่นล่ำสุดคือ 1.5.23 เมื่อวันที่ 5
เมษำยน 2554) ซึ่งคำดว่ำจะหยุดปรับปรุงประมำณเดือน เมษำยน 2555
 เวอร์ชั่น 1.6.x เปิดตัวเมื่อวันที่ 10 มกรำคม 2554 โดยแก้ไขเรื่องควำมปลอดภัย ซึ่งเป็นโปรเจ็คระยะสั้นเพียง 6 เดือน
ซึ่งคำดว่ำจะหยุดปรับปรุงประมำณเดือน กรกฎำคม2554 (รุ่นล่ำสด 1.6.6 สำหรับผู้ใช้ที่ไม่ต้องกำรอัพเดตเป็นรุ่น
1.7.0)
 เวอร์ชั่น 1.7.x (Stable) เปิดให้ดำวน์โหลดเมื่อเดือนกรกฎำคม 2554 เป็นโปรเจ็คระสั้นเพียง 6 เดือน และจะหยุด
ปรับปรุงประมำณเดือน มกรำคม 2555
 เวอร์ชั่น 2.5.x (Stable) ซึ่งเป็นเวอร์ชั่นที่ใช้เขียนหนังสือเล่มนี้เปิดให้ดำวน์โหลดเวอร์ชั่น Beta 1 ในเดือนมกรำคม
2555 และออกรุ่ตัวเต็ม (GA) ประมำณวันที่ 25 กุมภำพันธ์ 2555
 เวอร์ชั่น 3.0.x เป็นเวอร์ชั่นล่ำสุดเปิดให้ดำวน์โหลดในเดือนกันยำยน 2555 โดยเป็นรุ่นที่ถกสนับสนุนในระยะเวลำ
สั้น ๆ
 ข้อดีข้อเด่นของ Joomla!
 ใช้งานฟรี Joomla! เป็นสคริปต์แบบโอเพ่นซอร์ส (Open Source) สามารถใช้งานได้ทันทีแม้ไม่มี
ความรู้เรื่องเขียนโปรแกรม
 อัพเดตสม่าเสมอ มีการอัพเดตเวอร์ชั่นใหม่ๆ อย่างต่อเนื่องจากผู้พัฒนา โดยปรับปรุง เพิ่ทประสิทธิภาพ
ประสิทธิภาพเพิ่มฟังก์ชั่นในส่วนต่างๆ
 เปลี่ยนหน้าตาเว็บไซต์ได้ด้วยเทมเพลต (Tenplate) ทาให้สอดคล้องกัน
 รองรับภาษาไทยทั้งในส่วนหน้าเว็บไซต์ (Front-end) และส่วนผู้ดูแลเว็บไซต์ (Back-end)
 ง่ายต่อการสร้างและจัดการเอหา การกาหนดรูปแบบต่างๆ ของเนื้อหา และการแทรกส่วนประกอบ
ส่วนประกอบต่างๆ เช่น รูปภาพ หรือลิงค์ลงไปในเนื้อหา สามารถทาได้ง่าด้วยเครื่องมือเอดิเตอร์
(Editor) ที่มีลักษณะหนาตาคล้ากับโปรแกรม Word Processing อย่าง Microsoft Word หรือ Open
Open Office Writer
 รองรับการทางานหลายๆ คนพร้อมกัน โดยผู้ใช้งานออกเป็นหลายกลุ่ม เช่น ผู้ดูแลเว็บไซต์
(Administrator), ผู้จัดการเว็บไซต์ (Manager), บรรณาธิการ (Editor), สมาชิกผู้ลงทะเบียน
(Registerred) เป็นต้น โดยมีการกาหนดระดับการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้งานแต่ละคน
 เพิ่มความสามารถให้กับเว็บไซต์ด้วยโปรแกรมเสริม (Extension) ซึ่งมีให้เลือกใช้มากมาย เช่น ระบบ
ระบบ ร้านค้าออนไลน์ เว็บบอร์ด เว็บบล็อก ปฏิทิน เป็นต้น
 สนับสสนุนการปรับแต่ง SEO เพือให้เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นติดอันดับต้นๆ ในหน้าผลการค้นหา
กำรสร้ำงเว็บไซต์ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรำนั้นเสมือนจำลองเครื่อง
คอมพิวเตอร์ของเรำเป็นเซิร์ฟเวอร์จำลอง (Localhost) ขึ้นมำ เพื่อทำกำรสร้ำงและทดสอบ
เว็บไซต์จนสำเร็จก่อนอัพโหลดเว็บไซต์นี้ไปยังเซิร์ฟเวอร์โดมีหลักกำรง่ำยๆ ดังนี้
 จำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรำเป็นเซิร์ฟเวอร์
 สร้ำงฐำนข้อมูลสำหรับเก็บข้อมูลเว็บไซต์ Joomla!
 ติดตั้งโปรแกรม Joomla! ผ่ำนเซิร์ฟเวอร์จำลอง
 สร้ำงเว็บไซต์ และติดตั้งโปรแกรมเสริมลงใน Joomla!
 อัพโหลดเว็บไซต์ที่สร้ำงเสร็จไปยังเซิร์ฟเวอร์จริง
กำรจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรำเป็นเซิร์ฟเวอร์เพื่อทดลองสร้ำงเว็บไซต์
joomla นั้น จะต้องใช้โปรแกรมจำลองเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งมีให้เลือกใช้หลำยตัว เช่น AppServ,
WAMP, EasyPHP เป็นต้น ในที่นี้จะใช้โปรแกรม AppServ ซึ่งจะประกอบด้วยโปรแกรม
ดังนี้
 โปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ Apache สำหรับจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นเซิร์ฟเวอร์
 โปรแกรม PHP สำหรับสร้ำงเว็บไซต์ภำษำ PHP
 โปรแกรม MySQL สำหรับสร้ำงฐำนข้อมูล
สำหรับโปรแกรม AppServ สำมำรถดำวโหลดได้จำก
www.appservnetwork.com ซึ่งเวอร์ชั่นล่ำสุดขณะนี้คือ AppServ 2.6.0 แต่ในหนังสือเล่มนี้
ผู้เขียนใช้เว่อร์ชั่น AppServ 2.5.10 เนื่องจำกเวอร์ชั่นล่ำสุดบำงโปรแกรมยังเป็นโปรแกรม
ทดลองใช้ (beta)
1. ดับเบิลคลิกไฟล์ appserv-win32-2.5.10.exe ที่ดำวโหลดมำ
2. จำกนั้นก็เริ่มเข้ำสู่กำรติดตั้ง โดยแสดงหน้ำต่ำงต้อนรับ ให้คลิกปุ่ม Next
3. หน้ำต่ำง License Agreement ให้คลิกปุ่ม I Agree เพื่อยอมรับข้อตกลง
4. ที่หน้ำต่ำง Choose Install Location จะเป็นกำรเลือกตำแหน่งที่ติดตั้งโปรแกรม
AppServ ให้คลิกปุ่ม Next
5. ที่หน้ำต่ำง Select Componnen จะแสดงโปรแกรมที่ต้องกำรติดตั้ง ซึ่งในที่นี้เรำจะต้องติดตั้งทุก
โปรแกรม ให้คลิกปุ่ม Next
6. ที่หน้ำต่ำง Apache HTTP Server Information ให้กำหนดรำยละเอียดในกำรสร้ำงเซิร์ฟเวอร์
จำลอง ดังนี้
- Server Name : ชื่อของเว็บเซิร์ฟเวอร์(ค่ำปกติคือ Localhost)
- Adminnistator’s Email Address : อีเมล์แอดเดรดของผู้ดูแลระบบ
(ไม่จำเป็นต้องเป็นอีเมล์จริงก็ได้)
- Apache HTTP Port : หมำยเลขพอร์ตในกำรเชื่อมต่อโปรโตคอล (ค่ำปกติคือ 80)
- จำกนั้นให้คลิกปุ่ม Next
7. ที่หน้ำต่ำง MySQL Server Configuration จะเป็นกำรกำหนดค่ำกำรใช้งำนให้กับ
ฐำนข้อมูล MySQL ดังนี้
 Enter root password และ Re-enter root password กรอกรหัสผ่ำนสำหรับใช้
งำนฐำนข้อมูลที่ต้องกำรลงไปในช่องทั้งสองให้เหมือนกัน
 เลือก UTF-8 Unicode ในรำยกำร Character Sets Collations เพื่อเลือก
รหัสตัวอักษรสำหรับใช้งำนฐำนข้อมูล
 จำกนั้นให้คลิกปุ่ม Install
8. ให้รอจนกว่ำจะติดตั้งโปรแกรมเสร็จ
9. จำกนั้นจะแสดงหน้ำต่ำงแจ้งกำรติดตั้งเสร็จสมบูรณ์ พร้อมกับมีตัวเลือกว่ำ จะเปิดใช้งำน
Apache และ MySQL หรือไม่ ให้คลิกปุ่ม Finish
เพียงเท่ำนี้คอมพิวเตอร์ของเรำก็พร้อมใช้งำนเป็นเซิร์ฟเวอร์จำลองแล้วโดยไม่ต้องมีกำรรีสตำร์ท
เครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่
ทดลองเรียกใช้งาน
หลังจำกติดตั้งโปรแกรม AppServ เสร็จแล้ว เรำสำมำรถทดลองเรียกใช้งำนได้ โดย
เปิดโปรแกรมเว็บบรำวเซอร์ขึ้นมำ โดยพิมพ์ http://localhost หรือ http://127.0.0.1
ลงในช่อง Address bar ก็จะปรำกฏหน้ำเว็บเพจดังภำพ
สร้างฐานข้อมูลให้กับเว็บไซต์ Joomla!
ขั้นตอนต่อไปคือ การสร้างฐานข้อมูลเพื่อเก็บข้อมูลต่าง ๆ ของเว็ยไซต์ซึ่งมี
ขั้นตอนดังนี้
1. เปิดโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ขึ้นมา แล้วพิม http://localhost หรือ http://127.0.0.1
2. คลิกที่ลิงค์ phpMyAdmin เพื่อสร้างฐานข้อมูล
3. จะปรำกฏไดอล็อกบล็อกซ์ขึ้นมำ ให้ใส่ชื่อผู้ใช้ (Username) และรหัสผ่ำน
(Password) สำหรับใช้งำนฐำนข้อมูลที่กรอกตอนติดตตั้งโปรแกรม Apserv
4. คลิกปุ่ม เข้ำสู่ระบบ (OK)
5. จำกนั้นจะเปิดหน้ำเว็บเพ phpMyAdmin ขึ้นมำ ให้ใส่ชื่อฐำนข้อมูลที่จะสร้ำงใน
ช่อง สร้ำงฐำนข้อมูลใหม่ ในที่นี้คือ JoomlaDB
6. เลือกวิธีแปลงรหัสของฐำนข้อมูล แบบ utf8_unocode_ci
7. คลิกปุ่ม สร้ำง
จำกนั้นจะแสดงข้อควำมว่ำสร้ำงฐำนข้อมูลสำเร็จแล้ว
ดาวโหลดและติดตั้ง Joomla!
เมื่อสร้างฐานข้อมูลสาเร็จเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการดาวน์ไหลดและติดตั้ง
Joomla! เพื่อสร้างเว็บไซต์กัน โดหนังสือเล่มนี้จะใช้Joomla! เวอร์ชั่น 2.5 เป็นหลัก
ก่อนจะสร้างเว็บไซต์ด้ว Joomla! ได้นั้น จะต้องติดตั้ง Joomla! บนเซิร์ฟเวอราลอง
ลองเสีก่อน โดยดาวน์โหลด Joomla! ได้ที่เว็บไซต์www.joomla.org/download.html แล้วเลือก
เลือกเวอร์ชั่นที่ต้องการดาวน์โหลด
ติดตั้ง Joomla! บนเซิร์ฟเวอร์จาลอง
เมื่อดาวโหลดไฟล์เสร็จให้แตกไฟล์ไว้ที่โฟรเดอร์ C:AppServwwwโดยสร้างโฟร
เดอร์ขึ้นมาใหม่ชื่อ Joomla เมื่อเข้าไปดูในโฟรเดอร์ C:AppServwwwjoomla หลังจากแตก
ไฟล์เรียบร้อยแล้วจะได้ไฟล์ต่าง ๆ ดังภาพ
หลังจำกนั้นให้ทำกำติดตั้ง Joomla! ดังนี้
เปิดโปรแกรมเว็บบรำวเซอร์ขึ้นมำ แล้วพิมพ์ http://127.0.0.1/joomla จำกนั้นจะเข้ำสู่
หน้ำเว็บเพจกำรติดตตั้ง Joomla! ขั้นตอนที่ 1 เลือกภำษำ ให้คลิก ไทย (ภำษำไทย) เพื่อเลือกภำษำ
ที่ใช้
คลิกปุ่ม ต่อไป (Next)
- จำกนั้นจะเข้ำสู่เว็บบเพจ ขั้นตอนที่ 2 ให้คลิกปุ่ม ต่อไป
- เข้ำสูเว็บเพจขั้นตอนที่ 3 ลิขสิทธิ์ ให้คลิกปุ่ม ต่อไป
เข้ำเว็บเพจขั้นตอนที่ 4 กำรตั้งค่ำฐำนข้อมูล โดจะต้องกำหนดค่ำข้อมูลเกียวกับฐำนข้อมูล
ต่ำงๆ ดังนี้
 ชนิดฐำนข้อมูล ให้เลือกชนิดฐำนข้อมูลเป็น mysql
 ชื่อโฮสต์ ให้ใส่เป็น Localhost
 ชื่อผู้ใช้ฐำนข้อมูล หมำยถึงชื่อผู้ใช้งำน (username) สำหรับเข้ำใช้งำนฐำนข้อมูล ในที่นี้
คือ root ซึ่งเป็นค่ำปกติ
 รหัสผ่ำน ให้ใส่รหัสผ่ำนสำหรับเข้ำใช้งำนฐำนข้อมูลตำมที่กำหนดในขั้นตอนติดตั้ง
ApServ (ถ้ำไม่ได้กำหดให้วันเว้นว่ำงไว้)
 ชื่อฐำนข้อมูล ให้ใส่ชื่อฐำนข้อมูลที่ได้สร้ำงไว้
คลิกปุ่ม ต่อไป
เข้ำสู่เว็บเพจขั้นตอนที่ 5 ตั้งค่ำ FTP เพื่อกำหนดคุณสมบัติที่ใช้ในกำรอัพโหลดไฟล์
ต่ำงๆ ไปยังเซิร์ฟเวอร์จริงซึ่งเรำไม่จำเป็นต้องกำหนดในตอนนี้ให้คลิกปุ่ม ต่อไป
เข้ำสู่เว็บเพจขั้นตอนที่ 6 ตั้งค่ำหลักของเว็บ โดกำหนดค่ำข้อมูลที่จำเป็นดังนี้
 ชื่อเว็บ ให้ใส่ชื่อเว็บไซต์ที่ต้องกำรลงไป สำมำรถกำหนดเป็นภำษำไมยหรือภำษำอังกฤษก็ได้
(สำมำรถเปลี่ยนแปลงได้ภำยหลัง)
 อีเมลของคุณ ใส่อีเมล์ของผู้ดูแลเว็บไซต์
 ชื่อเข้ำระบบของผู้ดูแล ค่ำปกติคือ admin
 รหัสผ่ำนผู้ดูแล และ ยืนยันรหัสผ่ำนผู้ดูแล ใส่รหัสผ่ำนสำหรับผู้ดูแลเว็บไซต์ ให้เหมือนกันทั้ง 2
ช่อง
คลิกปุ่ม ต่อไป

