SlideShare a Scribd company logo
1 of 111
Download to read offline
การพัฒนาอุตสาหกรรมเพือการป้ องกันประเทศ
                     ่

                ไว จามรมาน
            มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ความสามารถในการแข่ งขันของประเทศไทย
หัวข้ อการบรรยาย
   ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย
   ระบบเศรษฐกิจไทย
   การพัฒนาอุตสาหกรรม: มองไปข้างนอก ไม่มองจากภายใน
   ทฤษฏีการพัฒนาความสามารถของอุตสาหกรรม
   ความได้เปรี ยบของธุรกิจขนาดใหญ่
   การเลือกอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์
   ความได้เปรี ยบของฐานผลิต
   ความได้เปรี ยบเชิงสถาบัน
   บทเรี ยนจากประเทศต่าง ๆ
ความสามารถในการแข่ งขัน
ความสามารถในการแข่งขัน กาหนดโดยผลผลิต (Productivity) ในการใช้คน ทุน
และทรัพยากรธรรมชาติ ผลผลิตจะกาหนดมาตรฐานการครองชีพ (ค่าจ้าง
, ผลตอบแทนต่อทุน, ผลตอบแทนต่อทรัพยากรธรรมชาติ)
                  ่ ั
  • ผลผลิตขึ้นอยูกบมูลค่า (Value) ของผลิตภัณฑ์หรื อบริ การ (เช่น คุณภาพพิเศษ
    เฉพาะ) และประสิ ทธิภาพ (Efficiency) ในการผลิต
  • ผลผลิตของธุรกิจท้องถิ่นเป็ นพื้นฐานที่สาคัญของความสามารถในการแข่งขัน
    ไม่ใช่เพียงแต่การซื้ อไปขายมา
  • การลดค่าเงิน ไม่ได้ทาให้ประเทศมีความสามารถในการแข่งขันสู งขึ้น

ประเทศแข่งขันด้วยการสร้างสภาพแวดล้อมที่ทาให้ธุรกิจสามารถดาเนินงานได้
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
                                                           ั
ภาครัฐบาลและภาคเอกชนจะมีบทบาทที่แตกต่างกันแต่ตองสัมพันธ์กนในการสร้าง
                                                  ้
เศรษฐกิจที่มีประสิ ทธิ ภาพ
รายได้ ประชาชาติต่อหัวในเอเชีย (US$)
                        1990           2005
           ญีปุ่น
             ่          24,724         35,787

          สิงคโปร์      12,219         26,835

           บรูไน         15,049        17,632

          เกาหลีใต้     5,893          16,422

          มาเลเซีย      2,432          5,040

            ไทย         1,528          2,577

             จีน          342          1,703

         อินโดนีเซีย      628          1,259

         ฟิ ลิปปิ นส์     725          1,159

          เวียดนาม        97             612

            ลาว           210            463

          กัมพูชา         106            375

            พม่ า         68              97
ความสามารถการแข่ งขันสู ง
   หมายถึง ศักยภาพของรายได้ ระยะยาวต่ อประชากร
GDP ต่อประชากร

                                    สิ งคโปร์                          สูง
                                                                       กลาง
                                        ไทย
                                                                        ต่า


                                    เวียดนาม
                                                   อัตราการเติบโตสูง
                                                      แต่รายได้ต่า


                                            2003                              ปี
      ที่มา: Kenan Institute Asia
ความสามารถในการแข่ งขันของประเทศอาเซียน
การฟื้ นตัวเศรษฐกิจ: รู ป V
     อัตราการเติบโต GDP ราย 4 เดือน (%)




Sources: ASEAN Finance and Macro-economic Surveillance Unit Database; national statistical offices.
อัตราการเติบโต GDP ของกลุ่มประเทศอาเซียน (%)
14


12


10


8                                                                                Lao

                                                                                Cambodia
6                                                                                Vietnam
                                                                                 Myanmar
                                                                                 Indonesia
                                                                                 Thailand
4                                                                                Singapor
                                                                                 Malaysi
                                                                                 e
                                                                                Philippines
                                                                                 a
2                                                                                Brunei


0
             2005          2006           2007            2008   2009   2010   2011

-2


-4

     Source: IMF, World Economic Outlook, October 2009.
ระบบเศรษฐกิจไทย
นโยบายเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของไทย
                                                       วิกฤตเศรษฐกิจ


                                                          •ผ่อนปรนกฎและข้อบังคับ
                                                          •สู่ ความเป็ นสากล
                                      •ให้อิสระตามกลไก •เพิมผลตอบแทน
                                      •ผ่อนปรนกฎ ข้อบังคับ ่
                        •สนับสนุน
          •ทดแทน         การส่ งออก
•สนับสนุน การนาเข้า                                        ปรับเปลี่ยนวิธีการวัด
 การลงทุน                                                  ลดการรวมศูนย์
                                                           ให้อิสระตามกลไก
                                                           ผ่อนปรนกฎและข้อบังคับ


 1954     1958 - 1971   1972-1992        1993 - 1996      1997 - 2000
การลงทุนในประเทศไทย
ล้ านล้ านบาท                 „ขับเคลื่อนการลงทุน/ระบบเศรษฐกิจเปิ ด
     5                        „แผนสนับสนุนการลงทุนไม่ชดเจน
                                                         ั                       GDP
                              „เงินทุนไหลเข้าออกอย่างอิสระ
   4
                              „อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงาน             „ ผลิตเกินกาลังการผลิต
                              „ อุตสาหกรรมทดแทนการนาเข้า          „การลงทุนลดลง
                                                                  „ขาดความสามารถใน
   3                                                                การแข่งขัน
          „ควบคุมกระแสทุนไหลเข้าออก
   2      „ควบคุมการลงทุนจากต่างประเทศ

   1

   0
       80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 00
                   การลงทุนภาคเอกชน                      การลงทุนภาครัฐ
โครงสร้ างเศรษฐกิจ 2 ชั้นเชิงซ้ อนของไทยปัจจุบัน
โครงสร้างอุตสาหกรรมสมัยใหม่                              โครงสร้รางอุตสาหกรรมภาคชนบท
และการลงทุนจากต่างประเทศ                                 และธุรกิจขนาดย่อมทัวประเทศ
                                                                                ่
”ทันสมัยและส่งออก”                                       ”ธุรกิจดั้งเดิม, ภาคเกษตร, ขนาดย่อม”
ใช้ทุนด้านเทคโนโลยี                                      ใช้ทุนน้อย เทคโนโลยีต่า
ใช้แรงงานในประเทศราคาถูก
มุ่งผลกาไร (ค่าจ้าง = MP)                                ใช้แรงงานราคาถูก

                                    อาหารราคาถูก
                                                 ั
                                  แรงงานเหลือให้กบ
                                 อุตสาหกรรมทันสมัย
  เงื่อนไขของสังคม:
      ภาคชนบทมีแรงงานมาก
      ภาคชนบทแบ่งรายได้ระหว่างกัน                                         ที่มา: W. Arthur Lewis, 1958
      อุตสาหรรมสมัยใหม่สามารถที่จะจ้างแรงงานราคาถูกได้
นโยบายเศรษฐกิจใหม่ : สร้ างสมดุล

       แนวคิดเดิม                             แนวคิดใหม่

 เน้นการส่ งออก                          ระบบเศรษฐกิจยังยืน
                                                       ่
 „ ส่ งออกสู งขึ้น นาเข้าน้อยลง
                           การค้าระหว่างประเทศ        การค้าภายในประเทศ


                                    สมดุลระหว่างท้องถิ่นกับโลกาภิวตน์
                                                                  ั
นโยบายพัฒนา 2 กระแส: เชื่อมท้ องถินกับโลก
                                  ่

     ความเชี่ยวชาญเฉพาะ
 ภายในชุมชน                การค้ า            การค้ า               การค้ า
 ความพอเพียง            ระหว่ างชุมชน      ภายในประเทศ           ระหว่ างประเทศ
           ส่ วนเกิน


      ความเข้ มแข็งของ                              ความสามารถเชิงแข่ งขัน
           สังคม                                       ระหว่ างประเทศ
       •    ความพอเพียง                                  •   ประสิ ทธิภาพ
       •    การสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน                 •   ต้นทุน
       •    เอกลักษณ์วฒนธรรม
                       ั                                 •   ผลิตภาพ
       •    คุณค่าแห่งครอบครัว                           •   นวัตกรรม
นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรม
นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจ
1) การเจริ ญเติบโตจากการใช้ทรัพยากร
2) กลไกการออมและการลงทุน
3) การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
4) การพัฒนาเทโนโลยี
5) นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจ
6) นโยบายการส่ งเสริ มการส่ งออกกับนโยบายการส่ งเสริ มการผลิต
   ทดแทนการนาเข้า
7) นโยบายอัตราการแลกเปลี่ยนสิ นค้า
8) นโยบายเศรษฐกิจมหาภาคเพื่อสร้างสถีรภาพ
9) นโยบายอุตสาหกรรม
บทบาทของรัฐบาลในการพัฒนาเศรษฐกิจ
สร้างสถียรภาพทางการเมือง (Political Stability) และการบูรณาการของ
สังคม (Social Integration)
ขั้นตอนการพัฒนา
    1. สร้าง Competitive market economy ด้วยการสนับสนุนและพัฒนา
       Cluster
    2. บูรณการเศรษฐกิจ ให้เข้ากับเศรษฐกิจโลก
       • ปรับปรุ งการจัดหาคุณภาพและประสิ ทธิภาพของปัจจัยการ
            ผลิต โครงสร้างพื้นฐาน และสถาบัน
       • กาหนดกฎเกณฑ์และส่ งเสริ มการแข่งขันเพื่อเพิ่มผลผลิต
    3. ปรับผลกระทบในเชิงลบเนื่องจากการเติบโตทางเศรษฐกิจ
       • ลดช่องว่างของรายได้ การกระจุกตัว มลภาวะ การทุจริ ต เป็ น
            ต้น
การเลือกอุตสาหกรรมกลยุทธ์ เพือการเติบโตของเศรษฐกิจ
                             ่
                                              ั
 • เป็ นอุตสาหกรรมที่สร้างอัตราการเติบโตให้กบประเทศในลักษณะ Increasing
   returns
 • เป็ นอุตสาหกรรมส่ งออกที่มีศกยภาพต่ออนาคตของประเทศ และสามารถเข้าสู่
                                ั
   ตลาดขนาดใหญ่ได้
 • เป็ นอุตสาหกรรมที่ทาให้ประเทศมีการเติบโตแบบสมดุล
 • เป็ นอุตสาหกรรมที่สามารถระดมสร้างภาคการผลิตอื่น โดย
    • รัฐบาลจะต้องเลือกลงทุนในภาคการผลิตที่สามารถสร้างผลกระทบเชิงบวกต่อ
        ภาคการผลิตอื่น ๆ มากที่สุดก่อนเสมอ
    • การเลือกภาคการผลิตดังกล่าวควรที่จะกระตุนความต้องการของภาคการผลิตที่
                                                 ้
        อยูตนน้ า แม้วาจะไม่ค่อยมีกาไรมากแต่มีความสาคัญต่อภาคการผลิตอื่น
           ่ ้        ่
Structural Transformation in East Asia
      ประเทศ                            3
                                             2


   Latest
  comers


Latecomers



 ASEAN4



    NIEs



   Japan                                                      1

                                                    Digital
             Garment   Steel   Popular TV   Video   Camera
                                                              เวลา
เอเชียก่อนวิกฤตเศรษฐกิจ: ทฤษฏีห่านบิน

                             ก่อนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ
                             ทฤษฏีห่านบินทะยานทัว   ่
                             เอเชียและประเทศริ มฝั่ง
                             มหาสมุทรแปซิฟิค

                             ญี่ปุ่นเป็ นประเทศผูนาฝูงห่ าน
                                                 ้
                             บิน ตามติดด้วยประเทศต่าง ๆ
เอเชียหลังวิกฤตเศรษฐกิจ: การรวมกลุ่มตามภูมภาค
                                          ิ
      หลังวิกฤต เกิดการรวมกลุ่มประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ




       SAARC
                                               จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้




                                           ASEAN
การรวมกลุ่มเชิงเศรษฐกิจ
การรวมกลุ่มเชิงเศรษฐกิจของอาเซียน มีความลึกซึ้งน้อยกว่า EU และ NAFTA
ประโยชน์ จากการรวมกลุ่มเชิงเศรษฐกิจ:
ต้ นทุนทีลดลง
         ่
ทฤษฏีการพัฒนาความสามารถของอุตสาหกรรม
“To live well, a nation must
                produce well.”



