SlideShare a Scribd company logo
1 of 88
Download to read offline
พระธรรมศากยวงศ์วิสุทธิ์
รองอธิการบดีวิเทศสัมพันธ์และพันธกิจสากล
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
อุดมธรรม พลังปัญญา : ระดมความคิด ยกระดับการเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาชีวิตและปัญญา
วันพุธที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๕
ปัญญาในวิถีคิดและ
วิถีปฏิบัติของโลกแห่งอนาคต
การศึกษา : ความไม่ยั่งยืนเท่านั้นที่ยั่งยืน
มนุษยชาติในศตวรรษที่ 21 ต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอย่าง
รวดเร็วและต่อเนื่องอย่างที่โลกไม่เคยเผชิญมาก่อน พวกเราไม่
สามารถพยากรณ์โลกในอนาคตในสิบปีข้างหน้าได้อีกต่อไป
แล้วเราควรจะสอนอะไรให้กับเด็กแรกเกิดในยุคปัจจุบันที่จะ
เติบโตเป็นผู้ใหญ่วัยทางานในปี 2600 ที่สิ่งเดียวที่เราสามารถ
มั่นใจได้คือ การที่องค์ความรู้ส่วนใหญ่ในปัจจุบันนั้นจะไม่
สามารถนามาใช้งานได้อีกต่อไป
ทุก ๑ นาที มีสิ่งต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้นในโลกใบนี้มากมาย
มหาศาล มีการถู โพสต์ ปัด
ทวีต กดไลก์ แชร์ ดาวโหลด
คอมเมนต์ ดู คุย ด่า แซว
ฯลฯ
โลกมีการเปลี่ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลาทุกวินาที
Digital World
Disrupted World - VUCA
Volatility Uncertainty Complexity Ambiguity
เปลี่ยนไว ไม่แน่นอน ซับซ้อน คลุมเครือ
SCSC vs VUCA World
สะดวกสบาย (Comfort) ไม่สบาย (Discomfort)
วิธีการ
รับมือ
VUCA
World
VUCA Problems vs Solutions
P S
อนิจจตา (VUCA World)
อนิจจตา เป็นอนิจจังด้วยเหตุผล ๔ อย่าง คือ (วิสุทฺธิ. 3/246 ฯลฯ)
๑. อุปฺปาทวยปฺปวตฺติโต เพราะเป็นไปโดยการเกิด และการสลาย คือ เกิดดับๆ มีแล้วก็
ไม่มี
๒. วิปริณามโต เพราะเป็นของแปรปรวน คือ เปลี่ยนแปลงแปรสภาพไปเรื่อย ๆ
๓. ตาวกาลิกโต เพราะเป็นของชั่วคราว อยู่ได้ชั่วขณะ ๆ
๔. นิจฺจปฏิกฺเขปโต เพราะแย้งต่อความเที่ยง คือ สภาวะของมันที่เป็นสิ่งไม่เที่ยงนั้น
ขัดกันอยู่เองในตัวกับความเที่ยง หรือโดยสภาวะของมันเองก็ปฏิเสธความเที่ยงอยู่ใน
ตัว เมื่อมองดูรู้เห็นตรงตามสภาวะของมันแล้ว ก็จะหาไม่พบความเที่ยงเลย ถึง
คนจะพยายามมองให้เห็นเป็นเที่ยงมันก็ไม่ยอมเที่ยงตามที่คนอยาก จึงเรียกว่ามัน
ปฏิเสธความเที่ยง
Disrupted World – VUCA - อนิจจตา
อุปฺปาทวยปฺปวตฺติโต
เกิดมีแล้วไม่มี
คือเกิดมาแล้วก็ดับไป
วิปริณามโต
แปรปรวน
เปลี่ยนแปลงเรื่อยไป
ตาวกาลิกโต
เป็นสิ่งชั่วคราว อยู่ได้
ชั่วขณะ
นิจฺจปฏิกฺเขปโต
แย้งต่อนิจจะ คือตรง
ข้ามกับนิจจะ
Volatility Uncertainty Complexity Ambiguity
เปลี่ยนไว ไม่แน่นอน ซับซ้อน คลุมเครือ
นิปกปัญญา ปัญญาเป็นเครื่องปกป้องรักษาตน
อายโกศล
•ความฉลาดรู้ในทางเจริญ
อปายโกศล
•ความฉลาดรู้ในทางเสื่อม
อุปายโกศล
•ความฉลาดรู้ในอุบาย
ศึกษาปัญญา
สุตามยปัญญา
• ปัญญาเกิดจาการฟังการเรียน
จินตามยปัญญา
• ปัญญาเกิดจากการคิด
ภาวนามยปัญญา
• ปัญญาเกิดจากภาวนา
สุ.