More Related Content

What's hot

HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่Manop Kongoon
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6arachaporn
 
20080306joomla 1214552387011563-9
20080306joomla 1214552387011563-920080306joomla 1214552387011563-9
20080306joomla 1214552387011563-9Nong ton
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8arachaporn
 
Joomla-installation
Joomla-installationJoomla-installation
Joomla-installationSo Pias
 
Book sru
Book sruBook sru
Book sruphochai
 
Php dreamwaver
Php dreamwaverPhp dreamwaver
Php dreamwaverphochai
 
เนื้อหา1
เนื้อหา1เนื้อหา1
เนื้อหา1kaimmikar123
 

What's hot (16)

Appserv install
Appserv installAppserv install
Appserv install
 
WordPress Install
WordPress InstallWordPress Install
WordPress Install
 
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
Joomla CMS
Joomla CMSJoomla CMS
Joomla CMS
 
joomla-2-5-install-appserv
joomla-2-5-install-appservjoomla-2-5-install-appserv
joomla-2-5-install-appserv
 
Web Development with Joomla
Web Development with JoomlaWeb Development with Joomla
Web Development with Joomla
 
20080306 Joomla
20080306 Joomla20080306 Joomla
20080306 Joomla
 
20080306joomla 1214552387011563-9
20080306joomla 1214552387011563-920080306joomla 1214552387011563-9
20080306joomla 1214552387011563-9
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
 
Joomla-installation
Joomla-installationJoomla-installation
Joomla-installation
 
20121102 joomla2-5
20121102 joomla2-520121102 joomla2-5
20121102 joomla2-5
 
Book sru
Book sruBook sru
Book sru
 
Php dreamwaver
Php dreamwaverPhp dreamwaver
Php dreamwaver
 
Joomla 3.7 Workshop 1 Day
Joomla 3.7 Workshop 1 Day Joomla 3.7 Workshop 1 Day
Joomla 3.7 Workshop 1 Day
 
เนื้อหา1
เนื้อหา1เนื้อหา1
เนื้อหา1
 

Similar to หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!

คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ Cupid Eros
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsธนวัฒน์ แสนสุข
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsปอ อา มอ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6arachaporn
 
Atomymaxsite25
Atomymaxsite25Atomymaxsite25
Atomymaxsite25Vegas Man
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งาน Joomla!
คู่มือการติดตั้งและใช้งาน Joomla!คู่มือการติดตั้งและใช้งาน Joomla!
คู่มือการติดตั้งและใช้งาน Joomla!tumetr1
 
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpressสร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpresskruburapha2012
 
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
การเขียนโปรแกรมบนเว็บการเขียนโปรแกรมบนเว็บ
การเขียนโปรแกรมบนเว็บKhon Kaen University
 
Phptraining
PhptrainingPhptraining
Phptrainingphochai
 
Phptraining
PhptrainingPhptraining
Phptrainingphochai
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1wachee_4
 
ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์Ammarirat
 

Similar to หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla! (20)

Joomla 56 km
Joomla 56 kmJoomla 56 km
Joomla 56 km
 
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
 
Joomla
JoomlaJoomla
Joomla
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
 
Wordpress 3.5 -install-appserv
Wordpress 3.5 -install-appservWordpress 3.5 -install-appserv
Wordpress 3.5 -install-appserv
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
Atomymaxsite25
Atomymaxsite25Atomymaxsite25
Atomymaxsite25
 
PHP & Dreamweaver ch03
PHP & Dreamweaver  ch03 PHP & Dreamweaver  ch03
PHP & Dreamweaver ch03
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งาน Joomla!
คู่มือการติดตั้งและใช้งาน Joomla!คู่มือการติดตั้งและใช้งาน Joomla!
คู่มือการติดตั้งและใช้งาน Joomla!
 
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpressสร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
 
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
การเขียนโปรแกรมบนเว็บการเขียนโปรแกรมบนเว็บ
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
 
Phptraining
PhptrainingPhptraining
Phptraining
 
Phptraining
PhptrainingPhptraining
Phptraining
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์
 

More from Nakharin Inphiban

หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์
หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์
หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์Nakharin Inphiban
 
บทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความ
บทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความบทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความ
บทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความNakharin Inphiban
 
หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความ
หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความหน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความ
หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความNakharin Inphiban
 
บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4Nakharin Inphiban
 
บทเรียนที่ 2 การใช้งานระบบจัดการ
บทเรียนที่ 2  การใช้งานระบบจัดการบทเรียนที่ 2  การใช้งานระบบจัดการ
บทเรียนที่ 2 การใช้งานระบบจัดการNakharin Inphiban
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!Nakharin Inphiban
 
บทเรียนที่ 4 การใช้งานระบบจัดการไฟล์
บทเรียนที่ 4 การใช้งานระบบจัดการไฟล์บทเรียนที่ 4 การใช้งานระบบจัดการไฟล์
บทเรียนที่ 4 การใช้งานระบบจัดการไฟล์Nakharin Inphiban
 