Made in America, Regaining the Productive Edge, The MIT press 1989

                                                                     26
ดัชนีชี้วดความสามารถของอตสาหกรรม
             ั              ุ
                                Competitiveness
                             Industrial Performance
                                   Index (CIP)

การลงทุนจากต่ างประเทศ                                               ทักษะ
 เงินลงทุนจากต่างประเทศ                                    ความรู้ ความชานาญด้านเทคนิค
          ต่อคน                                                     (ต่อ 1000 คน)
                               ความสามารถ
                              ของอุตสาหกรรม
เทคโนโลยีจากต่ างประเทศ                                     การลงทุนด้ านเทคโนโลยี
 เงินลงทุนด้านเทคโนโลยีจาก                                 เงินสนับสนุนการวิจยและพัฒนา
                                                                             ั
      ต่างประเทศต่อคน                                              (R&D) ต่อคน



                                โครงสร้ างพืนฐาน
                                            ้
                             เช่น โทรศัพท์ (ต่อ 1000 คน)
ความสาคัญของนวัตกรรมต่ อการพัฒนา
นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรม
ขั้นตอนการพัฒนาความสามารถในการแข่ งขัน

                                                  การกระจุกตัว
                                                  ของนวัตกรรม
                                   การกระจุกตัว
                                    ของความรู้
                                                  การกระจุกตัว
                    การกระจุกตัว                  ของความมั่นคั่ง
  การกระจุกตัวของ   ของการลงทุน
   ปัจจัยการผลิต
                                                                    ลดลง
ความสามารถด้ านเทคโนโลยีของเอเชีย
                                                           ส่งออกสิ นค้าไฮเทค           ค่าลิขสิ ทธิ์/สิ ทธิบตร
                                                                                                             ั
                   จานวน       จานวนช่าง
                                           R&D/GNI                                                การจ่ายเงิน
               นักวิทยาศาสตร์    เทคนิ ค               มูลค่า (ล้าน   สัดส่วนมูลค่า มูลค่า (ล้าน
                                             (%)                                                 (ล้านเหรี ยญ
               (ต่อ 1 แสนคน) (ต่อ 1 แสนคน)            เหรี ยญสรอ.)    สิ นค้าโรงงาน เหรี ยญสรอ.)
                                                                                                     สรอ.)
                1990-2000     1990-2001   1989-2000      2001            2001           2001             2001
     จีน           545           187        1.00         49,427            20           110             1,938
    ญี่ปุ่น       5,093          667        2.98         99,398            26          10,462           11,099
 เกาหลีก          2,319          564        2.68         40,427            29           688             3.221
 สิ งคโปร์        4,140          335        1.88         62,572            60             -                -
   ฮ่องกง           93           100        0.44          3,716            20           107              461
 สิ งคโปร์           -             -          -           4,473            13             -                -
ฟิ ลิปปิ นส์       156            22          -          21,032            70             1              158
    ไทย             74            74        0.10         15,286            31             9              823
 มาเลเซีย          160            45        0.40         40,939            57            21              751
เวียดนาม           274             -          -             -               -             -                -
 อเมริ กา         4,099           -         2.69        178,906            32          38,660           16,360
   โลก              -             -         2.38            -              23          72,356           73,148
 Source: World Bank, World Development Indicators, 2001, 2002, 2003
โครงสร้ างอุตสาหกรรมของเอเชีย                                                                                    (%)
                โครงสร้างอุตสาหกรรม       มูลค่าเพิมของ
                                                   ่                     FDI/การลงทุน
                                                           R&D/GDP
               อุตสาหกรรม    อุตสาหกรรม   อุตสาหกรรม                      ทั้งประเทศ            หมายเหตุ
                                                            1998-00
                  ไฮเทค         โลเทค        ไฮเทค                           (2000)

  ญี่ปุ่น            13.7          30.2            36.8           2.95           1.10      สัดส่ วนของ R&D สู ง

  เกาหลี             13.8          28.0            47.3           2.56           7.08      สัดส่ วนของ R&D สู ง

    จีน               9.9          31.6            23.3           0.84           9.54

 ไต้หวัน              n.a.          n.a             n.a.          2.02          11.30      สัดส่ วนของ R&D สู ง
                                                                                         สัดส่ วนของ R&D สู ง และ
 สิ งคโปร์           46.3           8.5            36.7           1.85          22.13
                                                                                               พึ่งพาต่อ FDI สู ง
 มาเลเซีย            41.2          24.5            21.5           0.43           7.24

   ไทย               10.2          46.2            26.3           0.19          12.16         พึ่งพา FDI สู ง

ฟิ ลิปปิ นส์         18.7          40.2            37.2           0.08          15.21         พึ่งพา FDI สู ง

อินโดนีเซีย           5.8          57.6            37.8           0.09          -16.62

Source: Y.S. Hong
ปัจจัยการเติบโตและเงื่อนไขการใช้ ประโยชน์



  ปัจจัยการเติบโต   เงื่อนไขการใช้ ประโยชน์ จากปัจจัยการเติบโต
  • การศึกษา        • การเปิ ดตลาด
  • วิจยและพัฒนา
        ั                         ่
                    • ความยืดหยุนของโครงสร้างและกฎระเบียบ
  • นวัตกรรม        • ผลตอบแทนของ
  • เงินทุน            • ความสาเร็ จของนวัตกรรม
                       • ความเสี่ ยงของการลงทุนภาคเอกชน
                    • นโยบายเศรษฐกิจมหภาค
โมเดลการพัฒนาเศรษฐกิจสมัยใหม่
   แรงงาน
                                                            การเติบโตทางเศรษฐกิจ




                                         การเติบโตผลิตภาพ
  การศึกษา           Know-How                               อัตราส่ งออกสู งขึน
                                                                              ้
    วิจัย             ความรู้
                                                            อัตราการจ้ างงานสู งขึน
                                                                                  ้
  เทคโนโลยี          นวัตกรรม
                                                            การพัฒนาภูมภาค
                                                                       ิ
                                                            การเติบโตความอยู่ดี
   เงินทุน
  การเติบโตของเศรษฐกิจสมัยใหม่ ขึ้นกับการศึกษา การวิจยและระดับเทคโนโลยี
                                                     ั
ระบบนวัตกรรมอุตสาหกรรมและการเรียนรู้

                    อุตสาหกรรมโลก


             อุตสาหกรรมในคลัสเตอร์ ท้องถิ่น




             ธรรมาภิบาลของอุตสาหกรรม


                    กรอบและเงื่อนไข
ระบบธรรมาภิบาลภาคอุตสาหกรรม
                     ยุทธศาสตร์แห่งชาติ




      การติดตาม                            ยุทธศาสตร์ความสามารถ
                                           ในการแข่ง ขันของภูมภาค
                                                              ิ




                       ค ะกรรมการ
                  ความสามารถในการแข่งขัน
หน้ าทีหลักของธรรมาภิบาลอุตสาหกรรม
       ่

     ปริมา




                                ความสามารถในการแข่งขันสู งขึ้น



        ปัญหา การศึกษา นโยบาย   การปฏิบัติ
รู ปแบบการพัฒนาภูมภาค
                  ิ
               NIS:    รัฐบาลกลาง
                                                                 วิสาหกิจและธุรกิจใหม่
       RIS                               เพิ่มทักษะ/ความรู้
                                           เชิงนวัตกรรม
  รัฐบาล           มหาวิทยาลัย
  ท้องถิ่น           ท้องถิ่น                                    ปรับปรุ งธุรกิจให้ดีข้ ึน
 อุตสาหกรรม
    ท้องถิ่น          UIR                  เพิ่ม/สร้าง
                                                                 การพัฒนาภูมิภาค
                                        ทรัพยากรมนุษย์


 การวิจยร่ วมอุตสาหกรรมกับมหาวิทยาลัย
       ั                                                      ยังยืนตามแบบฉบับท้องถิ่น
                                                                ่
            (ปัจจัยหลักของ RIS)
ความท้ าทายของประเทศไทยต่ ออนาคต
       ท่ ามกลางการเปลียนแปลง
                       ่

ประเทศไทย อาจจะต้ องมองไปข้ างนอก
   ไม่ เพียงแต่ มองด้ านภายในเท่ านั้น
Road Map การลงทุนและการค้ าระหว่ างประเทศ


ระดับที่ 1                                                        โลกเดียวกัน
             WTO                                               ระบบการค้าหนึ่งเดียว

                                                       China
                                               USA

ระดับที่ 2   ASEAN        AEC                     AEC India
                                               Korea
                                                       Japan




                               China

ระดับที่ 3
                       USA


             คู่ FTA         ไทย       India
                       Korea
                               Japan
การแข่ งขันยุคใหม่ ของอาเซียน
              อาเซียนในฐานะศูนย์ กลางการผลิต
   ความร่ วมมือเชิงยุทธศาสตร์     คลัสเตอร์ อุตสาหกรรมอาเซียน

                                ท่องเที่ยวและการบิน     ยาง
                                 แฟชั่น (เพชร สิ่งทอ)   ยานยนต์
         ภาคบริการ
                                อาหาร (ครัวของโลก)      การศึกษา
                                Logistics/ขนส่ง         ปาไม้
                                เกษตรและประมง           การเงิน
         ภาคการผลิต
                                 ICT และสุขภาพ          พลังงาน
                                อิเล็คทรอนิกส์          ก่อสร้าง
          ทรัพยากร
กลยุทธ์ การแข่ งขัน: ปรับโครงสร้ างอุตสาหกรรม
                  นโยบายเชิงยุทธศาสตร์
                          กลยุทธ์
                       การตลาดเชิงรุ ก
ความสามารถ                               อุตสาหกรรม
การแข่ งขันสู ง            กลยุทธ์
                                          ศักยภาพสูง
                         เข้ าสู่ ตลาด
                        กลยุทธ์ สร้ าง
                        ความสามารถ
ความสามารถ
การแข่ งขันต่า          กลยุทธ์ เปลียน
                                    ่    อุตสาหกรรม
                        อุตสาหกรรม        ศักยภาพต่า
The New Competitive Landscape…


                            Cultural Tourism
                                                         Jewelry: THA,MYN,CAM

                                                         Land Transportation: THA,MYN,
                                                         LAOS,CAM,VIET,MAL,SING

                                                         Food & Restaurant: THA



     Textile                               Automotives




                                     Rubber/
                                 Leisure Tourism
 Aviation/
Education/
Healthcare
ASEAN+3
ผลิตภาพปี 2008: ความท้ าทายของอาเซียน
 ผลผลิตต่ อคน (US$ คงที่ปี 2009)




  Source: Conference Board and Groningen Growth and Development Centre Total Economy Database, January 2010.
ผลิตภาพเปรียบเทียบระหว่างประเทศปี 2008
 ผลผลิตต่ อคน (US$ คงที่ปี 2009)
     Singapore


      Malaysia


       Thailand


        ASEAN


    Philippines


      Indonesia


      Viet Nam


     Cambodia


                  0    10,000    20,000   30,000    40,000    50,000   60,000    70,000    80,000   90,000

Source: Conference Board and Groningen Growth and Development Centre Total Economy Database, January 2010.
ผลิตภาพทีสูงขึน นาไปสู่ ค่าแรงทีสูงขึนและสภาพการทางานที่ดขน
         ่ ้                    ่ ้                      ี ึ้
     ค่าเฉลี่ยผลิตภาพและค่าจ้างที่แท้จริ ง
14