จิ.
ภา.
การ “ศึกษา” ซึ่งแปลว่า “การเล่าเรียนฝึกฝนอบรม” หรือ “การถือเอาวิชา” มี
เป้าหมายเพื่อ
๑. ให้ความรู้ความสามารถในการประกอบการงาน และในการสังคมเป็นต้นได้เป็น
อย่างดี
๒. เพื่อให้ความเป็นคนโดยสมบูรณ์
วิสัยทัศน์การจัด
การศึกษา
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๖
การจัดการศึกษา
“การเรียนหนังสือนั้นไม่ใช่ตัว
ศึกษา เป็นแต่เพียงเอกเทศของ
ศึกษา การฝึกหัดให้มีความคิด
สามารถประกอบกิจนั้น ๆ ได้ นั่น
แลเป็นตัวศึกษาโดยตรง”
สีลสิกขา ศึกษาศีล พัฒนาสังคม
จิตตสิกขา ศึกษาจิต พัฒนาตน
ปัญญาสิกขา ศึกษาปัญญา พัฒนาสติปัญญา
ศีล
Social
Education
สมาธิ
Mental
Education
ปัญญา
Intellectual
Education
Learn – Unlearn – Relearn แนวทางก้าวข้าม Disruption
มนุษย์ = กระบวนทัศน์แห่งปัญญา
วิธีการแสวงหาความจริงของพระพุทธเจ้า
นักปรัชญา
อะไรมี
อะไรจริง
เชื่อ
พระพุทธเจ้า เห็น
ปฏิบัติ
เข้าใจ
อะไรมี
อะไรจริง
คิด
อนิจจลักษณะ มี ๑๐ ประการ
อนิจจโต ความไม่เที่ยง
อธุวโต ความไม่ยั่งยืน
อสารโต ความไม่มีแก่นสาร
จวโต ความเป็นของเคลื่อนไหว
ปุโลกโต ความเป็นของแตกดับ
๑
๒
๓
๔
๕
วิปริณามโต ความเปลี่ยนแปลงกลับกลอก
มรณธัมมโต ความเป็นธรรมเพื่อความตาย
วิภาวโต ความเป็นของฉิบหาย
สังขโต ความต้องปรุงแต่งเนืองๆ
ปภังกุโต ความต้องแตกกระจัดกระจาย
๑๐
๙
๘
๗
๖
หลักการพัฒนาปัญญา โยนิโสมนสิการ
1. อุปายมนสิการ (คิดถูกวิธี)
Methodological thinking
2. ปถมนสิการ (คิดมีระเบียบ)
Systematic thinking
3. การณมนสิการ (คิดมีเหตุผล)
Rational thinking
4. อุปปาทมนสิการ (คิดเร้ากุศล)
Creative thinking : วิสุทธิมรรค
คิดๆ
โยนิโสมนสิการ
1) คิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย
2) คิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ
3) คิดแบบสามัญลักษณ์
4) คิดแบบอริยสัจ (คิดแก้ปัญหา)
5) คิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์
6) คิดแบบเห็นคุณโทษและทางออก
7) คิดแบบรู้คุณค่าแท้-คุณค่าเทียม
8) คิดแบบเร้าคุณธรรม
9) คิดแบบอยู่กับปัจจุบัน
10) คิดแบบวิภัชชวาท
การพิจารณาอนิจจลักษณะโดยอาการ ๑๒ คือ
๑. อนิจฺจนฺติกโต พิจารณาโดยอาการอนไม่เที่ยงเป็นที่สุด
๒. ตาวกาลิกโต พิจารณาโดยอาการมีความเป็นไปชั่วคราว (โดยอาการเหมือนด้วยของยืมเขา
มา)
๓. อุปฺปาทวยปริจฺฉินฺนโต พิจารณาโดยอาการมีอันกาหนดซึ่งกิริยาอันบังเกิดขึ้นแล้วและเสื่อม
ไป
๔. ปโลกโต พิจารณาโดยอาการมีความแตกทาลายไป (พิจารณาให้เห็นสังขารธรรมนั้น มี
สภาวะขาดเด็ดกระเด็นออกด้วยอานาจพยาธิทุกข์แลชราทุกข์แลมรณะ)