บทเรียนที่ 3 การปรับเปลี่ยนหน้าเว็บไซต์ด้วยเทมเพลต
บทเรียนที่ 3 การปรับเปลี่ยนหน้าเว็บไซต์ด้วยเทมเพลตบทเรียนที่ 3 การปรับเปลี่ยนหน้าเว็บไซต์ด้วยเทมเพลต
บทเรียนที่ 3 การปรับเปลี่ยนหน้าเว็บไซต์ด้วยเทมเพลตNakharin Inphiban
 

More from Nakharin Inphiban (10)

หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์
หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์
หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์
 
บท 8
บท 8บท 8
บท 8
 
บท 7
บท 7บท 7
บท 7
 
บทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความ
บทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความบทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความ
บทเรียนที่ 6 การสร้างเนื้อหาบทความ
 
หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความ
หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความหน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความ
หน่วยที่ 5 การจัดการหมวดหมู่บทความ
 
บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4
 
บทเรียนที่ 2 การใช้งานระบบจัดการ
บทเรียนที่ 2  การใช้งานระบบจัดการบทเรียนที่ 2  การใช้งานระบบจัดการ
บทเรียนที่ 2 การใช้งานระบบจัดการ
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
 
บทเรียนที่ 4 การใช้งานระบบจัดการไฟล์
บทเรียนที่ 4 การใช้งานระบบจัดการไฟล์บทเรียนที่ 4 การใช้งานระบบจัดการไฟล์
บทเรียนที่ 4 การใช้งานระบบจัดการไฟล์
 
บทเรียนที่ 3 การปรับเปลี่ยนหน้าเว็บไซต์ด้วยเทมเพลต
บทเรียนที่ 3 การปรับเปลี่ยนหน้าเว็บไซต์ด้วยเทมเพลตบทเรียนที่ 3 การปรับเปลี่ยนหน้าเว็บไซต์ด้วยเทมเพลต
บทเรียนที่ 3 การปรับเปลี่ยนหน้าเว็บไซต์ด้วยเทมเพลต
 

หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!