12             Productivity             Wages

10

8

6

4

2

0
        Indonesia            Singapore             Thailand               China                 India
Sources: ILO: Global Wage Report 2008/09; Conference Board and Groningen Growth and Development Centre Total
Economy Database, January 2010.
การเติบโตทางเศรษฐกิจ: อาเซียน จีน และอินเดีย
          20


          15


          10                              China
                                          India
                                          Indonesia
           5
Percent




                                          ASEAN-5

           0
             90

             91

             92

             93

             94

             95

             96

             97

             98

             99

             00

             01

             02

             03

             04

             05

             06

             07

             08
           19

           19

           19

           19

           19

           19

           19

           19

           19

           19

           20

           20

           20

           20

           20

           20

           20

           20

           20
           -5


          -10


          -15

   Source: IMF
โครงสร้ าง GDP: อาเซียน จีน และอินเดีย
          120



          100             8.0                                                               1.1
                                                                              2.8
                                       19.1                                                                 41.1
                                                    23.1         39.7                                                      15.2
                                                                             28.8          27.8
          80
                39.8                                                                                                       9.7
                          44.4                                                                              6.2
                                       30.9         19.1                                    8.4
          60                                                     11.6        11.9
Percent




                                                    12.5
                12.9                   10.7
                          13.5
          40
                                                                                                            67.3           71.1
                20.8                                                                       60.9
                                                                 54.7        54.8
                                       41.0         45.2
          20              36.1
                20.1

           0                                                                                                               -1.8
                                                                 -5.3
                                                                                                        -16.5

          -20
                Brunai   China      Singapore      Malaysia      India      Thailand     Indonesia     Vietnam        Philipina

                         Private consumption    Government consumption   Gross domestic capital formation     Net Export


          Source: ADB
การค้ าระหว่ างอาเซียนกับจีน
               120

               100
                                                                      Import
                80

                60
 Billion USD




                                                                                 Export
                40

                20

                 0
                      -0.9 -1.7 -4.3 -2.0 -2.7 -4.0 -2.9 -3.7 -1.5
                                                                      -6.4 -8.9 -9.9
               -20                                                                   -15.2
                                                           Balance of trade                -21.4
               -40
                     1995 1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008

               Source: ASEAN Statistical Yearbook, 2008
การค้ าระหว่ างอาเซียนกับอินเดีย
              35

              30

              25
                                               Export
Billion USD




              20
                                                        Import
              15

              10
                   Balance of trade
              5

              0
                95

                96

                97

                98

                99

                00

                01

                02

                03

                04

                05

                06

                07

                08
              19

              19

              19

              19

              19

              20

              20

              20

              20

              20

              20

              20

              20

              20
    Source: ASEAN Statistical Yearbook, 2008
การขนส่ งระหว่ างประเทศกับตลาดเกิดใหม่ ในอินเดีย
ASEAN+EU
ส่ วนแบ่ งตลาดสิ นค้ าเกษตรของอาเซียนในสหภาพยุโรป
ส่ วนแบ่ งตลาดสิ นค้ าอุตสาหกรรมและประมงของอาเซียนในสหภาพยุโรป
ความได้ เปรียบในการแข่ งขัน 3 รู ปแบบ
ความได้ เปรียบในการแข่ งขัน 3 รู ปแบบ
                Industry-specific determinants:
                 ความได้ เปรียบของอุตสาหกรรม


                    สร้างความเชื่อมโยง
       การลงทุนโดยตรง
                                         ธุรกิจท้องถิ่น
        จากต่างประเทศ
                    พัฒนาความเชื่อมโยง
ความได้ เปรียบของธุรกิจขนาดใหญ่
ยอดขายของบริษัทข้ ามชาติเมื่อเปรียบเทียบ
กับขนาดเศรษฐกิจของประเทศ (2004)
Sales (Billions US Dollars)                                GDP (Billions US Dollars)
Wal-Mart Stores                         258.7           Malaysia               229.0
BP                                      232.6           Singapore              120.0
Exxon Mobil                             222.9           Vietnam                227 .0
Royal Dutch’ Shell                      201.9           Bangladesh             275.0
General Motors                          183.2           Thailand               524.0
Daimler Chrysler                        166.6           Laos                   11.28
Ford Motor Co.                          164.2           Jordan                 25.5
Toyota Motor Co.                        156.5           Bhutan                 2.9
Mitsubishi                              137.3           Sri Lanka              80.6
General Electric                        134.2           Nepal                  39.5


 © 2006 The McGraw-Hill Companies, Inc. All rights reserved.
สถานะของบริษัท ประเทศไทย
•    Source : Boston Consulting Group Challenger 100
    ประเทศไทยมี 2 บริ ษท ที่ติดอันดับ คือ บริ ษท เจริ ญโภคภัณฑ
                        ั                      ั                 อาหาร จากัด (มหาชน)
    บริ ษท Thai Union Frozen Products
         ั
    หมายเหตุ: จาก 100 บริ ษท ทัวโลก จีน ‟ 40 บริ ษท (40%) อินเดีย ‟ 20 บริ ษท (20%)
                           ั ่                     ั                        ั
•Source: Forbes 2000
• ลาดับ244 - บริ ษท ปตท. จํากัด (มหาชน)
                    ั
• ลาดับ858 – ธนาคารกรุงเทพ
• ลาดับ 887 - ธนาคารไทยพาณิ ชย
• ลาดับ955 - เครื อซี เมนต (SCG)
                           ไทย
• ลาดับ1012 – ธนาคารกสิ กรไทย
• ลาดับ1260 - Advance Info Service
• ลาดับ1276 - ธนาคารกรุงไทย
• ลาดับ1825 - บริ ษทไทยออยลากัด ลาดับThai Oil 1841 - บมจ. ไทยเบฟเวอเรจ
                      ั          จํ
• ลาดับ 1892 – ธนาคารกรุงศรี อยุธยา
บริษัทข้ ามชาติของโลก
            ประเทศ
            บริ ษทข้ามชาติ
                 ั




Source: Global Inc: An Atlas of the Multinational Corporation, 2003, p. 2.
บริษทข้ ามชาติเอเชียที่อยู่ใน 50 ลาดับแรกของโลกตามยอดขาย
    ั


1/8     Toyota Motor                     Japan              185,805
2/23    Sinopec                  China   98,785
3/24    Nippon Telegraph & Telephone     Japan     94,869
4/31    Honda Motor                      Japan     87,511
5/32    State Grid                       China     86,984
6/38    Hitachi                          Japan     83,596
7/39    China National Petroleum China   83,557
8/41    Nissan Motor                     Japan 83,274
9/46    Samsung Electronics              South Korea        78,717
10/47  Matsushita Electric Industrial    Japan     78,558
265/373 PTT                              Thailad            23,109
บริษัทขนาดใหญ่ ของประเทศไทย
   บริ ษท ปตท. จากัด (มหาชน)
        ั                                                      660,097.00
   บริ ษท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด
                    ั                                          200,813.00
   บริ ษท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน)
                      ั                                        179,117.00
   บริ ษท อุตสาหกรรมปิ โตรเคมีกลไทย จากัด (มหาชน)
                        ั                           ั          167,374.00
   บริ ษท การบินไทย จากัด (มหาชน)
                          ั                                    153,717.00
   บริ ษท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน)
                            ั                                  150,122.00
   บริ ษทโรงกลันน้ ามันระยอง จากัด (มหาชน)
                              ั                 ่              117,932.00
   บริ ษท สตาร์ ปิ โตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จากัด
                                ั                              120,297.00
   บริ ษท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จากัด (มหาชน)
                                  ั                            80,990.70
   บริ ษท เชลล์แห่งประเทศไทย จากัด  ั                          102,188.00
   บริ ษท ตรี เพชรอีซูซุเซลส์ จากัด   ั                        97,136.60
   บริ ษท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จากัด
          ั                                                    85,515.60
   บริ ษท บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน)
                                        ั                      79,206.60
   บริ ษท ฮิตาชิ โกลบอล สตอเรจ เทคโนโลยีส์ (ประเทศไทย) จากัด
            ั                                                  78,207.20
   บริ ษท เอก-ชัย ดีสทริ บิวชัน ซิสเทม จากัด
              ั                                   ่            76,202.50
   บริ ษท ดิจิตอล โฟน จากัด               ั                    69,661.00
   บริ ษท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย จากัด
                ั                                              67,438.90
   บริ ษท เอเชี่ยนฮอนด้ามอเตอร์ จากัด       ั                  61,680.40
   บริ ษท ไทยฮอนด้า แมนูแฟคเจอริ่ ง จากัด     ั                61,462.30
   บริ ษท ซิเลซติกา (ประเทศไทย) จากัด
                  ั                                            60,412.00
บริษ ัทขนาดใหญ่ของประเทศไทย

    บริ ษท ปตท. จากัด (มหาชน)
           ั                                                    660,097.00
    บริ ษท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด
                     ั                                          200,813.00
    บริ ษท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน)
                       ั                                        179,117.00
    บริ ษท อุตสาหกรรมปิ โตรเคมีกลไทย จากัด (มหาชน)
                         ั                           ั          167,374.00
    บริ ษท การบินไทย จากัด (มหาชน)
                           ั                                    153,717.00
    บริ ษท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน)
                             ั                                  150,122.00
    บริ ษทโรงกลันน้ ามันระยอง จากัด (มหาชน)
                               ั                 ่              117,932.00
    บริ ษท สตาร์ ปิ โตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จากัด
                                 ั                              120,297.00
    บริ ษท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จากัด (มหาชน)
                                   ั                            80,990.70
    บริ ษท เชลล์แห่งประเทศไทย จากัด  ั                          102,188.00
    บริ ษท ตรี เพชรอีซูซุเซลส์ จากัด   ั                        97,136.60
    บริ ษท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จากัด
         ั                                                      85,515.60
    บริ ษท บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน)
                                         ั                      79,206.60
    บริ ษท ฮิตาชิ โกลบอล สตอเรจ เทคโนโลยีส์ (ประเทศไทย) จากัด
             ั                                                  78,207.20
    บริ ษท เอก-ชัย ดีสทริ บิวชัน ซิสเทม จากัด
               ั                                   ่            76,202.50
    บริ ษท ดิจิตอล โฟน จากัด               ั                    69,661.00
    บริ ษท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย จากัด
                 ั                                              67,438.90
    บริ ษท เอเชี่ยนฮอนด้ามอเตอร์ จากัด       ั                  61,680.40
    บริ ษท ไทยฮอนด้า แมนูแฟคเจอริ่ ง จากัด     ั                61,462.30
    บริ ษท ซิเลซติกา (ประเทศไทย) จากัด
                   ั                                            60,412.00
การเลือกอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์
อุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ VS. อุตสาหกรรแบบพอเพียง
อุตสาหกรรมเป้ าหมาย
   • ยานยนต์และชิ้นส่ วน (ดีทรอยซ์แห่งเอเชีย)
   • เกษตร (ครัวของโลก)
   • แฟชัน เช่น อัญมณี เครื่ องหนัง ไหมไทย
         ่
   • บริ การที่เพิมมูลค่า เช่น สุ ขภาพ สปา เป็ นต้น
                  ่
   • อิเล็คทรอนิกส์และ ICT
   • พลังงานและพลังงานทดแทน
ความสามารถในการแข่ งขันของอุตสาหกรรมไทย
ระดับความน่าสนใจของอุตสาหกรรม


                                                                                   • Foods   • Leather
                                สู ง


                                                                       Cluster I   • Garment • Electronics
                                                                                   • Jewelry • Auto


                                                 • Rubber        • Plastic
                                                 • Wood Products • Ceramics & Glass
                                                 • Pulp & paper  • Chemicals
                                                                                       Cluster II

                                       •Metals
                                       •Petrochemicals
                                       •Machinery        Cluster III


                                           ต่า                                                 สู ง
ความสามารถในการแข่ งขันของภาคบริการไทย
ระดับความน่าสนใจของอุตสาหกรรม


                                                              • Construction &
                                       • Business Services
                                สู ง


                                                                Engineering
                                       • Communications       • Education
                                       • Environmental        • Health & Social
                                                              • Tourism &Travel
                                             • Distribution   • Recreation, Culture,
                                             • Financial        Sporting
                                             • Transport




                                           ต่า                                 สู ง
THAI SMES
ความได้ เปรียบของฐานผลิต
EAST ASIA INDUSTRIAL CORRIDOR INITIATIVE




                Delhi               North-South Economic
                                           Corridor
                                               East-West Economic Corridor

           Mumbai

                                                Southern Economic Corridor




 Mekong-India Industrial Corridor




                   Sea Economic
                     Corridor
นิคมอุตสาหกรรมในประเทศไทย                        I-EA-T Owned 10 I.E.
                                                     Joint cooperation 21 I.E.