๕. จลโต พิจารณาโดยอาการมีหวั่นไหว (พิจารณาให้เห็นสังขารธรรมนั้นหวั่นไหวอยู่ด้วย
พยาธิแลมรณะ)
๖. ปภงฺคโต พิจารณาโดยอาการเป็นของผุพัง (พิจารณาให้เห็นสังขารธรรมนั้น บางคราวมี
สภาวะทาลายเอง บางคราวทาลายด้วยความเพียรของผู้อื่น)
การพิจารณาอนิจจลักษณะโดยอาการ ๑๒ คือ
๗. อธุวโต พิจารณาโดยอาการไม่ยั่งยืน (พิจารณาให้เห็นสังขารธรรมนั้นมิได้ตั้งอยู่เป็น
นิตย์ ย่อมทอดทิ้งกลิ้งอยู่ในสถานประเทศต่าง ๆ ไม่มีที่กาหนด)
๘. วิปริณามธมฺมโต พิจารณาโดยอาการมีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
๙. อสารกโต พิจารณาโดยอาการไม่มีแก่นสาร
๑๐. วิภวโต พิจารณาโดยอาการมีความฉิบหาย (พิจารณาให้เห็นสังขารธรรมนั้นมีความ
ฉิบหายเป็นเบื้องหน้า)
๑๑. สงฺขตโต พิจารณาโดยอาการมีสิ่งปรุงแต่ง (พิจารณาให้เห็นสังขารธรรมแล้วด้วยกุ
สลากุศลปรุงแต่ง)
๑๒. มรณธมฺมโต พิจารณาโดยอาการมีความตายเป็นธรรมดา (พิจารณาให้เห็นว่า
สังขารธรรมมีแต่ความตายเป็นที่สุด)
วิปัสสนาญาณ 9
วิปัสสนาญาณ 9 (ญาณในวิปัสสนา, ญาณที่นับเข้าในวิปัสสนาหรือที่จัดเป็นวิปัสสนา คือ เป็นความรู้ที่ทาให้
เกิดความเห็นแจ้ง เข้าใจสภาวะของสิ่งทั้งหลายตามเป็นจริง — insight-knowledge)
1. อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ (ญาณอันตามเห็นความเกิดและความดับ คือ พิจารณาความเกิดขึ้นและความ
ดับไปแห่งเบญจขันธ์จนเห็นชัดว่า สิ่งทั้งหลายเกิดขึ้นครั้นแล้วก็ต้องดับไป ล้วนเกิดขึ้นแล้วก็ดับไป
ทั้งหมด — knowledge of contemplation on rise and fall)
2. ภังคานุปัสสนาญาณ (ญาณอันตามเห็นความสลาย คือ เมื่อเห็นความเกิดดับเช่นนั้นแล้ว คานึงเด่นชัดใน
ส่วนความดับอันเป็นจุดจบสิ้นก็เห็นว่าสังขารทั้งปวงล้วนจะต้องสลายไปทั้งหมด — knowledge of
contemplation on disruption)
3. ภยตูปัฏฐานญาณ (ญาณอันมองเห็นสังขารปรากฏเป็นของน่ากลัว คือ เมื่อพิจารณาเห็นความแตกสลาย
อันมีทั่วไปแก่ทุกสิ่งทุกอย่างเช่นนั้นแล้ว สังขารทั้งปวงไม่ว่าจะเป็นไปในภพใดคติใด ก็ปรากฏเป็นของน่า
กลัว เพราะล้วนแต่จะต้องสลายไป ไม่ปลอดภัยทั้งสิ้น -- knowledge of the appearanceas terror)
วิปัสสนาญาณ 9
4. อาทีนวานุปัสสนาญาณ (ญาณอันคานึงเห็นโทษ คือ เมื่อพิจารณาเห็นสังขารทั้งปวงซึ่งล้วนต้องแตกสลาย
ไป เป็นของน่ากลัวไม่ปลอดภัยทั้งสิ้นแล้ว ย่อมคานึงเห็นสังขารทั้งปวงนั้นว่าเป็นโทษเป็นสิ่งที่มีความ
บกพร่อง จะต้องระคนอยู่ด้วยทุกข์ — knowledge of contemplation on disadvantages)
5. นิพพิทานุปัสสนาญาณ (ญาณอันคานึงเห็นด้วยความหน่าย คือ เมื่อพิจารณาเห็นสังขารว่าเป็นโทษเช่นนั้น