  • 1. รู้จักกับ Joomla! Joomla! จัดเป็นเว็บไซต์ประเภท CMS ตัวหนึ่ ง เช่นเดียวกับ WordPress, Drupal ซึ่ง CMS ถูกสร้างขึ้นมาด้วยภาษาสคริปต์ PHP และ JavaScript ทางานร่วมกับ ร่วมกับฐานข้อมูล MySQL และภาษาจัดการข้อมูล XML โดย CMS เป็นระบบที่ช่วย บริหารจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต์ สามารถใส่ข้อมูลเนื้อหา ปรับแต่งแก้ไขหน้าตาของ เว็บไซต์ได้ตามต้องการ ทาให้ช่วยลดขั้นตอน และความยุ่งยาก ตลอดจนอานวยความ ความสะดวก และง่ายต่อการบริหารจัดการเว็บไซต์ โดยที่ผู้ใช้งานสามารถจัดทาเว็บไซต์ เว็บไซต์ได้โดยง่ายด้วยตนเอง ไม่จาเป็นต้องมีความรู้ในด้านการเขียนโปรแกรมหรือ ออกแบบเว็บไซต์ เพียงแค่เรียนรู้การติดตั้งการปรับแต่ง และการใช้งานเท่านั้น (รายละเอียดสามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.joomla.org)
  • 2. Joomla! ถือกำเนิดขึ้นจำกกำรแยกตัวของกลุ่มพัฒนำโปรเจ็คแมมโบ้ (Mambo) เมื่อวันที่ 17 สิงหำคม 2548 และได้รวมกลุ่มกันสร้ำงเว็บไซต์ชื่อ “OpenSource.Matters.org” ขึ้นมำเพื่อกระจำยข้อมูลข่ำวสำรไปสู่กลุ่มผู้ใช้ นักพัฒนำโปรแกรม และสังคมออนไลน์ต่ำง ๆ ด้วยกำรนำทีมโดน Andrew Addie (ใช้ชื่อออนไลน์ว่ำ “MasterChief”) หลังจำกนั้นเพียง 2 สัปดำห์จึงได้ทำโปรเจ็คชื่อ “Joomla!” ขึ้นโดย Joomla! ถูกแบ่งออกเป็น 6 เวอร์ชั่น ดังนี้  เวอร์ชั่น 1.0.x โดยเวอร์ชั่นแรก 1.0.0 เปิดตัวเมื่อวันที่ 16 กันยำยน 2548 เป็นกำรนำชอร์สโค้ดของแมมโบ้เวอร์ชั่น 45.2.3 มำพัฒนำต่อพร้อมแก้ไขบัก (Bug) และเพิ่มเติมคุณสมบัติทำงด้ำนกำรรักษำควำมปลอดภัยเข้ำไป (รุ่นล่ำสุด คือ 1.0.15 เมื่อวันที่ 1 มกรำคม 2552)  เวอร์ชั่น 1.5.x เปิดตัวเมื่อวันที่ 22 มกรำคม 2551 โดยพัฒนำแก้ไขในส่วนต่ำง ๆ (รุ่นล่ำสุดคือ 1.5.23 เมื่อวันที่ 5 เมษำยน 2554) ซึ่งคำดว่ำจะหยุดปรับปรุงประมำณเดือน เมษำยน 2555  เวอร์ชั่น 1.6.x เปิดตัวเมื่อวันที่ 10 มกรำคม 2554 โดยแก้ไขเรื่องควำมปลอดภัย ซึ่งเป็นโปรเจ็คระยะสั้นเพียง 6 เดือน ซึ่งคำดว่ำจะหยุดปรับปรุงประมำณเดือน กรกฎำคม2554 (รุ่นล่ำสด 1.6.6 สำหรับผู้ใช้ที่ไม่ต้องกำรอัพเดตเป็นรุ่น 1.7.0)  เวอร์ชั่น 1.7.x (Stable) เปิดให้ดำวน์โหลดเมื่อเดือนกรกฎำคม 2554 เป็นโปรเจ็คระสั้นเพียง 6 เดือน และจะหยุด ปรับปรุงประมำณเดือน มกรำคม 2555  เวอร์ชั่น 2.5.x (Stable) ซึ่งเป็นเวอร์ชั่นที่ใช้เขียนหนังสือเล่มนี้เปิดให้ดำวน์โหลดเวอร์ชั่น Beta 1 ในเดือนมกรำคม 2555 และออกรุ่ตัวเต็ม (GA) ประมำณวันที่ 25 กุมภำพันธ์ 2555  เวอร์ชั่น 3.0.x เป็นเวอร์ชั่นล่ำสุดเปิดให้ดำวน์โหลดในเดือนกันยำยน 2555 โดยเป็นรุ่นที่ถกสนับสนุนในระยะเวลำ สั้น ๆ
  • 3.  ข้อดีข้อเด่นของ Joomla!  ใช้งานฟรี Joomla! เป็นสคริปต์แบบโอเพ่นซอร์ส (Open Source) สามารถใช้งานได้ทันทีแม้ไม่มี ความรู้เรื่องเขียนโปรแกรม  อัพเดตสม่าเสมอ มีการอัพเดตเวอร์ชั่นใหม่ๆ อย่างต่อเนื่องจากผู้พัฒนา โดยปรับปรุง เพิ่ทประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพเพิ่มฟังก์ชั่นในส่วนต่างๆ  เปลี่ยนหน้าตาเว็บไซต์ได้ด้วยเทมเพลต (Tenplate) ทาให้สอดคล้องกัน  รองรับภาษาไทยทั้งในส่วนหน้าเว็บไซต์ (Front-end) และส่วนผู้ดูแลเว็บไซต์ (Back-end)  ง่ายต่อการสร้างและจัดการเอหา การกาหนดรูปแบบต่างๆ ของเนื้อหา และการแทรกส่วนประกอบ ส่วนประกอบต่างๆ เช่น รูปภาพ หรือลิงค์ลงไปในเนื้อหา สามารถทาได้ง่าด้วยเครื่องมือเอดิเตอร์ (Editor) ที่มีลักษณะหนาตาคล้ากับโปรแกรม Word Processing อย่าง Microsoft Word หรือ Open Open Office Writer  รองรับการทางานหลายๆ คนพร้อมกัน โดยผู้ใช้งานออกเป็นหลายกลุ่ม เช่น ผู้ดูแลเว็บไซต์ (Administrator), ผู้จัดการเว็บไซต์ (Manager), บรรณาธิการ (Editor), สมาชิกผู้ลงทะเบียน (Registerred) เป็นต้น โดยมีการกาหนดระดับการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้งานแต่ละคน  เพิ่มความสามารถให้กับเว็บไซต์ด้วยโปรแกรมเสริม (Extension) ซึ่งมีให้เลือกใช้มากมาย เช่น ระบบ ระบบ ร้านค้าออนไลน์ เว็บบอร์ด เว็บบล็อก ปฏิทิน เป็นต้น  สนับสสนุนการปรับแต่ง SEO เพือให้เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นติดอันดับต้นๆ ในหน้าผลการค้นหา