                        Lampoon             Khonkaen
            Northern Region I.E.            Khone Kean I.E. (Mini
                          Phichit           Factory)
                      Phichit I.E.          Chachoengsao
                        Sara Buri
                 Kaeng Khoi I.E.            Wel Grow I.E.
                  Nong Khae I.E.            Gate Way I.E.
                        Ayuthaya            Samutprakarn
                     Hi-Tech I.E.           Bang Poo I.E.
                  Bang Pa-In I.E.           Bang Phlee I.E.
           Saharattananakorn I.E.           Chonburi
                        Bangkok             Bo Win I.E.
                  Bang Chan I.E.
                 Lat Krabang I.E.           Laem Chabang I.E.
                  Gemopolis I.E.            Amata Nakorn I.E.
                       Ratchaburi           Pin Tong I.E.
                  Ratchaburi I.E.           Rayong
                   Samut Sakhon             Map Ta Phut I.E.
               Samut Sakhon I.E.            Eastern I.E.
      Sinsakhon Printing City I.E.          Padaeng I.E.
                       Song Khla
        Southern (Song Khla) I.E.           Eastern Sea Board I.E.
                           Pattani          Amata City I.E.
         Halal Food (Pattani) I.E.          TS 21 I.E.
                                            Asia I.E.
Investment Capital = 35,000 Million US$.            Industrial Estate Area
Employment = 400,000 Persons                   Total area    32,264 Acres
Factory = 2,800 Factories                  Available area      7,204 Acres
คลัสเตอร์ ของอุตสาหกรรมรถยนต์ ในประเทศไทย
สภาพแวดล้อมการดาเนินธุรกิจของประเทศไทย
                                                                               + การลงทุนจากต่ างประเทศทาให้ มีการแข่ งขันมากขึน   ้
                                                          ปริบทสาหรับ          ‟ ธุ รกิจส่ วนใหญ่แข่งขันกันโดยใช้ตนทุนปั จจัยผลิตต่าและลงทุน
                                                                                                                   ้
                                                          กลยุทธ์ ธุรกิจ          เพียงเล็กน้อยในการเพิ่มความสามารถ
                                                         และการแข่ งขัน        ‟ มีโครงสร้างภาษีที่สูงและซับซ้อน ตลอดจนกฎหมายส่ งเสริ มการ
                                                                                  แข่งขันไม่ได้ส่งเสริ มการแข่งขัน
                                                                                                                                 ั
                                                                               ‟ ระบบราชการและการคอร์ รัปชันสร้างต้นทุนให้กบธุ รกิจ
                                                                                                                 ่


                      เงือนไขของปัจจัย
                         ่
                                                                                                     เงือนไขอุปสงค์
                                                                                                        ่
                           การผลิต

+ ประเทศไทยอุดมสมบูรณ์ดวยสัตว์ป่า ภูมิทศน์ และ
                            ้            ั                                                     ‟ ความต้องการภายในของไทยไม่ค่อยพิถีพิถน
                                                                                                                                     ั
  ทรัพยากรธรรมชาติ                                                                               และไม่ได้นาสมัย
+ โครงสร้างพื้นฐานทางสังคมโดยเฉพาะถนนดี                                                        + ในตลาดรถปิ คอัพประเทศไทยได้พฒนาตลาดนี้
                                                                                                                             ั
‟ โครงสร้างพื้นฐานทางสังคมในกรุ งเทพฯ มีการเก็บภาษีมาก                                           มากที่สุดในโลก
  เกินไป
                                                           อุตสาหกรรม
‟ ระดับของทักษะของคนงานไทยต่า และการศึกษาไม่ได้              สนับสนุน
  สร้างคนตามความต้องการของบริ ษท  ั
‟ เครื อข่ายการสื่ อสารแพงและมีนอยนอกกรุ งเทพฯ
                                ้                        ‟ ส่ วนใหญ่แหล่งผลิต clusters มักจะเป็ นแหล่งผลิตที่ใช้
                                                           แรงงานเข้มข้น
‟ ขาดการพัฒนาตลาดการเงินให้พอเพียง
                                                                                  ่ ้
                                                         ‟ แหล่งผลิต Cluster มีอยูบางแต่เป็ นการดาเนิ นงานเพียง
‟ ระดับความสามารถทางเทคโนโลยีในประเทศต่า
                                                           เพื่อการเจรจาต่อรอง
บทบาทของนโยบายรัฐบาลต่ อสภาพแวดล้ อมธุรกิจ

      รัฐบาล             ปริบทสาหรับ
                         กลยุทธ์ ธุรกิจ
                        และการแข่ งขัน



     เงือนไขของปัจจัย
        ่
                                          เงือนไขอุปสงค์
                                             ่
          การผลิต




                          อุตสาหกรรม
                            สนับสนุน
แนวโน้ มของฐานผลิต
แนวคิดการเกิดฐานผลิต
การพัฒนาฐานผลิต
ฐานการผลิตและเครือข่ ายผลิต
                                               ฐานผลิต
                                               กระจุกตัวและก่อให้เกิดการขยายตัว
                              Silicon
                              Valley


                                                                  เครื อข่ายการผลิต
                                          SL                      การแบ่งงานระหว่างกัน
                        SL          PB              PB       SL
                                                                      PB
                   PB
                         SL              PB           SL
PB: production block
SL: service link
พลวัตรของเครือข่ ายผลิต
           การสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่เช่น ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
           บริ ษทข้ามชาติแสวงหาตาแหน่งการลงทุน
                ั

                                          เวียดนาม
                              ชิ้นส่ วน
                                                     การประกอบ
                วัตถุดิบ
                                                           จีน   การตลาด
                  ไต้หวัน
                              ชิ้นส่ วน                           ฮ่องกง
  การวิจย
        ั
                              ไทย
และออกแบบ                                     ซอฟท์แวร์
 ญี่ปุ่น                                         อินเดีย
โครงการคลัสเตอร์ ของอเมริกา




  (ERI/McGraw Hill,”America’s Clusters”,1995)
โครงการคลัสเตอร์ ของอเมริกา




  (ERI/McGraw Hill,”America’s Clusters”,1995)
โครงการคล ัสเตอร์ของอเมริกา
คลัสเตอร์ นวัตกรรม
INNOVATION CLUSTER
ระบบอุตสาหกรรมแบบ Modular กับแบบ Integral




 Source: Prof. Fujimoto (Tokyo Univ.)
TSP เป็ นสถาบันเชื่อมคลัสเตอร์ นวัตกรรม
                                         AYUTHAYA
                                     AYUTHAYA                                ROJANA 70 KM.
                                                             5                Industrial Park

                 HI-TECH 62 KM.
                 Industrial Estate       4
    BANGPA-IN 56 KM.                              NAVA NAKORN 46 KM.
     Industrial Estate
                                 3       2       Industrial Promotion Zone



                                               อุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย


      PATHUMTHANI                    1          BANGKADI 32 KM.
                                             Industrial Promotion Zone




                         BANGKOK
อุทยานวิทยาศาสตร์ ในประเทศไทย
                                                  จานวน 5 แห่ ง

• สร้างการเชื่อมต่อระหว่าง
  มหาวิทยาลัย ห้องปฏิบติการของ
                         ั
  ภาครัฐ และภาคอุตสาหกรรม
• บริ หารความต่อเนื่องของการวิจยั       อุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย
  ระหว่างต้นน้ า กลางน้ า และปลายน้ า       ปทุมธานี
                                        อุทยานวิทยาศาสตร์ เชียงใหม่
• ให้บริ การทั้งแบบ “Hard” และ“Soft”    อุทยานวิทยาศาสตร์ ชลบุรี
• อานวยความสะดวกในการโอนถ่าย            อุทยานวิทยาศาสตร์ ขอนแก่นและ
                                            นครราชสี มา พร้อมแหล่งบ่มเพาะ
  เทคโนโลยีสู่ ภาคอุตสาหกรรม                ธุรกิจเทคโนโลยี 4 แห่ง
                                        อุทยานวิทยาศาสตร์ สงขลา พร้อม
                                            แหล่งบ่มเพาะธุรกิจเทคโนโลยี
                                            4 แห่ง
ความได้ เปรียบเชิงสถาบัน
การสร้ างความได้ เปรียบเชิงสถาบัน
                      รัฐบาล

                           กํากับเข้ มงวด

                   สถาบันการเงิน

         เงินฝาก                            เงินกู้

                       จ้ างงาน
   ภาคประชาชน                                   ภาคธุรกิจ
การสร้ างความได้ เปรียบเชิงสถาบัน
                      สถาบันการเงิน

            เงินฝาก   Indirect Finance   เงินกู้

      ภาคประชาชน                           ภาคธุรกิจ

     ลงทุนในหุ้น                              พันธบัตร
                       Direct Finance
     Hedge Funds                                 หุ้น
                         ตลาดทุน
EPZS: LABOUR AND SOCIAL ISSUES
RELATING TO EXPORT PROCESSING ZONES
การพัฒนาเขตภูมภาคและประเทศ
                  ิ
              Seoul Metro-Area
         Northeast Asian Hub                                   Kangwon
          Finance, Logistics,                                  Tourism, Health, BT, Animation
          Electronics, IT, Bio
                                   Incheon Seoul

                     Choongcheong                                       Three Free Economic Zones
                                                                         Logistics, Financial Services, etc.
Planned Site of New Capital
    BT, Telecomm equipment,
      Semiconductor, Display

                          Honam                                          Youngnam

   Cultural Industry, Bio, Auto                                           Textiles, Electronics, Auto
   Optical Fiber Cable, achinery                                          Machinery, Petrochemicals,
                                                                          Shipbuilding, NT
                                                         BusanㆍJinhae
                       Jeju
    Free International City                        Gwangyang
                                                                * 6 Industrial districts for foreign
  Information, Bio, Tourism                                     companies
                                                                * 4 Free Trade Zones
                                                                * 523 Industrial Complexes
เขตพัฒนาเศรษฐกิจของจีน
Economic Development – Zones
                                                                                                             Heilongjiang