แล้ว ย่อมเกิดความหน่าย ไม่เพลิดเพลินติดใจ — knowledge of contemplation on dispassion)
6. มุญจิตุกัมยตาญาณ (ญาณอันคานึงด้วยใคร่จะพ้นไปเสียคือ เมื่อหน่ายสังขารทั้งหลายแล้วย่อมปรารถนา
ที่จะพ้นไปเสียจากสังขารเหล่านั้น — knowledge of the desire for deliverance)
7. ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ (ญาณอันคานึงพิจารณาหาทาง คือ เมื่อต้องการจะพ้นไปเสียจึงกลับหันไปยกเอา
สังขารทั้งหลายขึ้นมาพิจารณากาหนดด้วยไตรลักษณ์เพื่อมองหาอุบายที่จะปลดเปลื้องออกไป —
knowledge of reflective contemplation)
วิปัสสนาญาณ 9
8. สังขารุเปกขาญาณ (ญาณอันเป็นไปโดยความเป็นกลางต่อสังขาร คือ เมื่อพิจารณาสังขารต่อไป ย่อมเกิดความรู้เห็นสภาวะ
ของสังขารตามความเป็นจริง ว่า มีความเป็นอยู่เป็นไปของมันอย่างนั้นเป็นธรรมดา จึงวางใจเป็นกลางได้ ไม่ยินดียินร้ายใน
สังขารทั้งหลาย แต่นั้นมองเห็นนิพพานเป็นสันติบท ญาณจึงแล่นมุ่งไปยังนิพพาน เลิกละความเกี่ยวเกาะกับสังขารเสียได้
— knowledge of equanimity regarding all formations)
9. สัจจานุโลมิกญาณ หรือ อนุโลมญาณ (ญาณอันเป็นไปโดยอนุโลมแก่การหยั่งรู้อริยสัจ คือ เมื่อวางใจเป็นกลางต่อสังขาร
ทั้งหลาย ไม่พะวง และญาณแล่นมุ่งตรงไปสู่นิพพานแล้ว ญาณอันคล้อยต่อการตรัสรู้อริยสัจ ย่อมเกิดขึ้นในลาดับถัดไป เป็น
ขั้นสุดท้ายของวิปัสสนาญาณ ต่อจากนั้นก็จะเกิดโคตรภูญาณมาคั่นกลาง แล้วเกิดมรรคญาณให้สาเร็จความเป็นอริยบุคคล
ต่อไป — conformity-knowledge; adaptation-knowledge)
ธรรมหมวดนี้ ท่านปรุงศัพท์ขึ้น โดยถือตามนัยแห่งคัมภีร์ปฏิสัมภิทามรรค นามาอธิบายพิสดารในวิสุทธิมรรค แต่ใน
อภิธัมมัตถสังคหะ ท่านเติม สัมมสนญาณ (ญาณที่กาหนดพิจารณานามรูป คือ ขันธ์ 5 ตามแนวไตรลักษณ์ —
Comprehension-knowledge) เข้ามาเป็นข้อที่ 1 จึงรวมเป็น วิปัสสนาญาณ 10 และเรียกชื่อญาณข้ออื่นๆ สั้นกว่านี้ คือ
เรียก อุทยัพพยญาณ ภังคญาณ ภยญาณ อาทีนวญาณ นิพพิทาญาณ มุญจิตุกัมยตาญาณ ปฏิสังขาญาณ สังขารุเปกขา
ญาณ อนุโลมญาณ
ปัจฉิมโอวาท ให้อยู่กับ disruption ด้วยความไม่ประมาท
เมื่อครั้งที่พระพุทธองค์ใกล้เสด็จดับขันธปรินิพพาน พระสาวกจานวนไม่น้อยพา
กันโศกเศร้า พระพุทธองค์จึงตรัสว่า “เธออย่าเศร้าโศกเลย อย่าคร่าครวญเลย
เราบอกไว้ก่อนแล้วมิใช่หรือว่า ความพลัดพราก ความสูญเสีย ความผันแปร
แห่งของรักของชอบใจทุกอย่าง จะต้องบังเกิดขึ้น ฉะนั้นจะหาอะไรจากที่ไหน
ในสังขารนี้ สิ่งที่เกิดขึ้นมีขึ้น ถูกปัจจัยปรุงแต่งล้วนเสื่อมสลายไปเป็นธรรมดา
เป็นไปไม่ได้ที่จะปรารถนาว่าขอสิ่งนั้น อย่าเสื่อมสลายไปเลย”