  • 4. กำรสร้ำงเว็บไซต์ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรำนั้นเสมือนจำลองเครื่อง คอมพิวเตอร์ของเรำเป็นเซิร์ฟเวอร์จำลอง (Localhost) ขึ้นมำ เพื่อทำกำรสร้ำงและทดสอบ เว็บไซต์จนสำเร็จก่อนอัพโหลดเว็บไซต์นี้ไปยังเซิร์ฟเวอร์โดมีหลักกำรง่ำยๆ ดังนี้  จำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรำเป็นเซิร์ฟเวอร์  สร้ำงฐำนข้อมูลสำหรับเก็บข้อมูลเว็บไซต์ Joomla!  ติดตั้งโปรแกรม Joomla! ผ่ำนเซิร์ฟเวอร์จำลอง  สร้ำงเว็บไซต์ และติดตั้งโปรแกรมเสริมลงใน Joomla!  อัพโหลดเว็บไซต์ที่สร้ำงเสร็จไปยังเซิร์ฟเวอร์จริง
  • 5. กำรจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรำเป็นเซิร์ฟเวอร์เพื่อทดลองสร้ำงเว็บไซต์ joomla นั้น จะต้องใช้โปรแกรมจำลองเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งมีให้เลือกใช้หลำยตัว เช่น AppServ, WAMP, EasyPHP เป็นต้น ในที่นี้จะใช้โปรแกรม AppServ ซึ่งจะประกอบด้วยโปรแกรม ดังนี้  โปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ Apache สำหรับจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นเซิร์ฟเวอร์  โปรแกรม PHP สำหรับสร้ำงเว็บไซต์ภำษำ PHP  โปรแกรม MySQL สำหรับสร้ำงฐำนข้อมูล สำหรับโปรแกรม AppServ สำมำรถดำวโหลดได้จำก www.appservnetwork.com ซึ่งเวอร์ชั่นล่ำสุดขณะนี้คือ AppServ 2.6.0 แต่ในหนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนใช้เว่อร์ชั่น AppServ 2.5.10 เนื่องจำกเวอร์ชั่นล่ำสุดบำงโปรแกรมยังเป็นโปรแกรม ทดลองใช้ (beta)
  • 6. 1. ดับเบิลคลิกไฟล์ appserv-win32-2.5.10.exe ที่ดำวโหลดมำ 2. จำกนั้นก็เริ่มเข้ำสู่กำรติดตั้ง โดยแสดงหน้ำต่ำงต้อนรับ ให้คลิกปุ่ม Next
  • 7. 3. หน้ำต่ำง License Agreement ให้คลิกปุ่ม I Agree เพื่อยอมรับข้อตกลง 4. ที่หน้ำต่ำง Choose Install Location จะเป็นกำรเลือกตำแหน่งที่ติดตั้งโปรแกรม AppServ ให้คลิกปุ่ม Next
  • 8. 5. ที่หน้ำต่ำง Select Componnen จะแสดงโปรแกรมที่ต้องกำรติดตั้ง ซึ่งในที่นี้เรำจะต้องติดตั้งทุก โปรแกรม ให้คลิกปุ่ม Next 6. ที่หน้ำต่ำง Apache HTTP Server Information ให้กำหนดรำยละเอียดในกำรสร้ำงเซิร์ฟเวอร์ จำลอง ดังนี้ - Server Name : ชื่อของเว็บเซิร์ฟเวอร์(ค่ำปกติคือ Localhost) - Adminnistator’s Email Address : อีเมล์แอดเดรดของผู้ดูแลระบบ (ไม่จำเป็นต้องเป็นอีเมล์จริงก็ได้) - Apache HTTP Port : หมำยเลขพอร์ตในกำรเชื่อมต่อโปรโตคอล (ค่ำปกติคือ 80) - จำกนั้นให้คลิกปุ่ม Next
  • 9. 7. ที่หน้ำต่ำง MySQL Server Configuration จะเป็นกำรกำหนดค่ำกำรใช้งำนให้กับ ฐำนข้อมูล MySQL ดังนี้  Enter root password และ Re-enter root password กรอกรหัสผ่ำนสำหรับใช้ งำนฐำนข้อมูลที่ต้องกำรลงไปในช่องทั้งสองให้เหมือนกัน  เลือก UTF-8 Unicode ในรำยกำร Character Sets Collations เพื่อเลือก รหัสตัวอักษรสำหรับใช้งำนฐำนข้อมูล  จำกนั้นให้คลิกปุ่ม Install
  • 10. 8. ให้รอจนกว่ำจะติดตั้งโปรแกรมเสร็จ 9. จำกนั้นจะแสดงหน้ำต่ำงแจ้งกำรติดตั้งเสร็จสมบูรณ์ พร้อมกับมีตัวเลือกว่ำ จะเปิดใช้งำน Apache และ MySQL หรือไม่ ให้คลิกปุ่ม Finish เพียงเท่ำนี้คอมพิวเตอร์ของเรำก็พร้อมใช้งำนเป็นเซิร์ฟเวอร์จำลองแล้วโดยไม่ต้องมีกำรรีสตำร์ท เครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่