                                                                                                                Jiling

                                                                                                         Liaoning
                                                                                                                                    N
                                                                                                                            Bohai Bay Area
                                                                                         Hebei
                                                                                                                            (BBA)
                        Xinjiang                                                                                            - Beijing
                                                                Inner Mongolia                   Beijing
                                                                                                  Tianjin                   - Tianjin
                                                                                                                            - Shijiazhuang
                                                                                                                Bohai Bay
                                                                Ningxia        Shanxi        Shandong
                                                                                                                            - Qingdao
                                             Qinghai                                                                        - Dalian
                                                                                                                            - Xian
                                                                                    Henan                                   - Jinan
                                                            Gansu                                     Jiangsu
                        Tibet
                                                                                                 Anhui           Shanghai
                                                                                 Hubei
                                                         Sichuan                                                            Yangtsze River
                                                                                                         Zhejiang
                                                                Chongqing                   Jiangxi                         Delta (YRD)
    : Yangtsze River                                                             Hunan                                      - Shanghai
                                                                   Guizhou                         Fujian                   - Ningbo
    : Pearl River                                                                                                           - Suzhou
                                                                                                             Taiwan         - Wuxi
                                                       Yunnan                         Guangdong
                Pearl River Delta (PRD)                                   Guangxi                                           - Kunshan
                -Guangzhou - Yantian                                                         Hongkong                       - Nanjing
                                                                                       Macau (SAR)                          - Hangzhou
                -Dongguan       - Zhuhai                                     Hainan
                                                                                       (SAR)
                -Taiping        - Hongkong
                -Shenzheng - Macau
ฐานผลิตแบบใหม่ ทั่วโลก
บทเรียนจากประเทศต่ าง ๆ
บทเรียนจากสิ งคโปร์
สิ งคโปร์ไม่มีท้ งธุรกิจขนาดใหญ่และธุรกิจขนาดกลางย่อม ไม่มีอะไรเลย ไม่มี
                 ั
อุตสาหกรรม ในปี 1965 เป็ นเมืองท่าปลอดภาษี โดยเริ่ มชักชวนบริ ษทข้ามชาติ
                                                                 ั
เข้ามาลงทุน
1960s: บริ ษทข้ามชาติกลุ่มแรกเข้ามาลงทุน
             ั
1970s: ไม่สามารถแก้ไขปัญหาการว่างงาน
1980s: พัฒนาและยกระดับเทคโนโลยี
                                                       ั
        ส่ งเสริ มให้บริ ษทท้องถิ่นเป็ น suppliers ให้กบ MNCs
                           ั
1990s: สร้างสถาบันวิจยของรัฐ เช่น IME
                         ั
2000s: ใช้กลยุทธ์ Cluster ชักชวนบริ ษทข้ามชาติช้ นดีเข้ามาและสร้าง
                                         ั          ั
        ผูประกอบการเชิงเทคโนโลยี เริ่ มประสบความสาเร็ จหลังปี 1980
          ้
บทเรียนจากจีน
 รู ปแบบที่ 1 สนับสนุนบริ ษทขนาดใหญ่ที่เป็ นรัฐวิสาหกิจ
                           ั

 รู ปแบบที่ 2 สนับสนุนบริ ษทขนาดเล็กลงโดยให้สถาบันวิจย
                           ั                         ั
             สนับสนุนด้านการค้นคว้าวิจย
                                      ั

 รู ปแบบที่ 3 สร้างความเชื่อมโยงกับบริ ษทข้ามชาตินบตั้งแต่
                                        ั         ั
             นโยบายการเปิ ดประตูปี 1978 ใช้นโยบายพัฒนาแบบสามหลัก
ตลาดรถยนต์ ของจีน ปี 2005-2010
    อุตสาหกรรมรถยนต์ของจีนเป็ นการร่ วมทุนกับผูผลิตรถยนต์โลก ทาให้การแข่งขันสู ง
                                                   ้
    ปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพรวมเร็ ว การแข่งขันระหว่างกันทาให้จีนกาลังจะส่ งออกในไม่ชา
                                                                                   ้

Beijing                                                          Jiangsu

Chongqing                                                        Jiangxi

Guangdong                                                        Jilin

Guangxi                                                          Liaoning

Hainan                                                           Shandong

Henan                                                            Shanghai

Hubei                                                            Sichuan

Hunan                                                            Tianjin
การจัดอันดับ HR ของ IMD
                 จานวนแรงงาน การศึกษา                  วิศวกร        การศึกษา
                   ที่มีทกษะ ระดับอุดมศึกษา
                         ั                                           โดยรวม
 อินโดนีเซี ย           55         57                     53            61
 ไทย                    37         37                     46            48
 มาเลเซี ย              20         37                     48            37
 ไต้หวัน                16          5                     20            19
 เกาหลี                 47          4                     54            42
 ญี่ปุ่น                18          2                     28            23
 สิ งคโปร์              9           3                     11            13
 Source: IMD World Competitiveness Yearbook 2006 (cited in Ahuya et.al, 2006)
การลงทุนด้ านการศึกษาของรัฐบาล
Thank you

More Related Content

More from Link Standalone

อบตศพอเพียง เสรี
อบตศพอเพียง เสรีอบตศพอเพียง เสรี
อบตศพอเพียง เสรีLink Standalone
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53Link Standalone
 
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติเศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติLink Standalone
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติLink Standalone
 
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713Link Standalone
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)Link Standalone
 
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบกการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบกLink Standalone
 
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การLink Standalone
 

More from Link Standalone (9)

อบตศพอเพียง เสรี
อบตศพอเพียง เสรีอบตศพอเพียง เสรี
อบตศพอเพียง เสรี
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
 
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติเศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
 
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
พลังทางเศรษฐกิจ(นันทพงศ์) 530713
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
 
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบกการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
 
Rta income dist-5 jul
Rta income dist-5 julRta income dist-5 jul
Rta income dist-5 jul
 
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
2003 การจัดการทรัพยากรในองค์การ
 