อนิจจลักษณะนั้นเป็นความจริงที่บางครั้งสร้างความเจ็บปวดอย่างยิ่ง แต่ก็เป็น
ความจริงที่สามารถพาเราออกจากทุกข์ได้เมื่อเราเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง
ภังคานุปัสสนาญาณหมายถึงญาณตามเห็นจาเพาะDisruption
ภังคานุปัสสนาญาณ (ญาณอันตามเห็นความสลาย
คือ เมื่อเห็นความเกิดดับเช่นนั้นแล้ว คานึงเด่นชัด
ในส่วนความดับอันเป็นจุดจบสิ้น ก็เห็นว่าสังขารทั้ง
ปวงล้วนจะต้องสลายไปทั้งหมด — knowledge
of contemplation on disruption)
Different Levelsof Leadership
นโม ตัสสะ ภควโต อรหโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
ขอนอบน้อมแด่ พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ไกลจาก
กิเลส ผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
อัตตหิต
สมบัติ ปรัตถปฏิบัติ
นโม ตัสสะ ทฤษฎี “ปัญญาในวิถีคิด”
นโม ตัสสะ ทฤษฎี “ภาวะผู้นาเชิงพุทธศาสตร์”
ภควโต พระผู้มีพระภาค – พระมหากรุณาธิคุณ ครองตน
เป็น “ภาค” หรือส่วนหนึ่งจักรวาล ที่ต้องอาศัยซึ่งกันและกัน
อรหโต ผู้ไกลจากกิเลส – พระวิสุทธิคุณ ครองคน ด้วยการ
บริหารจัดการกิเลส ที่เป็นต้นต่อให้สังคมมีปัญหากันและกัน
สัมมาสัมพุทธะ ผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง –
พระปัญญาคุณ ครองงาน รู้เท่าทัน รู้รอบ ในหน้าที่ของตนมี
ศักยภาพเป็นผู้นาแก้ปัญหาได้
พุทธคุณ = ปัญญาในวิถีคิด
อรห =
ผู้ปราศจากกิเลส
สมฺมาสมฺพุทฺโธ =
ผู้ตรัสรู้ด้วย
พระองค์
วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน =
ผู้มีความรู้และความประพฤติ
ถึงพร้อม
สุคโต =
ผู้เสด็จไปด้วยดี
โลกวิทู =
ผู้รู้แจ้งโลก
อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ =
ผู้ฝึกคนได้ดี
ไม่มีผู้ใดเทียมเท่า
สตฺถา เทวมนุสฺสาน = ศาสดา
ของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
ภควา =
ผู้มีภคธรรม
พุทฺโธ =
ผู้ตื่น
พุทธคุณ ผู้อยู่ด้วยปัญญา
อรห =
บริหารจัดการอารมณ์
สมฺมาสมฺพุทฺโธ =
เข้าใจด้วยตนเอง
(ประสบการณ์)
วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน=
มีทั้งความรู้และ
ประพฤติตาม
สุคโต =
ไปไหนก็สร้างความ
เจริญ
โลกวิทู =
รู้เข้าใจธรรมชาติของ
โลก
อนุตฺตโร ปุริสทมฺม
สารถิ =
ฝึกสอนคนได้ดี
สตฺถา เทวมนุสฺสาน =
สอนทั้งคนดีและ
คนไม่ดี
ภควา =
รู้ว่าต้องอาศัยซึ่งกันและ
กัน
พุทฺโธ =
รู้เท่าทันเหตุการณ์
วิถีปฏิบัติโลกแห่งอนาคต
1. People: Determined to ensure healthy lives of all people
and better state of development for improvements and
amelioration of living standards. Determined to put an end