  • 11. ทดลองเรียกใช้งาน หลังจำกติดตั้งโปรแกรม AppServ เสร็จแล้ว เรำสำมำรถทดลองเรียกใช้งำนได้ โดย เปิดโปรแกรมเว็บบรำวเซอร์ขึ้นมำ โดยพิมพ์ http://localhost หรือ http://127.0.0.1 ลงในช่อง Address bar ก็จะปรำกฏหน้ำเว็บเพจดังภำพ
  • 12. สร้างฐานข้อมูลให้กับเว็บไซต์ Joomla! ขั้นตอนต่อไปคือ การสร้างฐานข้อมูลเพื่อเก็บข้อมูลต่าง ๆ ของเว็ยไซต์ซึ่งมี ขั้นตอนดังนี้ 1. เปิดโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ขึ้นมา แล้วพิม http://localhost หรือ http://127.0.0.1 2. คลิกที่ลิงค์ phpMyAdmin เพื่อสร้างฐานข้อมูล
  • 13. 3. จะปรำกฏไดอล็อกบล็อกซ์ขึ้นมำ ให้ใส่ชื่อผู้ใช้ (Username) และรหัสผ่ำน (Password) สำหรับใช้งำนฐำนข้อมูลที่กรอกตอนติดตตั้งโปรแกรม Apserv 4. คลิกปุ่ม เข้ำสู่ระบบ (OK) 5. จำกนั้นจะเปิดหน้ำเว็บเพ phpMyAdmin ขึ้นมำ ให้ใส่ชื่อฐำนข้อมูลที่จะสร้ำงใน ช่อง สร้ำงฐำนข้อมูลใหม่ ในที่นี้คือ JoomlaDB 6. เลือกวิธีแปลงรหัสของฐำนข้อมูล แบบ utf8_unocode_ci 7. คลิกปุ่ม สร้ำง
  • 15. ดาวโหลดและติดตั้ง Joomla! เมื่อสร้างฐานข้อมูลสาเร็จเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการดาวน์ไหลดและติดตั้ง Joomla! เพื่อสร้างเว็บไซต์กัน โดหนังสือเล่มนี้จะใช้Joomla! เวอร์ชั่น 2.5 เป็นหลัก ก่อนจะสร้างเว็บไซต์ด้ว Joomla! ได้นั้น จะต้องติดตั้ง Joomla! บนเซิร์ฟเวอราลอง ลองเสีก่อน โดยดาวน์โหลด Joomla! ได้ที่เว็บไซต์www.joomla.org/download.html แล้วเลือก เลือกเวอร์ชั่นที่ต้องการดาวน์โหลด
  • 16. ติดตั้ง Joomla! บนเซิร์ฟเวอร์จาลอง เมื่อดาวโหลดไฟล์เสร็จให้แตกไฟล์ไว้ที่โฟรเดอร์ C:AppServwwwโดยสร้างโฟร เดอร์ขึ้นมาใหม่ชื่อ Joomla เมื่อเข้าไปดูในโฟรเดอร์ C:AppServwwwjoomla หลังจากแตก ไฟล์เรียบร้อยแล้วจะได้ไฟล์ต่าง ๆ ดังภาพ
  • 17. หลังจำกนั้นให้ทำกำติดตั้ง Joomla! ดังนี้ เปิดโปรแกรมเว็บบรำวเซอร์ขึ้นมำ แล้วพิมพ์ http://127.0.0.1/joomla จำกนั้นจะเข้ำสู่ หน้ำเว็บเพจกำรติดตตั้ง Joomla! ขั้นตอนที่ 1 เลือกภำษำ ให้คลิก ไทย (ภำษำไทย) เพื่อเลือกภำษำ ที่ใช้ คลิกปุ่ม ต่อไป (Next)
  • 18. - จำกนั้นจะเข้ำสู่เว็บบเพจ ขั้นตอนที่ 2 ให้คลิกปุ่ม ต่อไป - เข้ำสูเว็บเพจขั้นตอนที่ 3 ลิขสิทธิ์ ให้คลิกปุ่ม ต่อไป
  • 19. เข้ำเว็บเพจขั้นตอนที่ 4 กำรตั้งค่ำฐำนข้อมูล โดจะต้องกำหนดค่ำข้อมูลเกียวกับฐำนข้อมูล ต่ำงๆ ดังนี้  ชนิดฐำนข้อมูล ให้เลือกชนิดฐำนข้อมูลเป็น mysql  ชื่อโฮสต์ ให้ใส่เป็น Localhost  ชื่อผู้ใช้ฐำนข้อมูล หมำยถึงชื่อผู้ใช้งำน (username) สำหรับเข้ำใช้งำนฐำนข้อมูล ในที่นี้ คือ root ซึ่งเป็นค่ำปกติ  รหัสผ่ำน ให้ใส่รหัสผ่ำนสำหรับเข้ำใช้งำนฐำนข้อมูลตำมที่กำหนดในขั้นตอนติดตั้ง ApServ (ถ้ำไม่ได้กำหดให้วันเว้นว่ำงไว้)  ชื่อฐำนข้อมูล ให้ใส่ชื่อฐำนข้อมูลที่ได้สร้ำงไว้ คลิกปุ่ม ต่อไป
  • 20. เข้ำสู่เว็บเพจขั้นตอนที่ 5 ตั้งค่ำ FTP เพื่อกำหนดคุณสมบัติที่ใช้ในกำรอัพโหลดไฟล์ ต่ำงๆ ไปยังเซิร์ฟเวอร์จริงซึ่งเรำไม่จำเป็นต้องกำหนดในตอนนี้ให้คลิกปุ่ม ต่อไป
  • 21. เข้ำสู่เว็บเพจขั้นตอนที่ 6 ตั้งค่ำหลักของเว็บ โดกำหนดค่ำข้อมูลที่จำเป็นดังนี้  ชื่อเว็บ ให้ใส่ชื่อเว็บไซต์ที่ต้องกำรลงไป สำมำรถกำหนดเป็นภำษำไมยหรือภำษำอังกฤษก็ได้ (สำมำรถเปลี่ยนแปลงได้ภำยหลัง)  อีเมลของคุณ ใส่อีเมล์ของผู้ดูแลเว็บไซต์  ชื่อเข้ำระบบของผู้ดูแล ค่ำปกติคือ admin  รหัสผ่ำนผู้ดูแล และ ยืนยันรหัสผ่ำนผู้ดูแล ใส่รหัสผ่ำนสำหรับผู้ดูแลเว็บไซต์ ให้เหมือนกันทั้ง 2 ช่อง คลิกปุ่ม ต่อไป