Industry11

  • 1. การพัฒนาอุตสาหกรรมเพือการป้ องกันประเทศ ่ ไว จามรมาน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 3. หัวข้ อการบรรยาย ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ระบบเศรษฐกิจไทย การพัฒนาอุตสาหกรรม: มองไปข้างนอก ไม่มองจากภายใน ทฤษฏีการพัฒนาความสามารถของอุตสาหกรรม ความได้เปรี ยบของธุรกิจขนาดใหญ่ การเลือกอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ ความได้เปรี ยบของฐานผลิต ความได้เปรี ยบเชิงสถาบัน บทเรี ยนจากประเทศต่าง ๆ
  • 4. ความสามารถในการแข่ งขัน ความสามารถในการแข่งขัน กาหนดโดยผลผลิต (Productivity) ในการใช้คน ทุน และทรัพยากรธรรมชาติ ผลผลิตจะกาหนดมาตรฐานการครองชีพ (ค่าจ้าง , ผลตอบแทนต่อทุน, ผลตอบแทนต่อทรัพยากรธรรมชาติ) ่ ั • ผลผลิตขึ้นอยูกบมูลค่า (Value) ของผลิตภัณฑ์หรื อบริ การ (เช่น คุณภาพพิเศษ เฉพาะ) และประสิ ทธิภาพ (Efficiency) ในการผลิต • ผลผลิตของธุรกิจท้องถิ่นเป็ นพื้นฐานที่สาคัญของความสามารถในการแข่งขัน ไม่ใช่เพียงแต่การซื้ อไปขายมา • การลดค่าเงิน ไม่ได้ทาให้ประเทศมีความสามารถในการแข่งขันสู งขึ้น ประเทศแข่งขันด้วยการสร้างสภาพแวดล้อมที่ทาให้ธุรกิจสามารถดาเนินงานได้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ั ภาครัฐบาลและภาคเอกชนจะมีบทบาทที่แตกต่างกันแต่ตองสัมพันธ์กนในการสร้าง ้ เศรษฐกิจที่มีประสิ ทธิ ภาพ
  • 5. รายได้ ประชาชาติต่อหัวในเอเชีย (US$) 1990 2005 ญีปุ่น ่ 24,724 35,787 สิงคโปร์ 12,219 26,835 บรูไน 15,049 17,632 เกาหลีใต้ 5,893 16,422 มาเลเซีย 2,432 5,040 ไทย 1,528 2,577 จีน 342 1,703 อินโดนีเซีย 628 1,259 ฟิ ลิปปิ นส์ 725 1,159 เวียดนาม 97 612 ลาว 210 463 กัมพูชา 106 375 พม่ า 68 97
  • 6. ความสามารถการแข่ งขันสู ง หมายถึง ศักยภาพของรายได้ ระยะยาวต่ อประชากร GDP ต่อประชากร สิ งคโปร์ สูง กลาง ไทย ต่า เวียดนาม อัตราการเติบโตสูง แต่รายได้ต่า 2003 ปี ที่มา: Kenan Institute Asia
  • 8. การฟื้ นตัวเศรษฐกิจ: รู ป V อัตราการเติบโต GDP ราย 4 เดือน (%) Sources: ASEAN Finance and Macro-economic Surveillance Unit Database; national statistical offices.
  • 9. อัตราการเติบโต GDP ของกลุ่มประเทศอาเซียน (%) 14 12 10 8 Lao Cambodia 6 Vietnam Myanmar Indonesia Thailand 4 Singapor Malaysi e Philippines a 2 Brunei 0 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 -2 -4 Source: IMF, World Economic Outlook, October 2009.
  • 11. นโยบายเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของไทย วิกฤตเศรษฐกิจ •ผ่อนปรนกฎและข้อบังคับ •สู่ ความเป็ นสากล •ให้อิสระตามกลไก •เพิมผลตอบแทน •ผ่อนปรนกฎ ข้อบังคับ ่ •สนับสนุน •ทดแทน การส่ งออก •สนับสนุน การนาเข้า ปรับเปลี่ยนวิธีการวัด การลงทุน ลดการรวมศูนย์ ให้อิสระตามกลไก ผ่อนปรนกฎและข้อบังคับ 1954 1958 - 1971 1972-1992 1993 - 1996 1997 - 2000
  • 12. การลงทุนในประเทศไทย ล้ านล้ านบาท „ขับเคลื่อนการลงทุน/ระบบเศรษฐกิจเปิ ด 5 „แผนสนับสนุนการลงทุนไม่ชดเจน ั GDP „เงินทุนไหลเข้าออกอย่างอิสระ 4 „อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงาน „ ผลิตเกินกาลังการผลิต „ อุตสาหกรรมทดแทนการนาเข้า „การลงทุนลดลง „ขาดความสามารถใน 3 การแข่งขัน „ควบคุมกระแสทุนไหลเข้าออก 2 „ควบคุมการลงทุนจากต่างประเทศ 1 0 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 00 การลงทุนภาคเอกชน การลงทุนภาครัฐ
  • 13. โครงสร้ างเศรษฐกิจ 2 ชั้นเชิงซ้ อนของไทยปัจจุบัน โครงสร้างอุตสาหกรรมสมัยใหม่ โครงสร้รางอุตสาหกรรมภาคชนบท และการลงทุนจากต่างประเทศ และธุรกิจขนาดย่อมทัวประเทศ ่ ”ทันสมัยและส่งออก” ”ธุรกิจดั้งเดิม, ภาคเกษตร, ขนาดย่อม” ใช้ทุนด้านเทคโนโลยี ใช้ทุนน้อย เทคโนโลยีต่า ใช้แรงงานในประเทศราคาถูก มุ่งผลกาไร (ค่าจ้าง = MP) ใช้แรงงานราคาถูก อาหารราคาถูก ั แรงงานเหลือให้กบ อุตสาหกรรมทันสมัย เงื่อนไขของสังคม: ภาคชนบทมีแรงงานมาก ภาคชนบทแบ่งรายได้ระหว่างกัน ที่มา: W. Arthur Lewis, 1958 อุตสาหรรมสมัยใหม่สามารถที่จะจ้างแรงงานราคาถูกได้
  • 14. นโยบายเศรษฐกิจใหม่ : สร้ างสมดุล แนวคิดเดิม แนวคิดใหม่ เน้นการส่ งออก ระบบเศรษฐกิจยังยืน ่ „ ส่ งออกสู งขึ้น นาเข้าน้อยลง การค้าระหว่างประเทศ การค้าภายในประเทศ สมดุลระหว่างท้องถิ่นกับโลกาภิวตน์ ั
  • 15. นโยบายพัฒนา 2 กระแส: เชื่อมท้ องถินกับโลก ่ ความเชี่ยวชาญเฉพาะ ภายในชุมชน การค้ า การค้ า การค้ า ความพอเพียง ระหว่ างชุมชน ภายในประเทศ ระหว่ างประเทศ ส่ วนเกิน ความเข้ มแข็งของ ความสามารถเชิงแข่ งขัน สังคม ระหว่ างประเทศ • ความพอเพียง • ประสิ ทธิภาพ • การสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน • ต้นทุน • เอกลักษณ์วฒนธรรม ั • ผลิตภาพ • คุณค่าแห่งครอบครัว • นวัตกรรม
  • 17. นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจ 1) การเจริ ญเติบโตจากการใช้ทรัพยากร 2) กลไกการออมและการลงทุน 3) การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ 4) การพัฒนาเทโนโลยี 5) นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจ 6) นโยบายการส่ งเสริ มการส่ งออกกับนโยบายการส่ งเสริ มการผลิต ทดแทนการนาเข้า 7) นโยบายอัตราการแลกเปลี่ยนสิ นค้า 8) นโยบายเศรษฐกิจมหาภาคเพื่อสร้างสถีรภาพ 9) นโยบายอุตสาหกรรม
  • 18. บทบาทของรัฐบาลในการพัฒนาเศรษฐกิจ สร้างสถียรภาพทางการเมือง (Political Stability) และการบูรณาการของ สังคม (Social Integration) ขั้นตอนการพัฒนา 1. สร้าง Competitive market economy ด้วยการสนับสนุนและพัฒนา Cluster 2. บูรณการเศรษฐกิจ ให้เข้ากับเศรษฐกิจโลก • ปรับปรุ งการจัดหาคุณภาพและประสิ ทธิภาพของปัจจัยการ ผลิต โครงสร้างพื้นฐาน และสถาบัน • กาหนดกฎเกณฑ์และส่ งเสริ มการแข่งขันเพื่อเพิ่มผลผลิต 3. ปรับผลกระทบในเชิงลบเนื่องจากการเติบโตทางเศรษฐกิจ • ลดช่องว่างของรายได้ การกระจุกตัว มลภาวะ การทุจริ ต เป็ น ต้น
  • 19. การเลือกอุตสาหกรรมกลยุทธ์ เพือการเติบโตของเศรษฐกิจ ่ ั • เป็ นอุตสาหกรรมที่สร้างอัตราการเติบโตให้กบประเทศในลักษณะ Increasing returns • เป็ นอุตสาหกรรมส่ งออกที่มีศกยภาพต่ออนาคตของประเทศ และสามารถเข้าสู่ ั ตลาดขนาดใหญ่ได้ • เป็ นอุตสาหกรรมที่ทาให้ประเทศมีการเติบโตแบบสมดุล • เป็ นอุตสาหกรรมที่สามารถระดมสร้างภาคการผลิตอื่น โดย • รัฐบาลจะต้องเลือกลงทุนในภาคการผลิตที่สามารถสร้างผลกระทบเชิงบวกต่อ ภาคการผลิตอื่น ๆ มากที่สุดก่อนเสมอ • การเลือกภาคการผลิตดังกล่าวควรที่จะกระตุนความต้องการของภาคการผลิตที่ ้ อยูตนน้ า แม้วาจะไม่ค่อยมีกาไรมากแต่มีความสาคัญต่อภาคการผลิตอื่น ่ ้ ่
  • 20. Structural Transformation in East Asia ประเทศ 3 2 Latest comers Latecomers ASEAN4 NIEs Japan 1 Digital Garment Steel Popular TV Video Camera เวลา
  • 21. เอเชียก่อนวิกฤตเศรษฐกิจ: ทฤษฏีห่านบิน ก่อนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ทฤษฏีห่านบินทะยานทัว ่ เอเชียและประเทศริ มฝั่ง มหาสมุทรแปซิฟิค ญี่ปุ่นเป็ นประเทศผูนาฝูงห่ าน ้ บิน ตามติดด้วยประเทศต่าง ๆ
  • 22. เอเชียหลังวิกฤตเศรษฐกิจ: การรวมกลุ่มตามภูมภาค ิ หลังวิกฤต เกิดการรวมกลุ่มประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ SAARC จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ASEAN
  • 26. “To live well, a nation must produce well.” Made in America, Regaining the Productive Edge, The MIT press 1989 26
  • 27. ดัชนีชี้วดความสามารถของอตสาหกรรม ั ุ Competitiveness Industrial Performance Index (CIP) การลงทุนจากต่ างประเทศ ทักษะ เงินลงทุนจากต่างประเทศ ความรู้ ความชานาญด้านเทคนิค ต่อคน (ต่อ 1000 คน) ความสามารถ ของอุตสาหกรรม เทคโนโลยีจากต่ างประเทศ การลงทุนด้ านเทคโนโลยี เงินลงทุนด้านเทคโนโลยีจาก เงินสนับสนุนการวิจยและพัฒนา ั ต่างประเทศต่อคน (R&D) ต่อคน โครงสร้ างพืนฐาน ้ เช่น โทรศัพท์ (ต่อ 1000 คน)
  • 30. ขั้นตอนการพัฒนาความสามารถในการแข่ งขัน การกระจุกตัว ของนวัตกรรม การกระจุกตัว ของความรู้ การกระจุกตัว การกระจุกตัว ของความมั่นคั่ง การกระจุกตัวของ ของการลงทุน ปัจจัยการผลิต ลดลง
  • 31. ความสามารถด้ านเทคโนโลยีของเอเชีย ส่งออกสิ นค้าไฮเทค ค่าลิขสิ ทธิ์/สิ ทธิบตร ั จานวน จานวนช่าง R&D/GNI การจ่ายเงิน นักวิทยาศาสตร์ เทคนิ ค มูลค่า (ล้าน สัดส่วนมูลค่า มูลค่า (ล้าน (%) (ล้านเหรี ยญ (ต่อ 1 แสนคน) (ต่อ 1 แสนคน) เหรี ยญสรอ.) สิ นค้าโรงงาน เหรี ยญสรอ.) สรอ.) 1990-2000 1990-2001 1989-2000 2001 2001 2001 2001 จีน 545 187 1.00 49,427 20 110 1,938 ญี่ปุ่น 5,093 667 2.98 99,398 26 10,462 11,099 เกาหลีก 2,319 564 2.68 40,427 29 688 3.221 สิ งคโปร์ 4,140 335 1.88 62,572 60 - - ฮ่องกง 93 100 0.44 3,716 20 107 461 สิ งคโปร์ - - - 4,473 13 - - ฟิ ลิปปิ นส์ 156 22 - 21,032 70 1 158 ไทย 74 74 0.10 15,286 31 9 823 มาเลเซีย 160 45 0.40 40,939 57 21 751 เวียดนาม 274 - - - - - - อเมริ กา 4,099 - 2.69 178,906 32 38,660 16,360 โลก - - 2.38 - 23 72,356 73,148 Source: World Bank, World Development Indicators, 2001, 2002, 2003
  • 32. โครงสร้ างอุตสาหกรรมของเอเชีย (%) โครงสร้างอุตสาหกรรม มูลค่าเพิมของ ่ FDI/การลงทุน R&D/GDP อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม ทั้งประเทศ หมายเหตุ 1998-00 ไฮเทค โลเทค ไฮเทค (2000) ญี่ปุ่น 13.7 30.2 36.8 2.95 1.10 สัดส่ วนของ R&D สู ง เกาหลี 13.8 28.0 47.3 2.56 7.08 สัดส่ วนของ R&D สู ง จีน 9.9 31.6 23.3 0.84 9.54 ไต้หวัน n.a. n.a n.a. 2.02 11.30 สัดส่ วนของ R&D สู ง สัดส่ วนของ R&D สู ง และ สิ งคโปร์ 46.3 8.5 36.7 1.85 22.13 พึ่งพาต่อ FDI สู ง มาเลเซีย 41.2 24.5 21.5 0.43 7.24 ไทย 10.2 46.2 26.3 0.19 12.16 พึ่งพา FDI สู ง ฟิ ลิปปิ นส์ 18.7 40.2 37.2 0.08 15.21 พึ่งพา FDI สู ง อินโดนีเซีย 5.8 57.6 37.8 0.09 -16.62 Source: Y.S. Hong