to poverty and oppose inequality in all nations
2. Planet : Determined to utilize resources sustainably,
protect natural sources and climate for future generations
3. Prosperity : Determined to grow a strong economy that
can sustain a country’s future, as well as the country’s
citizens
4. Peace & Justice : Foster peaceful, just and inclusive
societies
5. Partnership : Determined to develop good global
relationship with other nations for innovations and
sustainable development
S
D
G
s
The 5 essential elements of the SDGs
อา
ร
ย
เก
ษ
ต
ร
พระปฐมบรมราชโองการ
สืบสาน
รักษา
ต่อยอด
วิ
ถ
ี
ป
ฏิ
บ
ั
ต
ิ
โ
ลกแห่
ง
อนาคต
Continue
Sustainable
Development
อารยเกษตร*
* อารยเกษตร หมายถึง การพัฒนาประเทศอย่างบูรณาการ ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยรวม
อารยเกษตร sustainable agronomy
People
Planet
Prosperity
Partnership
Peace
อารยชน
อารยภูมิ
อารยพัฒน์
อารยกิจ
อารยสุข
CAREER
AWARE
CAREER
READY
ONBOARD
Lifelong Learning
Freshmen+
Sophomores
Juniors+
Seniors
New Hires RESKILL
Staff ENVISION
Executives
ระบบการศึกษาปัจจุบันมันเกิดขึ้นช่วงปฏิรูปอุตสาหกรรม (Industrial revolution)
เพราะฉะนั้น เราเลยเห็นโครงสร้างโรงเรียนที่คล้ายคลึงกับโรงงาน ยกตัวอย่างเช่น กริ่ง
เลิกเรียน การแบ่งชั้นตามอายุของเด็ก การแยกวิชาแต่ละวิชาออกจากกัน
สมัยก่อนที่พวกเรา
ทุกคนโดนสอนมาว่า
ต้องขยันเรียน ต้อง
ตั้งใจเรียน เพื่อที่จะ
เข้ามหาวิทยาลัย
การศึกษาไทยแบบเดิม ๆ
นอกเหนือจากปัญหาการว่างงานแล้ว ปัญหาที่
คนท่างานต่่ากว่าระดับวุฒิการศึกษาที่ตัวเองจบมา
นั้นคืออีกปัญหาที่น่ากังวล เพราะต่อไปคนเหล่านี้จะ
ไม่ได้ใช้และพัฒนาทักษะของตัวเอง จนเมื่อต้องเข้าสู่
ตลาดแรงงานที่แข่งขันสูงขึ้นในอนาคต คนเหล่านี้จะ
ปรับตัวไม่ทัน
หลักสูตรการเรียนการสอนของสถาบันการศึกษาของไทยยังเป็น
หลักสูตรที่ผลิตแรงงาน เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด
เมื่อ 5 ปีที่แล้ว เพราะนิ่งนอนใจต่อความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ดังนั้นทักษะของคนที่เพิ่งจบมาใหม่จะไม่ตอบโจทย์กับความ
ต้องการของตลาดแรงงานปัจจุบัน ขณะที่ประเทศพัฒนาแล้วจะมี
ความตื่นตัวในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้ตรงกับโลกที่ผันผวน
ตลอดเวลา
บรรจุความรู้ผิดที่
“คนพยายามหาความรู ้ทางโลก
มาบรรจุ
ไว้ที่สมองให้ทันโลก
ไม่ยอมเอาไปไว้ที่ กาย วาจา และ
ดวงใจ
ฉะนั้น ต้องพยายามเอาความรู ้ทาง