  • 33. ปัจจัยการเติบโตและเงื่อนไขการใช้ ประโยชน์ ปัจจัยการเติบโต เงื่อนไขการใช้ ประโยชน์ จากปัจจัยการเติบโต • การศึกษา • การเปิ ดตลาด • วิจยและพัฒนา ั ่ • ความยืดหยุนของโครงสร้างและกฎระเบียบ • นวัตกรรม • ผลตอบแทนของ • เงินทุน • ความสาเร็ จของนวัตกรรม • ความเสี่ ยงของการลงทุนภาคเอกชน • นโยบายเศรษฐกิจมหภาค
  • 34. โมเดลการพัฒนาเศรษฐกิจสมัยใหม่ แรงงาน การเติบโตทางเศรษฐกิจ การเติบโตผลิตภาพ การศึกษา Know-How อัตราส่ งออกสู งขึน ้ วิจัย ความรู้ อัตราการจ้ างงานสู งขึน ้ เทคโนโลยี นวัตกรรม การพัฒนาภูมภาค ิ การเติบโตความอยู่ดี เงินทุน การเติบโตของเศรษฐกิจสมัยใหม่ ขึ้นกับการศึกษา การวิจยและระดับเทคโนโลยี ั
  • 35. ระบบนวัตกรรมอุตสาหกรรมและการเรียนรู้ อุตสาหกรรมโลก อุตสาหกรรมในคลัสเตอร์ ท้องถิ่น ธรรมาภิบาลของอุตสาหกรรม กรอบและเงื่อนไข
  • 36. ระบบธรรมาภิบาลภาคอุตสาหกรรม ยุทธศาสตร์แห่งชาติ การติดตาม ยุทธศาสตร์ความสามารถ ในการแข่ง ขันของภูมภาค ิ ค ะกรรมการ ความสามารถในการแข่งขัน
  • 37. หน้ าทีหลักของธรรมาภิบาลอุตสาหกรรม ่ ปริมา ความสามารถในการแข่งขันสู งขึ้น ปัญหา การศึกษา นโยบาย การปฏิบัติ
  • 38. รู ปแบบการพัฒนาภูมภาค ิ NIS: รัฐบาลกลาง วิสาหกิจและธุรกิจใหม่ RIS เพิ่มทักษะ/ความรู้ เชิงนวัตกรรม รัฐบาล มหาวิทยาลัย ท้องถิ่น ท้องถิ่น ปรับปรุ งธุรกิจให้ดีข้ ึน อุตสาหกรรม ท้องถิ่น UIR เพิ่ม/สร้าง การพัฒนาภูมิภาค ทรัพยากรมนุษย์ การวิจยร่ วมอุตสาหกรรมกับมหาวิทยาลัย ั ยังยืนตามแบบฉบับท้องถิ่น ่ (ปัจจัยหลักของ RIS)
  • 39. ความท้ าทายของประเทศไทยต่ ออนาคต ท่ ามกลางการเปลียนแปลง ่ ประเทศไทย อาจจะต้ องมองไปข้ างนอก ไม่ เพียงแต่ มองด้ านภายในเท่ านั้น
  • 40. Road Map การลงทุนและการค้ าระหว่ างประเทศ ระดับที่ 1 โลกเดียวกัน WTO ระบบการค้าหนึ่งเดียว China USA ระดับที่ 2 ASEAN AEC AEC India Korea Japan China ระดับที่ 3 USA คู่ FTA ไทย India Korea Japan
  • 41. การแข่ งขันยุคใหม่ ของอาเซียน อาเซียนในฐานะศูนย์ กลางการผลิต ความร่ วมมือเชิงยุทธศาสตร์ คลัสเตอร์ อุตสาหกรรมอาเซียน ท่องเที่ยวและการบิน ยาง แฟชั่น (เพชร สิ่งทอ) ยานยนต์ ภาคบริการ อาหาร (ครัวของโลก) การศึกษา Logistics/ขนส่ง ปาไม้ เกษตรและประมง การเงิน ภาคการผลิต ICT และสุขภาพ พลังงาน อิเล็คทรอนิกส์ ก่อสร้าง ทรัพยากร
  • 42. กลยุทธ์ การแข่ งขัน: ปรับโครงสร้ างอุตสาหกรรม นโยบายเชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ การตลาดเชิงรุ ก ความสามารถ อุตสาหกรรม การแข่ งขันสู ง กลยุทธ์ ศักยภาพสูง เข้ าสู่ ตลาด กลยุทธ์ สร้ าง ความสามารถ ความสามารถ การแข่ งขันต่า กลยุทธ์ เปลียน ่ อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม ศักยภาพต่า
  • 43. The New Competitive Landscape… Cultural Tourism Jewelry: THA,MYN,CAM Land Transportation: THA,MYN, LAOS,CAM,VIET,MAL,SING Food & Restaurant: THA Textile Automotives Rubber/ Leisure Tourism Aviation/ Education/ Healthcare
  • 45.
  • 46. ผลิตภาพปี 2008: ความท้ าทายของอาเซียน ผลผลิตต่ อคน (US$ คงที่ปี 2009) Source: Conference Board and Groningen Growth and Development Centre Total Economy Database, January 2010.
  • 47. ผลิตภาพเปรียบเทียบระหว่างประเทศปี 2008 ผลผลิตต่ อคน (US$ คงที่ปี 2009) Singapore Malaysia Thailand ASEAN Philippines Indonesia Viet Nam Cambodia 0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 70,000 80,000 90,000 Source: Conference Board and Groningen Growth and Development Centre Total Economy Database, January 2010.
  • 48. ผลิตภาพทีสูงขึน นาไปสู่ ค่าแรงทีสูงขึนและสภาพการทางานที่ดขน ่ ้ ่ ้ ี ึ้ ค่าเฉลี่ยผลิตภาพและค่าจ้างที่แท้จริ ง 14 12 Productivity Wages 10 8 6 4 2 0 Indonesia Singapore Thailand China India Sources: ILO: Global Wage Report 2008/09; Conference Board and Groningen Growth and Development Centre Total Economy Database, January 2010.
  • 49. การเติบโตทางเศรษฐกิจ: อาเซียน จีน และอินเดีย 20 15 10 China India Indonesia 5 Percent ASEAN-5 0 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 00 01 02 03 04 05 06 07 08 19 19 19 19 19 19 19 19 19 19 20 20 20 20 20 20 20 20 20 -5 -10 -15 Source: IMF
  • 50. โครงสร้ าง GDP: อาเซียน จีน และอินเดีย 120 100 8.0 1.1 2.8 19.1 41.1 23.1 39.7 15.2 28.8 27.8 80 39.8 9.7 44.4 6.2 30.9 19.1 8.4 60 11.6 11.9 Percent 12.5 12.9 10.7 13.5 40 67.3 71.1 20.8 60.9 54.7 54.8 41.0 45.2 20 36.1 20.1 0 -1.8 -5.3 -16.5 -20 Brunai China Singapore Malaysia India Thailand Indonesia Vietnam Philipina Private consumption Government consumption Gross domestic capital formation Net Export Source: ADB
  • 51. การค้ าระหว่ างอาเซียนกับจีน 120 100 Import 80 60 Billion USD Export 40 20 0 -0.9 -1.7 -4.3 -2.0 -2.7 -4.0 -2.9 -3.7 -1.5 -6.4 -8.9 -9.9 -20 -15.2 Balance of trade -21.4 -40 1995 1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 Source: ASEAN Statistical Yearbook, 2008
  • 52. การค้ าระหว่ างอาเซียนกับอินเดีย 35 30 25 Export Billion USD 20 Import 15 10 Balance of trade 5 0 95 96 97 98 99 00 01 02 03 04 05 06 07 08 19 19 19 19 19 20 20 20 20 20 20 20 20 20 Source: ASEAN Statistical Yearbook, 2008
  • 55. ส่ วนแบ่ งตลาดสิ นค้ าเกษตรของอาเซียนในสหภาพยุโรป
  • 56. ส่ วนแบ่ งตลาดสิ นค้ าอุตสาหกรรมและประมงของอาเซียนในสหภาพยุโรป
  • 58. ความได้ เปรียบในการแข่ งขัน 3 รู ปแบบ Industry-specific determinants: ความได้ เปรียบของอุตสาหกรรม สร้างความเชื่อมโยง การลงทุนโดยตรง ธุรกิจท้องถิ่น จากต่างประเทศ พัฒนาความเชื่อมโยง
  • 60. ยอดขายของบริษัทข้ ามชาติเมื่อเปรียบเทียบ กับขนาดเศรษฐกิจของประเทศ (2004) Sales (Billions US Dollars) GDP (Billions US Dollars) Wal-Mart Stores 258.7 Malaysia 229.0 BP 232.6 Singapore 120.0 Exxon Mobil 222.9 Vietnam 227 .0 Royal Dutch’ Shell 201.9 Bangladesh 275.0 General Motors 183.2 Thailand 524.0 Daimler Chrysler 166.6 Laos 11.28 Ford Motor Co. 164.2 Jordan 25.5 Toyota Motor Co. 156.5 Bhutan 2.9 Mitsubishi 137.3 Sri Lanka 80.6 General Electric 134.2 Nepal 39.5 © 2006 The McGraw-Hill Companies, Inc. All rights reserved.
  • 61. สถานะของบริษัท ประเทศไทย • Source : Boston Consulting Group Challenger 100 ประเทศไทยมี 2 บริ ษท ที่ติดอันดับ คือ บริ ษท เจริ ญโภคภัณฑ ั ั อาหาร จากัด (มหาชน) บริ ษท Thai Union Frozen Products ั หมายเหตุ: จาก 100 บริ ษท ทัวโลก จีน ‟ 40 บริ ษท (40%) อินเดีย ‟ 20 บริ ษท (20%) ั ่ ั ั •Source: Forbes 2000 • ลาดับ244 - บริ ษท ปตท. จํากัด (มหาชน) ั • ลาดับ858 – ธนาคารกรุงเทพ • ลาดับ 887 - ธนาคารไทยพาณิ ชย • ลาดับ955 - เครื อซี เมนต (SCG) ไทย • ลาดับ1012 – ธนาคารกสิ กรไทย • ลาดับ1260 - Advance Info Service • ลาดับ1276 - ธนาคารกรุงไทย • ลาดับ1825 - บริ ษทไทยออยลากัด ลาดับThai Oil 1841 - บมจ. ไทยเบฟเวอเรจ ั จํ • ลาดับ 1892 – ธนาคารกรุงศรี อยุธยา
  • 62. บริษัทข้ ามชาติของโลก ประเทศ บริ ษทข้ามชาติ ั Source: Global Inc: An Atlas of the Multinational Corporation, 2003, p. 2.
  • 63. บริษทข้ ามชาติเอเชียที่อยู่ใน 50 ลาดับแรกของโลกตามยอดขาย ั 1/8 Toyota Motor Japan 185,805 2/23 Sinopec China 98,785 3/24 Nippon Telegraph & Telephone Japan 94,869 4/31 Honda Motor Japan 87,511 5/32 State Grid China 86,984 6/38 Hitachi Japan 83,596 7/39 China National Petroleum China 83,557 8/41 Nissan Motor Japan 83,274 9/46 Samsung Electronics South Korea 78,717 10/47 Matsushita Electric Industrial Japan 78,558 265/373 PTT Thailad 23,109
  • 64. บริษัทขนาดใหญ่ ของประเทศไทย บริ ษท ปตท. จากัด (มหาชน) ั 660,097.00 บริ ษท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด ั 200,813.00 บริ ษท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) ั 179,117.00 บริ ษท อุตสาหกรรมปิ โตรเคมีกลไทย จากัด (มหาชน) ั ั 167,374.00 บริ ษท การบินไทย จากัด (มหาชน) ั 153,717.00 บริ ษท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ั 150,122.00 บริ ษทโรงกลันน้ ามันระยอง จากัด (มหาชน) ั ่ 117,932.00 บริ ษท สตาร์ ปิ โตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จากัด ั 120,297.00 บริ ษท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จากัด (มหาชน) ั 80,990.70 บริ ษท เชลล์แห่งประเทศไทย จากัด ั 102,188.00 บริ ษท ตรี เพชรอีซูซุเซลส์ จากัด ั 97,136.60 บริ ษท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จากัด ั 85,515.60 บริ ษท บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) ั 79,206.60 บริ ษท ฮิตาชิ โกลบอล สตอเรจ เทคโนโลยีส์ (ประเทศไทย) จากัด ั 78,207.20 บริ ษท เอก-ชัย ดีสทริ บิวชัน ซิสเทม จากัด ั ่ 76,202.50 บริ ษท ดิจิตอล โฟน จากัด ั 69,661.00 บริ ษท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย จากัด ั 67,438.90 บริ ษท เอเชี่ยนฮอนด้ามอเตอร์ จากัด ั 61,680.40 บริ ษท ไทยฮอนด้า แมนูแฟคเจอริ่ ง จากัด ั 61,462.30 บริ ษท ซิเลซติกา (ประเทศไทย) จากัด ั 60,412.00
  • 65. บริษ ัทขนาดใหญ่ของประเทศไทย บริ ษท ปตท. จากัด (มหาชน) ั 660,097.00 บริ ษท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด ั 200,813.00 บริ ษท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) ั 179,117.00 บริ ษท อุตสาหกรรมปิ โตรเคมีกลไทย จากัด (มหาชน) ั ั 167,374.00 บริ ษท การบินไทย จากัด (มหาชน) ั 153,717.00 บริ ษท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ั 150,122.00 บริ ษทโรงกลันน้ ามันระยอง จากัด (มหาชน) ั ่ 117,932.00 บริ ษท สตาร์ ปิ โตรเลียม รี ไฟน์นิ่ง จากัด ั 120,297.00 บริ ษท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จากัด (มหาชน) ั 80,990.70 บริ ษท เชลล์แห่งประเทศไทย จากัด ั 102,188.00 บริ ษท ตรี เพชรอีซูซุเซลส์ จากัด ั 97,136.60 บริ ษท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จากัด ั 85,515.60 บริ ษท บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) ั 79,206.60 บริ ษท ฮิตาชิ โกลบอล สตอเรจ เทคโนโลยีส์ (ประเทศไทย) จากัด ั 78,207.20 บริ ษท เอก-ชัย ดีสทริ บิวชัน ซิสเทม จากัด ั ่ 76,202.50 บริ ษท ดิจิตอล โฟน จากัด ั 69,661.00 บริ ษท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย จากัด ั 67,438.90 บริ ษท เอเชี่ยนฮอนด้ามอเตอร์ จากัด ั 61,680.40 บริ ษท ไทยฮอนด้า แมนูแฟคเจอริ่ ง จากัด ั 61,462.30 บริ ษท ซิเลซติกา (ประเทศไทย) จากัด ั 60,412.00
  • 68. อุตสาหกรรมเป้ าหมาย • ยานยนต์และชิ้นส่ วน (ดีทรอยซ์แห่งเอเชีย) • เกษตร (ครัวของโลก) • แฟชัน เช่น อัญมณี เครื่ องหนัง ไหมไทย ่ • บริ การที่เพิมมูลค่า เช่น สุ ขภาพ สปา เป็ นต้น ่ • อิเล็คทรอนิกส์และ ICT • พลังงานและพลังงานทดแทน
  • 69. ความสามารถในการแข่ งขันของอุตสาหกรรมไทย ระดับความน่าสนใจของอุตสาหกรรม • Foods • Leather สู ง Cluster I • Garment • Electronics • Jewelry • Auto • Rubber • Plastic • Wood Products • Ceramics & Glass • Pulp & paper • Chemicals Cluster II •Metals •Petrochemicals •Machinery Cluster III ต่า สู ง
  • 70. ความสามารถในการแข่ งขันของภาคบริการไทย ระดับความน่าสนใจของอุตสาหกรรม • Construction & • Business Services สู ง Engineering • Communications • Education • Environmental • Health & Social • Tourism &Travel • Distribution • Recreation, Culture, • Financial Sporting • Transport ต่า สู ง
  • 72.
  • 73.
  • 74.
  • 75.
  • 76.
  • 77.
  • 78.
  • 80. EAST ASIA INDUSTRIAL CORRIDOR INITIATIVE Delhi North-South Economic Corridor East-West Economic Corridor Mumbai Southern Economic Corridor Mekong-India Industrial Corridor Sea Economic Corridor
  • 81. นิคมอุตสาหกรรมในประเทศไทย I-EA-T Owned 10 I.E. Joint cooperation 21 I.E. Lampoon Khonkaen Northern Region I.E. Khone Kean I.E. (Mini Phichit Factory) Phichit I.E. Chachoengsao Sara Buri Kaeng Khoi I.E. Wel Grow I.E. Nong Khae I.E. Gate Way I.E. Ayuthaya Samutprakarn Hi-Tech I.E. Bang Poo I.E. Bang Pa-In I.E. Bang Phlee I.E. Saharattananakorn I.E. Chonburi Bangkok Bo Win I.E. Bang Chan I.E. Lat Krabang I.E. Laem Chabang I.E. Gemopolis I.E. Amata Nakorn I.E. Ratchaburi Pin Tong I.E. Ratchaburi I.E. Rayong Samut Sakhon Map Ta Phut I.E. Samut Sakhon I.E. Eastern I.E. Sinsakhon Printing City I.E. Padaeng I.E. Song Khla Southern (Song Khla) I.E. Eastern Sea Board I.E. Pattani Amata City I.E. Halal Food (Pattani) I.E. TS 21 I.E. Asia I.E. Investment Capital = 35,000 Million US$. Industrial Estate Area Employment = 400,000 Persons Total area 32,264 Acres Factory = 2,800 Factories Available area 7,204 Acres
  • 83. สภาพแวดล้อมการดาเนินธุรกิจของประเทศไทย + การลงทุนจากต่ างประเทศทาให้ มีการแข่ งขันมากขึน ้ ปริบทสาหรับ ‟ ธุ รกิจส่ วนใหญ่แข่งขันกันโดยใช้ตนทุนปั จจัยผลิตต่าและลงทุน ้ กลยุทธ์ ธุรกิจ เพียงเล็กน้อยในการเพิ่มความสามารถ และการแข่ งขัน ‟ มีโครงสร้างภาษีที่สูงและซับซ้อน ตลอดจนกฎหมายส่ งเสริ มการ แข่งขันไม่ได้ส่งเสริ มการแข่งขัน ั ‟ ระบบราชการและการคอร์ รัปชันสร้างต้นทุนให้กบธุ รกิจ ่ เงือนไขของปัจจัย ่ เงือนไขอุปสงค์ ่ การผลิต + ประเทศไทยอุดมสมบูรณ์ดวยสัตว์ป่า ภูมิทศน์ และ ้ ั ‟ ความต้องการภายในของไทยไม่ค่อยพิถีพิถน ั ทรัพยากรธรรมชาติ และไม่ได้นาสมัย + โครงสร้างพื้นฐานทางสังคมโดยเฉพาะถนนดี + ในตลาดรถปิ คอัพประเทศไทยได้พฒนาตลาดนี้ ั ‟ โครงสร้างพื้นฐานทางสังคมในกรุ งเทพฯ มีการเก็บภาษีมาก มากที่สุดในโลก เกินไป อุตสาหกรรม ‟ ระดับของทักษะของคนงานไทยต่า และการศึกษาไม่ได้ สนับสนุน สร้างคนตามความต้องการของบริ ษท ั ‟ เครื อข่ายการสื่ อสารแพงและมีนอยนอกกรุ งเทพฯ ้ ‟ ส่ วนใหญ่แหล่งผลิต clusters มักจะเป็ นแหล่งผลิตที่ใช้ แรงงานเข้มข้น ‟ ขาดการพัฒนาตลาดการเงินให้พอเพียง ่ ้ ‟ แหล่งผลิต Cluster มีอยูบางแต่เป็ นการดาเนิ นงานเพียง ‟ ระดับความสามารถทางเทคโนโลยีในประเทศต่า เพื่อการเจรจาต่อรอง
  • 84. บทบาทของนโยบายรัฐบาลต่ อสภาพแวดล้ อมธุรกิจ รัฐบาล ปริบทสาหรับ กลยุทธ์ ธุรกิจ และการแข่ งขัน เงือนไขของปัจจัย ่ เงือนไขอุปสงค์ ่ การผลิต อุตสาหกรรม สนับสนุน
  • 88. ฐานการผลิตและเครือข่ ายผลิต ฐานผลิต กระจุกตัวและก่อให้เกิดการขยายตัว Silicon Valley เครื อข่ายการผลิต SL การแบ่งงานระหว่างกัน SL PB PB SL PB PB SL PB SL PB: production block SL: service link
  • 89. พลวัตรของเครือข่ ายผลิต การสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่เช่น ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ บริ ษทข้ามชาติแสวงหาตาแหน่งการลงทุน ั เวียดนาม ชิ้นส่ วน การประกอบ วัตถุดิบ จีน การตลาด ไต้หวัน ชิ้นส่ วน ฮ่องกง การวิจย ั ไทย และออกแบบ ซอฟท์แวร์ ญี่ปุ่น อินเดีย
  • 90. โครงการคลัสเตอร์ ของอเมริกา (ERI/McGraw Hill,”America’s Clusters”,1995)
  • 91. โครงการคลัสเตอร์ ของอเมริกา (ERI/McGraw Hill,”America’s Clusters”,1995)
  • 95. TSP เป็ นสถาบันเชื่อมคลัสเตอร์ นวัตกรรม AYUTHAYA AYUTHAYA ROJANA 70 KM. 5 Industrial Park HI-TECH 62 KM. Industrial Estate 4 BANGPA-IN 56 KM. NAVA NAKORN 46 KM. Industrial Estate 3 2 Industrial Promotion Zone อุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย PATHUMTHANI 1 BANGKADI 32 KM. Industrial Promotion Zone BANGKOK
  • 96. อุทยานวิทยาศาสตร์ ในประเทศไทย จานวน 5 แห่ ง • สร้างการเชื่อมต่อระหว่าง มหาวิทยาลัย ห้องปฏิบติการของ ั ภาครัฐ และภาคอุตสาหกรรม • บริ หารความต่อเนื่องของการวิจยั อุทยานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ระหว่างต้นน้ า กลางน้ า และปลายน้ า ปทุมธานี อุทยานวิทยาศาสตร์ เชียงใหม่ • ให้บริ การทั้งแบบ “Hard” และ“Soft” อุทยานวิทยาศาสตร์ ชลบุรี • อานวยความสะดวกในการโอนถ่าย อุทยานวิทยาศาสตร์ ขอนแก่นและ นครราชสี มา พร้อมแหล่งบ่มเพาะ เทคโนโลยีสู่ ภาคอุตสาหกรรม ธุรกิจเทคโนโลยี 4 แห่ง อุทยานวิทยาศาสตร์ สงขลา พร้อม แหล่งบ่มเพาะธุรกิจเทคโนโลยี 4 แห่ง
  • 98. การสร้ างความได้ เปรียบเชิงสถาบัน รัฐบาล กํากับเข้ มงวด สถาบันการเงิน เงินฝาก เงินกู้ จ้ างงาน ภาคประชาชน ภาคธุรกิจ
  • 99. การสร้ างความได้ เปรียบเชิงสถาบัน สถาบันการเงิน เงินฝาก Indirect Finance เงินกู้ ภาคประชาชน ภาคธุรกิจ ลงทุนในหุ้น พันธบัตร Direct Finance Hedge Funds หุ้น ตลาดทุน
  • 100. EPZS: LABOUR AND SOCIAL ISSUES RELATING TO EXPORT PROCESSING ZONES
  • 101. การพัฒนาเขตภูมภาคและประเทศ ิ Seoul Metro-Area Northeast Asian Hub Kangwon Finance, Logistics, Tourism, Health, BT, Animation Electronics, IT, Bio Incheon Seoul Choongcheong Three Free Economic Zones Logistics, Financial Services, etc. Planned Site of New Capital BT, Telecomm equipment, Semiconductor, Display Honam Youngnam Cultural Industry, Bio, Auto Textiles, Electronics, Auto Optical Fiber Cable, achinery Machinery, Petrochemicals, Shipbuilding, NT BusanㆍJinhae Jeju Free International City Gwangyang * 6 Industrial districts for foreign Information, Bio, Tourism companies * 4 Free Trade Zones * 523 Industrial Complexes
  • 102.
  • 103. เขตพัฒนาเศรษฐกิจของจีน Economic Development – Zones Heilongjiang Jiling Liaoning N Bohai Bay Area Hebei (BBA) Xinjiang - Beijing Inner Mongolia Beijing Tianjin - Tianjin - Shijiazhuang Bohai Bay Ningxia Shanxi Shandong - Qingdao Qinghai - Dalian - Xian Henan - Jinan Gansu Jiangsu Tibet Anhui Shanghai Hubei Sichuan Yangtsze River Zhejiang Chongqing Jiangxi Delta (YRD) : Yangtsze River Hunan - Shanghai Guizhou Fujian - Ningbo : Pearl River - Suzhou Taiwan - Wuxi Yunnan Guangdong Pearl River Delta (PRD) Guangxi - Kunshan -Guangzhou - Yantian Hongkong - Nanjing Macau (SAR) - Hangzhou -Dongguan - Zhuhai Hainan (SAR) -Taiping - Hongkong -Shenzheng - Macau
  • 106. บทเรียนจากสิ งคโปร์ สิ งคโปร์ไม่มีท้ งธุรกิจขนาดใหญ่และธุรกิจขนาดกลางย่อม ไม่มีอะไรเลย ไม่มี ั อุตสาหกรรม ในปี 1965 เป็ นเมืองท่าปลอดภาษี โดยเริ่ มชักชวนบริ ษทข้ามชาติ ั เข้ามาลงทุน 1960s: บริ ษทข้ามชาติกลุ่มแรกเข้ามาลงทุน ั 1970s: ไม่สามารถแก้ไขปัญหาการว่างงาน 1980s: พัฒนาและยกระดับเทคโนโลยี ั ส่ งเสริ มให้บริ ษทท้องถิ่นเป็ น suppliers ให้กบ MNCs ั 1990s: สร้างสถาบันวิจยของรัฐ เช่น IME ั 2000s: ใช้กลยุทธ์ Cluster ชักชวนบริ ษทข้ามชาติช้ นดีเข้ามาและสร้าง ั ั ผูประกอบการเชิงเทคโนโลยี เริ่ มประสบความสาเร็ จหลังปี 1980 ้
  • 107. บทเรียนจากจีน รู ปแบบที่ 1 สนับสนุนบริ ษทขนาดใหญ่ที่เป็ นรัฐวิสาหกิจ ั รู ปแบบที่ 2 สนับสนุนบริ ษทขนาดเล็กลงโดยให้สถาบันวิจย ั ั สนับสนุนด้านการค้นคว้าวิจย ั รู ปแบบที่ 3 สร้างความเชื่อมโยงกับบริ ษทข้ามชาตินบตั้งแต่ ั ั นโยบายการเปิ ดประตูปี 1978 ใช้นโยบายพัฒนาแบบสามหลัก
  • 108. ตลาดรถยนต์ ของจีน ปี 2005-2010 อุตสาหกรรมรถยนต์ของจีนเป็ นการร่ วมทุนกับผูผลิตรถยนต์โลก ทาให้การแข่งขันสู ง ้ ปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพรวมเร็ ว การแข่งขันระหว่างกันทาให้จีนกาลังจะส่ งออกในไม่ชา ้ Beijing Jiangsu Chongqing Jiangxi Guangdong Jilin Guangxi Liaoning Hainan Shandong Henan Shanghai Hubei Sichuan Hunan Tianjin
  • 109. การจัดอันดับ HR ของ IMD จานวนแรงงาน การศึกษา วิศวกร การศึกษา ที่มีทกษะ ระดับอุดมศึกษา ั โดยรวม อินโดนีเซี ย 55 57 53 61 ไทย 37 37 46 48 มาเลเซี ย 20 37 48 37 ไต้หวัน 16 5 20 19 เกาหลี 47 4 54 42 ญี่ปุ่น 18 2 28 23 สิ งคโปร์ 9 3 11 13 Source: IMD World Competitiveness Yearbook 2006 (cited in Ahuya et.al, 2006)