ธรรมจรรยาจากสมองไปบรรจุ
ไว้ที่
กาย วาจา และดวงใจ”
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ
บรรจุความรู้ผิดที่
“มนุษย์นิกรทั้งเด็กและผู้ใหญ่
มักรับคาสอนทางธรรมจรรยาไป
บรรจุ
ไว้ในสมองกันเสียหมด ไม่
นาไปบรรจุ
ไว้ที่
กาย วาจา และดวงใจ
เมื่อบรรจุผิดฉะนี้ คาสอนทาง
ธรรมจรรยาก็กลายเป็ น
คาสอนทางโลกไป”
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ
ความอยากรู้เป็นธรรมชาติของมนุษย์ทุกคน
“จิตทัศน์” Mindsight คือ ศักยภาพของมนุษย์ที่สามารถ
รับรู้จิตใจของตนและผู้อื่น เปรียบเสมือนเลนส์อันทรงพลัง
ที่จะสามารถทาให้เราเข้าใจชีวิตภายในได้แจ่มแจ้งขึ้น โดย
บูรณาการการทางานของจิต สมองและความสัมพันธ์ของ
เรากับผู้อื่น
เสมือนสมองถูกขังอยู่ในขีดจากัด
การเรียนรู้ของเรา
ไร้ประสิทธิภาพ
รู้กระท่อนกระแท่น
เหมือนคนพิการ
ควรหมั่นตรวจสอบ
ประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล
ของสมอง
อยู่ตลอดเวลา
ธรรมชาติ
ของทุกคน
อยากรู้
อยากเรียน
อย่าง
ไม่จากัด
โดยธรรมชาติเรามีพลังงานที่ถ่ายทอด
ความรู้สึกซึ่งกันและกัน
สมอง/BRAIN
จิต/MIND
ความสัมพันธ์/
RELATIONSHIPS
“คนที่มีการศึกษาไม่ใช่
เป็นคนที่สามารถตอบ
คาถามได้ แต่เป็นคนที่
สามารถตั้งคาถามกับ
คาตอบได้ต่างหาก”
• การควบคุมร่างกาย (Body Regulation)
• การสื่อสารที่ดี (Attuned Communication)
• ความสมดุลทางอารมณ์ (Emotional Balance)
• พิจารณาก่อนตอบสนอง (Response Flexibility)
• สมารมณ์ (Empathy or ‘Mindsight’)
• เข้าใจแทงตลอด (Insight or self-knowing awareness)
• การลดความกลัว (Fear modulation)
• สัญชาติญาณ (Intuition)
• ศีลธรรม (morality)
Inspire to Rewire
1. เวลาเพ่ง เมื่อมีสมาธิในหน้าที่การงานสู่เป้าหมายที่ชัดเจน ทา
ให้สมองเชื่อมสิ่งต่าง ๆ กันขึ้นมา
2. เวลาเล่น การปล่อยให้มีจินตนาการ สร้างสรรค์ ทาให้สมองมี
จุดเชื่อมใหม่ ๆ เกิดขึ้น
3. เวลาปฏิสัมพันธ์ เมื่อมีการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ทาให้วงจร
สังคมในสมองทางาน
4. เวลาออกกาลัง การออกกาลังทาให้สมองแข็งแรงไปด้วย
5. เวลาสมาธิ สมาธิดูกาย เวทนา จิต ธรรม ทาให้สมองพัฒนา
องค์รวม
6. เวลาพักผ่อน เวลาจิตไม่เป็นสมาธิ ไม่มีเป้าหมาย ปล่อยจิตไป
เที่ยว หรือพักผ่อนธรรมดา ทาให้สมองได้ชาร์จใหม่
7. เวลานอน เมื่อสมองได้พักตามต้องการ ทาให้สามารถ
รวบรวมสิ่งที่ได้เรียน และพร้อมที่จะสู้ต่อไป
Inspire to Rewire
ปกติ หรือ ศีล
(Regulating)
ประจักษ์ หรือ สมาธิ
(Reflecting)
ปัญญา
(Reasoning)
3ป หรือ 3R
แบบพุทธ
3 ป
ปกติ
ประจักษ์
ปัญญา
3 R
Regulating
Reflecting
Reasoning
Yuval Noah Harari
คาแนะนาที่ Yuval Noah Harari มอบให้กับเด็กในยุคปัจจุบันคือ
“จงอย่าเชื่อผู้ใหญ่และจงอย่าเชื่อเทคโนโลยี
จงทาความรู้จักกับตัวเองให้ดีที่สุดก่อนที่
A.I. จะรู้จักเรามากกว่าตัวของเราเอง”
การทาความเข้าใจจิตใจของพวกเราเองนั้นถือ
เป็นเรื่องที่สาคัญที่สุดในศตวรรษนี้และศตวรรษ
หน้า เพื่อป้องกันไม่ให้จิตใจของเราต้องตกอยู่ใน
การควบคุมของ A.I. ที่อาจมีความสามารถใน
การเข้าใจจิตใจของมนุษย์ได้ในเร็ววันนี้
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf

More Related Content

What's hot

ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDigital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวThunyalak Thumphila
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์moemon12
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningTeetut Tresirichod
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทTheeraphisith Candasaro
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power pointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power pointcharnwit55
 
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่Teemtaro Chaiwongkhot
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์siwaporn_jo
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงจีระภา บุญช่วย
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)Prachyanun Nilsook
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6SAKANAN ANANTASOOK
 

What's hot (20)

ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
 
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDigital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
 
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
 
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power pointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
 
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
Chapter 5 define
Chapter 5 defineChapter 5 define
Chapter 5 define
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
9. กัณฑ์ที่ ๙ มัทรี ๙๐ พระคาถา
9. กัณฑ์ที่ ๙ มัทรี  ๙๐ พระคาถา9. กัณฑ์ที่ ๙ มัทรี  ๙๐ พระคาถา
9. กัณฑ์ที่ ๙ มัทรี ๙๐ พระคาถา
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
 
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf