SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
การบรรยายครั้งที่ 4 
รหัสวิชา CMA448 หัวข้อพิเศษทางสื่อดิจิตอล 
Special Topic in Digital Media 
บทที่ 4 
บุคลากร 
ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
Who is Who in TV Studio
1.ลักษณะการทางาน 
ของการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ 
 ดร.บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา เคยกล่าวว่า 
 “ภาพยนตร์” เป็นศิลปะแขนงที่ 7 
ที่รวมศิลปะทัง้ 6 แขนง 
วรรณกรรม จิตรกรรม 
ประติมากรรม สถาปัตยกรรม 
ดนตรี ละคร เอาไว้ด้วยกัน 
 โทรทัศน์ คือการต่อยอดของภาพยนตร์ 
ที่อาศัยวิทยาการและนวัตกรรมสมัยใหม่ 
เข้ามาเป็นเครื่องมือ แทนภาพยนตร์นั่นเอง
การผลิตรายการโทรทัศน์
1.ลักษณะการทางาน 
ของการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ 
 กว่าจะเกิดรายการวิทยุโทรทัศน์หนึ่งรายการ จะต้องผ่าน 
กระบวนการจัด และ ผลิตรายการ 
ซงึ่งานทัง้สองส่วนนีแ้ยกออกจากกัน 
 การจัดรายการ (Programming)หมายถึง งานที่ 
เกี่ยวข้องกับการเตรียมการเพื่อเลือกสรรรายการ และ จัดผัง 
รายการเพื่อการออกอากาศ 
 ส่วนงานผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์(Programming 
Production)หมายถึงการวางแผนและนาแผนนัน้ไป 
ดาเนินการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ให้เสร็จสมบูรณ์ 
ซงึ่กระบวนการนีต้้องมีบุคลากรจานวนมากเข้ามาเกี่ยวข้อง
บุคคลากรผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ 
 การผลิตรายการโทรทัศน์ 
ต้องใช้ความรู้ความสามารถ 
 ในเชิงเทคนิค 
 ความคิดสร้างสรรค์ 
 รู้จักใช้อุปกรณ์ เครื่องมือที่ทันสมัย 
และที่ขาดไม่ได้คือ บุคลากรในการทา งาน 
(TV Production Teams ) 
ในที่นีจ้ะอธิบายถึงองค์กรวิทยุโทรทัศน์หรือสถานี ฯ 
ที่มีการแบ่งงานออกเป็นฝ่ายต่างๆ และ 
อธิบายถึงบุคคลากรที่สา คัญแต่ละตา แหน่ง
องค์กรวิทยุโทรทัศน์หรือสถานีวิทยุโทรทัศน์ 
ส่วนใหญ่จะแบ่งงานออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 
 ฝ่ายรายการและฝ่ายข่าว 
 ฝ่ายผลิตและเทคนิค 
 ฝ่ายการเงินและสานักงาน 
 ฝ่ายโฆษณาและการตลาด 
ทุกฝ่ายอยู่ภายใต้การควบคุมของ ฝ่ายบริหาร 
ซึ่งมีหน้าที่บริหารสถานีให้ดาเนินงานไปตามวัตถุประสงค์ 
และนโยบายที่ตัง้ไว้
2.บทบาทและหน้าที่ของบุคคลากรด้านรายการ
บุคคลากรผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ 
 มีผู้เกี่ยวของกับการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์จานวนมาก แต่ละตาแหน่งมีหน้าที่ 
รับผิดชอบที่แตกต่างกัน ดังนี้ 
ผู้อา นวยการบริหารการผลิต 
(Executive Producer) 
เป็นหัวหน้าฝ่ายผลิตรายการ 
ควบคุม/ประสานงาน 
การบริหารธุรกิจ / งบประมาณ 
บริหารองค์กร / วางนโยบาย 
สถานีโทรทัศน์ หมายถึงผู้บริหารสถานี 
หรือ ผู้บริหารบริษัทฯที่ผลิตรายการโทรทัศน์ 
มีอานาจสงั่การอนุมัติ หรือยกเลิก 
การผลิตรายการใดรายการหนึ่งได้
ผู้อา นวยการผลิต( Producer ) 
ทาหน้าที่ 
 อานวยการ / ประสานงานการผลิต 
รายการไปตามแผนการผลิตที่วางไว้ 
 จัดเตรียมองค์ประกอบต่างๆในการผลิตรายการ 
ตัง้แต่ขัน้ตอนแรกจนถึงขัน้ตอนประเมินผล 
 เป็นผู้มีอา นาจตัดสินใจสูงสุดในการผลิตรายการ 
สถานีโทรทัศน์ขนาดใหญ่ อาจมีรองผู้อานวยการ 
ผลิต (Co Producer ) เพิ่มขึน้อีกตาแหน่ง 
มาเป็นผู้ช่วย Producer ในด้านต่างๆ
ผู้สร้างสรรค์รายการ (Creative ) 
 ทา หน้าที่ 
พัฒนาและสร้างสรรค์รูปแบบ 
การนาเสนอรายการให้น่าสนใจ
ผู้กา กับรายการ 
(Director or Production Director ) 
 คือผู้รับผิดชอบ 
การผลิตรายการโทรทัศน์ 
ตัง้แต่เริ่มจนกระทงั่เสร็จเรียบร้อย 
 เปรียบเสมือนแม่ทัพ 
ควบคุม กากับงาน ในขัน้ผลิตรายการ 
สงั่กล้อง / ตัวแสดง ฝ่ายฉาก แสง เสียง 
ผู้อานวยการผลิต และ ผู้กากับรายการ 
อาจเป็นคนเดียวกันก็ได้
ผู้ช่วยผู้กา กับรายการ 
(Assistant Director /AD) 
ทาหน้าที่ช่วย 
เตรียมนักแสดง กล้อง เทปต่างๆ 
ที่ใช้ประกอบรายการให้เป็นไปตามคิว 
ควบคุมเวลาในแต่ละช่วงรายการ 
: สาหรับการถ่ายทาละคร 
อาจมีผู้ช่วยได้หลายคน 
เรียก ผู้ช่วย 1 , ผู้ช่วย 2 
: ผู้ช่วย 1 อยู่ใกล้ผู้กากับ ร่วมปรึกษางาน 
: ผู้ช่วย 2 ดูแลความเรียบร้อยบริเวณ 
production area, คุม Extra
ผู้จัดการกองถ่าย 
(Production Manager) 
 ทาหน้าที่ 
 จัดการความเรียบร้อยของกองถ่าย 
 ควบคุมคิวจัดลาดับการถ่ายทา 
 รับผิดชอบการเงิน 
 สาหรับการถ่ายทาละคร 
เป็นผู้จัดทา break down 
และโทรนัดหมายคิวนักแสดง
ผู้เขียนบทวิทยุโทรทัศน์ ( Script Writer ) 
 ทาหน้าที่ 
แปรแนวความคิดของผู้อานวยการผลิต 
ให้ออกมาเป็นบทโทรทัศน์ 
ผู้เขียนบท ต้อง 
 ศึกษา ค้นคว้าข้อมูล 
 ตีความเนือ้หา 
 ลาดับการนาเสนอ
ผู้ประสานงาน ( Co-ordinator ) 
มีหน้าที่ติดต่อประสานงาน 
ทั้งภายนอก 
(แขกรับเชิญ / สถานที่ / อาหาร ฯลฯ) 
 และภายใน (ฝ่ายต่างๆ) 
ให้ทา งานได้อย่างราบรื่น 
และสัมพันธ์กัน
ผู้กา กับศิลป์ 
( Art Director/Scene Designer / Property ) 
ทาหน้าที่รับผิดชอบ 
งานสร้างสรรค์ ออกแบบฉาก สร้างฉาก 
 ออกแบบ ประสานงานการจัดหาอุปกรณ์ประกอบฉาก 
 กากับ ควบคุมงานศิลป์ 
 การให้แนวคิดการจัดหา เสอื้ผ้า แบบผม และ อื่นๆ 
มี เจ้าหน้าที่เป็นผู้ช่วย อาทิ 
 ช่างที่ทาหน้าที่ผลิตฉากต่างๆ 
 และช่วยจัดหาอุปกรณ์ประกอบฉาก 
 ช่างแต่งหน้า แต่งผม แต่งตัว
เจ้าหน้าที่ฉากและอุปกรณ์ประกอบฉาก 
รับคา สั่งจากผู้กา กับศิลป์ 
มาดาเนินการออกแบบ 
 ผลิตฉาก 
 จัดหาอุปกรณ์ประกอบฉาก
เจ้าหน้าที่ฝ่ายเสือ้ผ้าและฝ่ายแต่งหน้า 
(Costume & Make Up) 
1. ฝ่ายเสือ้ผ้า เครื่องแต่งกาย (Costume) 
: ในงานละคร ต้องมีทีมงานหลายคนเพื่อดูแลการ 
เปลี่ยนเครื่องแต่งกาย และเช็คความต่อเนื่อง 
2. ช่างแต่งหน้า ทาผม (Make up Artist & Hair 
Stylist) 
: ในงานละคร ต้องสามารถแต่ง effect ได้ 
ระวังเรื่องความต่อเนื่อง 
รับคา สั่งจากผู้กา กับศิลป์ 
 จัดหาและดูแลเสือ้ผ้า / เครื่องแต่งกาย / การแต่งหน้า / 
ทาผม
เจ้าหน้าที่ผลิตงานกราฟฟิก 
 เป็นบุคลากรในฝ่ายศิลปกรรม 
 ทา หน้าที่เตรียมงานกราฟฟิกทุกชนิด 
ตัวอักษร Lettering 
ภาพ illustration 
ตัวอักษร+ภาพ 
Off-Stage Graphics 
ไม่อยู่รวมกับ MC Guest ทาในห้องควบคุม 
On-Stage Graphics MC 
ถือ, ฉากด้านหลัง 
ชนิดของงานกราฟิก 
• TELOP 
• CAPTION 
• CG = Character Generator
ผู้กา กับเวที ( Floor Manager ) 
 คือหัวหน้าเจ้าหน้าที่ 
ที่กากับ /ประสานงานด้านเวทีทัง้หมด 
 ควบคุมความเรียบร้อยขณะบันทึกเทป 
 ในบริเวณห้องส่งหรือเวที 
 ช่วยถ่ายทอดคาสงั่ของผู้กากับรายการ 
 ไปสู่ผู้แสดงหรือช่างกล้อง 
 ดูแล ติดไมโครโฟน เช็คเสียง ผู้แสดง พิธีกร 
 บางกรณี คอยเป็นคนเชียร์อัพ ( CheerUp) 
คนดูในห้องส่งให้สนุกสนาน 
มีส่วนร่วมกับรายการ
ฝ่ายสถานที่ (Location) 
: ในงานละคร 
มีหน้าที่จัดหาสถานที่ถ่ายทา 
ให้สอดคล้องกับบท 
และความต้องการของผู้กากับ
ผู้กา กับบท – ประสานงานการผลิต 
( Production Assistant : PA ) 
 หรือเรียกว่าผู้ช่วยกองถ่าย 
 การถ่ายในสตูดิโอ มีหน้าที่ถือคิวการ์ด 
จดบันทึกการแก้ไขสคริปต์ ช่วยเหลือผู้ช่วยผู้กากับ 
 ประสานงานทวั่ไปในกองถ่าย 
 เรียกนักแสดงเข้าฉาก 
 แจ้งลาดับการถ่ายทาในแต่ละฉากให้ทุกฝ่ายได้ทราบ 
 ทาหน้าที่ บอกบทให้ผู้กากับรายการ 
 ประสานงานการผลิตทุกด้าน 
 ระหว่างผลิตรายการต้องจด 
บันทึกรายละเอียดการถ่ายทา 
เพื่อเป็นข้อมูลไปใช้ในขัน้ตอน 
การตัดต่อ
ช่างภาพหรือช่างกล้อง ( Camera Man ) 
 ทาหน้าที่ควบคุมกล้อง 
ให้สามารถถ่ายภาพได้ตามที่ 
ผู้กากับรายการต้องการ 
ต้องเป็นผู้ที่มีความรู้เรื่องการ 
ถ่ายภาพเป็นอย่างดี 
 รู้จักการวางองค์ประกอบของภาพ 
 ให้สวยงามและสื่อความหมายได้ 
 รู้จักวิธีการเคลื่อนกล้องทุกรูปแบบ
ผู้ช่วยตากล้อง 
(Camera Assistant /Cable man) 
 ผู้ช่วยตากล้อง 
ดูแลอุปกรณ์กล้อง 
สายกล้อง 
เคลื่อนกล้องบนราง dolly
เจ้าหน้าที่สวัสดิการกองถ่าย 
 : ดูแลเรื่องอาหาร น้าดื่ม 
 : ปฐมพยาบาลทีมงาน และนักแสดง
คุณสมบัติและคุณลักษณะพนื้ฐาน 
ของบุคคลากรด้านรายการ 
Producer & Director 
 1. เป็นผู้มีความรู้ 
 2. สร้างผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
 3. สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดี 
 4. รับผิดชอบต่อหน้าที่ 
 5. มีความรับผิดชอบริเริ่มสร้างสรรค์ 
 6. เข้าใจกระบวนการผลิตรายการเป็นอย่างดี 
 7. เข้าใจวิธีการใช้อุปกรณ์ต่างๆ 
 8. เป็นคนตรงต่อเวลา 
 9. มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี 
 10. สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ 
 11. เป็นผู้ใฝ่รู้อยู่เสมอ 
 12. เป็นผู้มีคุณธรรม 
 13. เป็นนักบริหาร
คุณสมบัติและคุณลักษณะพืน้ฐาน 
ของบุคคลากรด้านรายการ 
โฆษก / พิธีกร 
 1. เสียงดีและพูดเป็น 
 2. มีรสนิยม พูดชัดเจน 
 3. มีอารมณ์ขัน ทันสถานการณ์ 
 4. หมนั่ศึกษาหาความรู้ และรู้จักเล่า 
 5. เข้าใจผู้อื่น สุขภาพดี กระตือรือร้น 
 6. สุภาพ รับผิดชอบ เตรียมตัวอยู่เสมอ 
 7. หน้าตาดี แต่ไม่จาเป็น 
 8. รอยยิม้และใบหน้าที่ฉายแววอบอุ่นจาเป็นกวา่ 
 9. ความรู้และความรักในเนือ้หานัน้ควรพิจารณา 
 10. บุคลิกและอารมณ์ขันมีส่วนช่วยมาก 
 11. ใช้ภาษาคล่องแคล่ว เข้าใจง่าย 
 12. การรู้จักปรับตัว และทางานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นสิงจาเป็น 
 13. คนที่ดีเยี่ยมควรจะปรากฏตัวต่อหน้ากล้อง
บทบาทและหน้าที่บุคคลากรด้านเทคนิค
ผู้กา กับรายการฝ่ายเทคนิคหรือผู้กา กับเทคนิค 
(Technical Director ) 
 เป็นผู้ควบคุมการทางานของสวิชเชอร์ 
( Switcher )ในห้องควบคุม 
การผลิตรายการ โดยเลือกตัดภาพ 
จากกล้องต่างๆ ตามคาสงั่ของ 
ผู้กากับรายการ 
 ทาหน้าที่ประสานงานกับ 
 ผู้ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆในการผลิต
ผู้กา กับภาพหรือช่างเทคนิคด้านภาพ 
( VDO Engineer ) 
 ทาหน้าที่ควบคุมภาพที่ศูนย์ควบคุมการทางานของกล้อง 
 หรือ ซีซียู 
 คอยปรับแต่งภาพจากกล้องที่ปรากฏให้มีคุณภาพดี 
 สีถูกต้อง 
 ผู้กากับภาพทางานประสานกับผู้กากับรายการ และ ผู้กากับ 
เทคนิคอย่างใกล้ชิด เพื่อคุณภาพที่ดีในการนาสัญญาณส่งออก 
อากาศ
เจ้าหน้าที่บันทึกเทป 
(Video tape recorder) 
คุมการทางานของเครื่องบันทึกเทป 
เช่น เดินเทป หยุดเทป เช็คเทป 
นงั่ข้าง switcher
ผู้กา กับแสง 
( Lighting Director / Gaffer) 
 ทาหน้าที่ออกแบบแสง 
 ควบคุมระบบแสง สี 
เพื่อสร้างบรรยากาศ 
ให้สมจริง หรือ สวยงาม 
ตามที่ผู้กากับรายการต้องการ 
โดยมีช่างแสงคอยทาหน้าที่ช่วยเหลือ
ผู้กา กับเสียง ( Audio Engineer ) 
ทาหน้าที่ 
 ควบคุม / ผสมเสียงต่างๆ 
เพื่อให้รายการมีเสียง 
ที่มีคุณภาพ
เจ้าหน้าที่ตัดต่อ-ลา ดับภาพ( Editor ) 
 ทาหน้าที่ตัดต่อ ลาดับภาพรายการ 
ที่ได้ถ่ายทาไว้ 
ให้เป็นไปตามบท และ มีความยาว 
พอดีกับเวลาออกอากาศ
ผู้ปรากฏตัวทางโทรทัศน์ ( Talent ) 
มีหลายประเภท เช่น 
 ผู้ดา เนินรายการ ( Moderator ) 
 พิธีกร ( Master of Ceremony – MC ) 
ผู้ประกาศ ( Announcer ) 
 ผู้ร่วมรายการ นักแสดง ( Actor or Actress )
บุคคลากรการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ 
 ยังมีบุคลากรเกี่ยวข้องอีกมากมาย เช่น 
 หากใช้ไมโครโฟนบูม จะต้องมี เจ้าหน้าที่ควบคุมบูมไมค์ 
 หากมีฉากพิเศษต้องมีเจ้าหน้าที่ทาเทคนิคภาพพิเศษ 
 หากเป็นรายการละครต้องเจ้าหน้าที่วาวซาวด์ประกอบ 
หรืออาจต้องเจ้าหน้าที่ฝึกซ้อมนักแสดงคิวบู๊เป็นต้น 
หมายเหตุ :- 
บุคลากรผลิตรายการหนึ่งๆ จะมีจานวนมากหรือน้อย 
ขึน้อยู่กับรูปแบบรายการที่ผลิต และ งบประมาณการลงทุน
คุณสมบัติและคุณลักษณะพืน้ฐาน 
ของบุคลากรด้านเทคนิค 
มีความรู้ด้านการใช้งานอุปกรณ์การผลิต 
ทั้งด้านฮาร์แวร์และซอ๊ฟแวร์ 
สามารถพลิกแพลงหรือแก้ไขให้ทางานได้
TV Production Team 
 ทีมงานสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ 
1. ทีมงานสร้างสรรค์ (Production Staff) 
: มีหน้าที่สร้างสรรค์รายการ creative 
เรียกคนกลุ่มนีว้่า above the line หรือ พวกแนวหน้า 
2. ทีมงานเทคนิค (Production Crew) 
: เป็นทีมงานผลิตที่ต้องเกี่ยวข้องกับเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ 
เรียกกลุ่มนีว้่า below the line 
หรือ พวกแนวหลัง
TV Production Team 
1. Production Staff / Above The Line 
Producer 
Director / Production Director 
Assistant Director (AD) 
Production Assistant (PA) 
Script Writer 
Talent / Master Of Ceremony (MC) 
Art Director 
Lighting Director
TV Production Team 
2. Production Crew /Below The Line 
2.1 Production 
Floor(Stage) Manager / Director (FD) 
2.2 Engineer 
Technical Director (TD) / Switcher 
Camera Man 
Lighting Technician 
Video Engineer 
Audio / Sound Engineer 
Videotape Engineer : VCR, VTR, Film

More Related Content

What's hot

เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )Ananta Nana
 
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพApida Runvat
 
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]Pakornkrits
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..Samorn Tara
 
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์ธิติพล เทียมจันทร์
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนKroo R WaraSri
 
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้Chay Kung
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPointDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)Rachabodin Suwannakanthi
 

What's hot (20)

เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
 
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
 
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
 
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
Gifographic
GifographicGifographic
Gifographic
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
 

Similar to การบรรยายครั้งที่ 4 บทที่ 4 รหัสวิชา cma 448 [บันทึกอัตโนมัติ]

Sonyvegas 100608114316-phpapp01
Sonyvegas 100608114316-phpapp01Sonyvegas 100608114316-phpapp01
Sonyvegas 100608114316-phpapp01Aekapoj Poosathan
 
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์Aiice Pimsupuk
 
Dc102 digital media-video
Dc102 digital media-videoDc102 digital media-video
Dc102 digital media-videoajpeerawich
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5Jele Raviwan Napijai
 
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์kroowissanu
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์xavi2536
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์xavi2536
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลAtiwat Patsarathorn
 
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Praphaphun Kaewmuan
 
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11Kroopop Su
 
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7Pipit Sitthisak
 

Similar to การบรรยายครั้งที่ 4 บทที่ 4 รหัสวิชา cma 448 [บันทึกอัตโนมัติ] (13)

Sonyvegas 100608114316-phpapp01
Sonyvegas 100608114316-phpapp01Sonyvegas 100608114316-phpapp01
Sonyvegas 100608114316-phpapp01
 
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
ประมวลรายวิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์
 
Dc102 digital media-video
Dc102 digital media-videoDc102 digital media-video
Dc102 digital media-video
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
 
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
 
Case Study
Case StudyCase Study
Case Study
 
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพยนตร์และสื่อดิจิตอล
 
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
 
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
 
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
 

การบรรยายครั้งที่ 4 บทที่ 4 รหัสวิชา cma 448 [บันทึกอัตโนมัติ]

  • 1. การบรรยายครั้งที่ 4 รหัสวิชา CMA448 หัวข้อพิเศษทางสื่อดิจิตอล Special Topic in Digital Media บทที่ 4 บุคลากร ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
  • 2. Who is Who in TV Studio
  • 3. 1.ลักษณะการทางาน ของการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์  ดร.บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา เคยกล่าวว่า  “ภาพยนตร์” เป็นศิลปะแขนงที่ 7 ที่รวมศิลปะทัง้ 6 แขนง วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ดนตรี ละคร เอาไว้ด้วยกัน  โทรทัศน์ คือการต่อยอดของภาพยนตร์ ที่อาศัยวิทยาการและนวัตกรรมสมัยใหม่ เข้ามาเป็นเครื่องมือ แทนภาพยนตร์นั่นเอง
  • 5. 1.ลักษณะการทางาน ของการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์  กว่าจะเกิดรายการวิทยุโทรทัศน์หนึ่งรายการ จะต้องผ่าน กระบวนการจัด และ ผลิตรายการ ซงึ่งานทัง้สองส่วนนีแ้ยกออกจากกัน  การจัดรายการ (Programming)หมายถึง งานที่ เกี่ยวข้องกับการเตรียมการเพื่อเลือกสรรรายการ และ จัดผัง รายการเพื่อการออกอากาศ  ส่วนงานผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์(Programming Production)หมายถึงการวางแผนและนาแผนนัน้ไป ดาเนินการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ให้เสร็จสมบูรณ์ ซงึ่กระบวนการนีต้้องมีบุคลากรจานวนมากเข้ามาเกี่ยวข้อง
  • 6. บุคคลากรผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์  การผลิตรายการโทรทัศน์ ต้องใช้ความรู้ความสามารถ  ในเชิงเทคนิค  ความคิดสร้างสรรค์  รู้จักใช้อุปกรณ์ เครื่องมือที่ทันสมัย และที่ขาดไม่ได้คือ บุคลากรในการทา งาน (TV Production Teams ) ในที่นีจ้ะอธิบายถึงองค์กรวิทยุโทรทัศน์หรือสถานี ฯ ที่มีการแบ่งงานออกเป็นฝ่ายต่างๆ และ อธิบายถึงบุคคลากรที่สา คัญแต่ละตา แหน่ง
  • 7. องค์กรวิทยุโทรทัศน์หรือสถานีวิทยุโทรทัศน์ ส่วนใหญ่จะแบ่งงานออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่  ฝ่ายรายการและฝ่ายข่าว  ฝ่ายผลิตและเทคนิค  ฝ่ายการเงินและสานักงาน  ฝ่ายโฆษณาและการตลาด ทุกฝ่ายอยู่ภายใต้การควบคุมของ ฝ่ายบริหาร ซึ่งมีหน้าที่บริหารสถานีให้ดาเนินงานไปตามวัตถุประสงค์ และนโยบายที่ตัง้ไว้
  • 9. บุคคลากรผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์  มีผู้เกี่ยวของกับการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์จานวนมาก แต่ละตาแหน่งมีหน้าที่ รับผิดชอบที่แตกต่างกัน ดังนี้ ผู้อา นวยการบริหารการผลิต (Executive Producer) เป็นหัวหน้าฝ่ายผลิตรายการ ควบคุม/ประสานงาน การบริหารธุรกิจ / งบประมาณ บริหารองค์กร / วางนโยบาย สถานีโทรทัศน์ หมายถึงผู้บริหารสถานี หรือ ผู้บริหารบริษัทฯที่ผลิตรายการโทรทัศน์ มีอานาจสงั่การอนุมัติ หรือยกเลิก การผลิตรายการใดรายการหนึ่งได้
  • 10. ผู้อา นวยการผลิต( Producer ) ทาหน้าที่  อานวยการ / ประสานงานการผลิต รายการไปตามแผนการผลิตที่วางไว้  จัดเตรียมองค์ประกอบต่างๆในการผลิตรายการ ตัง้แต่ขัน้ตอนแรกจนถึงขัน้ตอนประเมินผล  เป็นผู้มีอา นาจตัดสินใจสูงสุดในการผลิตรายการ สถานีโทรทัศน์ขนาดใหญ่ อาจมีรองผู้อานวยการ ผลิต (Co Producer ) เพิ่มขึน้อีกตาแหน่ง มาเป็นผู้ช่วย Producer ในด้านต่างๆ
  • 11. ผู้สร้างสรรค์รายการ (Creative )  ทา หน้าที่ พัฒนาและสร้างสรรค์รูปแบบ การนาเสนอรายการให้น่าสนใจ
  • 12. ผู้กา กับรายการ (Director or Production Director )  คือผู้รับผิดชอบ การผลิตรายการโทรทัศน์ ตัง้แต่เริ่มจนกระทงั่เสร็จเรียบร้อย  เปรียบเสมือนแม่ทัพ ควบคุม กากับงาน ในขัน้ผลิตรายการ สงั่กล้อง / ตัวแสดง ฝ่ายฉาก แสง เสียง ผู้อานวยการผลิต และ ผู้กากับรายการ อาจเป็นคนเดียวกันก็ได้
  • 13. ผู้ช่วยผู้กา กับรายการ (Assistant Director /AD) ทาหน้าที่ช่วย เตรียมนักแสดง กล้อง เทปต่างๆ ที่ใช้ประกอบรายการให้เป็นไปตามคิว ควบคุมเวลาในแต่ละช่วงรายการ : สาหรับการถ่ายทาละคร อาจมีผู้ช่วยได้หลายคน เรียก ผู้ช่วย 1 , ผู้ช่วย 2 : ผู้ช่วย 1 อยู่ใกล้ผู้กากับ ร่วมปรึกษางาน : ผู้ช่วย 2 ดูแลความเรียบร้อยบริเวณ production area, คุม Extra
  • 14. ผู้จัดการกองถ่าย (Production Manager)  ทาหน้าที่  จัดการความเรียบร้อยของกองถ่าย  ควบคุมคิวจัดลาดับการถ่ายทา  รับผิดชอบการเงิน  สาหรับการถ่ายทาละคร เป็นผู้จัดทา break down และโทรนัดหมายคิวนักแสดง
  • 15. ผู้เขียนบทวิทยุโทรทัศน์ ( Script Writer )  ทาหน้าที่ แปรแนวความคิดของผู้อานวยการผลิต ให้ออกมาเป็นบทโทรทัศน์ ผู้เขียนบท ต้อง  ศึกษา ค้นคว้าข้อมูล  ตีความเนือ้หา  ลาดับการนาเสนอ
  • 16. ผู้ประสานงาน ( Co-ordinator ) มีหน้าที่ติดต่อประสานงาน ทั้งภายนอก (แขกรับเชิญ / สถานที่ / อาหาร ฯลฯ)  และภายใน (ฝ่ายต่างๆ) ให้ทา งานได้อย่างราบรื่น และสัมพันธ์กัน
  • 17. ผู้กา กับศิลป์ ( Art Director/Scene Designer / Property ) ทาหน้าที่รับผิดชอบ งานสร้างสรรค์ ออกแบบฉาก สร้างฉาก  ออกแบบ ประสานงานการจัดหาอุปกรณ์ประกอบฉาก  กากับ ควบคุมงานศิลป์  การให้แนวคิดการจัดหา เสอื้ผ้า แบบผม และ อื่นๆ มี เจ้าหน้าที่เป็นผู้ช่วย อาทิ  ช่างที่ทาหน้าที่ผลิตฉากต่างๆ  และช่วยจัดหาอุปกรณ์ประกอบฉาก  ช่างแต่งหน้า แต่งผม แต่งตัว
  • 18. เจ้าหน้าที่ฉากและอุปกรณ์ประกอบฉาก รับคา สั่งจากผู้กา กับศิลป์ มาดาเนินการออกแบบ  ผลิตฉาก  จัดหาอุปกรณ์ประกอบฉาก
  • 19. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเสือ้ผ้าและฝ่ายแต่งหน้า (Costume & Make Up) 1. ฝ่ายเสือ้ผ้า เครื่องแต่งกาย (Costume) : ในงานละคร ต้องมีทีมงานหลายคนเพื่อดูแลการ เปลี่ยนเครื่องแต่งกาย และเช็คความต่อเนื่อง 2. ช่างแต่งหน้า ทาผม (Make up Artist & Hair Stylist) : ในงานละคร ต้องสามารถแต่ง effect ได้ ระวังเรื่องความต่อเนื่อง รับคา สั่งจากผู้กา กับศิลป์  จัดหาและดูแลเสือ้ผ้า / เครื่องแต่งกาย / การแต่งหน้า / ทาผม
  • 20. เจ้าหน้าที่ผลิตงานกราฟฟิก  เป็นบุคลากรในฝ่ายศิลปกรรม  ทา หน้าที่เตรียมงานกราฟฟิกทุกชนิด ตัวอักษร Lettering ภาพ illustration ตัวอักษร+ภาพ Off-Stage Graphics ไม่อยู่รวมกับ MC Guest ทาในห้องควบคุม On-Stage Graphics MC ถือ, ฉากด้านหลัง ชนิดของงานกราฟิก • TELOP • CAPTION • CG = Character Generator
  • 21. ผู้กา กับเวที ( Floor Manager )  คือหัวหน้าเจ้าหน้าที่ ที่กากับ /ประสานงานด้านเวทีทัง้หมด  ควบคุมความเรียบร้อยขณะบันทึกเทป  ในบริเวณห้องส่งหรือเวที  ช่วยถ่ายทอดคาสงั่ของผู้กากับรายการ  ไปสู่ผู้แสดงหรือช่างกล้อง  ดูแล ติดไมโครโฟน เช็คเสียง ผู้แสดง พิธีกร  บางกรณี คอยเป็นคนเชียร์อัพ ( CheerUp) คนดูในห้องส่งให้สนุกสนาน มีส่วนร่วมกับรายการ
  • 22. ฝ่ายสถานที่ (Location) : ในงานละคร มีหน้าที่จัดหาสถานที่ถ่ายทา ให้สอดคล้องกับบท และความต้องการของผู้กากับ
  • 23. ผู้กา กับบท – ประสานงานการผลิต ( Production Assistant : PA )  หรือเรียกว่าผู้ช่วยกองถ่าย  การถ่ายในสตูดิโอ มีหน้าที่ถือคิวการ์ด จดบันทึกการแก้ไขสคริปต์ ช่วยเหลือผู้ช่วยผู้กากับ  ประสานงานทวั่ไปในกองถ่าย  เรียกนักแสดงเข้าฉาก  แจ้งลาดับการถ่ายทาในแต่ละฉากให้ทุกฝ่ายได้ทราบ  ทาหน้าที่ บอกบทให้ผู้กากับรายการ  ประสานงานการผลิตทุกด้าน  ระหว่างผลิตรายการต้องจด บันทึกรายละเอียดการถ่ายทา เพื่อเป็นข้อมูลไปใช้ในขัน้ตอน การตัดต่อ
  • 24. ช่างภาพหรือช่างกล้อง ( Camera Man )  ทาหน้าที่ควบคุมกล้อง ให้สามารถถ่ายภาพได้ตามที่ ผู้กากับรายการต้องการ ต้องเป็นผู้ที่มีความรู้เรื่องการ ถ่ายภาพเป็นอย่างดี  รู้จักการวางองค์ประกอบของภาพ  ให้สวยงามและสื่อความหมายได้  รู้จักวิธีการเคลื่อนกล้องทุกรูปแบบ
  • 25. ผู้ช่วยตากล้อง (Camera Assistant /Cable man)  ผู้ช่วยตากล้อง ดูแลอุปกรณ์กล้อง สายกล้อง เคลื่อนกล้องบนราง dolly
  • 26. เจ้าหน้าที่สวัสดิการกองถ่าย  : ดูแลเรื่องอาหาร น้าดื่ม  : ปฐมพยาบาลทีมงาน และนักแสดง
  • 27. คุณสมบัติและคุณลักษณะพนื้ฐาน ของบุคคลากรด้านรายการ Producer & Director  1. เป็นผู้มีความรู้  2. สร้างผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ  3. สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดี  4. รับผิดชอบต่อหน้าที่  5. มีความรับผิดชอบริเริ่มสร้างสรรค์  6. เข้าใจกระบวนการผลิตรายการเป็นอย่างดี  7. เข้าใจวิธีการใช้อุปกรณ์ต่างๆ  8. เป็นคนตรงต่อเวลา  9. มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี  10. สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้  11. เป็นผู้ใฝ่รู้อยู่เสมอ  12. เป็นผู้มีคุณธรรม  13. เป็นนักบริหาร
  • 28. คุณสมบัติและคุณลักษณะพืน้ฐาน ของบุคคลากรด้านรายการ โฆษก / พิธีกร  1. เสียงดีและพูดเป็น  2. มีรสนิยม พูดชัดเจน  3. มีอารมณ์ขัน ทันสถานการณ์  4. หมนั่ศึกษาหาความรู้ และรู้จักเล่า  5. เข้าใจผู้อื่น สุขภาพดี กระตือรือร้น  6. สุภาพ รับผิดชอบ เตรียมตัวอยู่เสมอ  7. หน้าตาดี แต่ไม่จาเป็น  8. รอยยิม้และใบหน้าที่ฉายแววอบอุ่นจาเป็นกวา่  9. ความรู้และความรักในเนือ้หานัน้ควรพิจารณา  10. บุคลิกและอารมณ์ขันมีส่วนช่วยมาก  11. ใช้ภาษาคล่องแคล่ว เข้าใจง่าย  12. การรู้จักปรับตัว และทางานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นสิงจาเป็น  13. คนที่ดีเยี่ยมควรจะปรากฏตัวต่อหน้ากล้อง
  • 30. ผู้กา กับรายการฝ่ายเทคนิคหรือผู้กา กับเทคนิค (Technical Director )  เป็นผู้ควบคุมการทางานของสวิชเชอร์ ( Switcher )ในห้องควบคุม การผลิตรายการ โดยเลือกตัดภาพ จากกล้องต่างๆ ตามคาสงั่ของ ผู้กากับรายการ  ทาหน้าที่ประสานงานกับ  ผู้ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆในการผลิต
  • 31. ผู้กา กับภาพหรือช่างเทคนิคด้านภาพ ( VDO Engineer )  ทาหน้าที่ควบคุมภาพที่ศูนย์ควบคุมการทางานของกล้อง  หรือ ซีซียู  คอยปรับแต่งภาพจากกล้องที่ปรากฏให้มีคุณภาพดี  สีถูกต้อง  ผู้กากับภาพทางานประสานกับผู้กากับรายการ และ ผู้กากับ เทคนิคอย่างใกล้ชิด เพื่อคุณภาพที่ดีในการนาสัญญาณส่งออก อากาศ
  • 32. เจ้าหน้าที่บันทึกเทป (Video tape recorder) คุมการทางานของเครื่องบันทึกเทป เช่น เดินเทป หยุดเทป เช็คเทป นงั่ข้าง switcher
  • 33. ผู้กา กับแสง ( Lighting Director / Gaffer)  ทาหน้าที่ออกแบบแสง  ควบคุมระบบแสง สี เพื่อสร้างบรรยากาศ ให้สมจริง หรือ สวยงาม ตามที่ผู้กากับรายการต้องการ โดยมีช่างแสงคอยทาหน้าที่ช่วยเหลือ
  • 34. ผู้กา กับเสียง ( Audio Engineer ) ทาหน้าที่  ควบคุม / ผสมเสียงต่างๆ เพื่อให้รายการมีเสียง ที่มีคุณภาพ
  • 35. เจ้าหน้าที่ตัดต่อ-ลา ดับภาพ( Editor )  ทาหน้าที่ตัดต่อ ลาดับภาพรายการ ที่ได้ถ่ายทาไว้ ให้เป็นไปตามบท และ มีความยาว พอดีกับเวลาออกอากาศ
  • 36. ผู้ปรากฏตัวทางโทรทัศน์ ( Talent ) มีหลายประเภท เช่น  ผู้ดา เนินรายการ ( Moderator )  พิธีกร ( Master of Ceremony – MC ) ผู้ประกาศ ( Announcer )  ผู้ร่วมรายการ นักแสดง ( Actor or Actress )
  • 37. บุคคลากรการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์  ยังมีบุคลากรเกี่ยวข้องอีกมากมาย เช่น  หากใช้ไมโครโฟนบูม จะต้องมี เจ้าหน้าที่ควบคุมบูมไมค์  หากมีฉากพิเศษต้องมีเจ้าหน้าที่ทาเทคนิคภาพพิเศษ  หากเป็นรายการละครต้องเจ้าหน้าที่วาวซาวด์ประกอบ หรืออาจต้องเจ้าหน้าที่ฝึกซ้อมนักแสดงคิวบู๊เป็นต้น หมายเหตุ :- บุคลากรผลิตรายการหนึ่งๆ จะมีจานวนมากหรือน้อย ขึน้อยู่กับรูปแบบรายการที่ผลิต และ งบประมาณการลงทุน
  • 38. คุณสมบัติและคุณลักษณะพืน้ฐาน ของบุคลากรด้านเทคนิค มีความรู้ด้านการใช้งานอุปกรณ์การผลิต ทั้งด้านฮาร์แวร์และซอ๊ฟแวร์ สามารถพลิกแพลงหรือแก้ไขให้ทางานได้
  • 39. TV Production Team  ทีมงานสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ 1. ทีมงานสร้างสรรค์ (Production Staff) : มีหน้าที่สร้างสรรค์รายการ creative เรียกคนกลุ่มนีว้่า above the line หรือ พวกแนวหน้า 2. ทีมงานเทคนิค (Production Crew) : เป็นทีมงานผลิตที่ต้องเกี่ยวข้องกับเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ เรียกกลุ่มนีว้่า below the line หรือ พวกแนวหลัง
  • 40. TV Production Team 1. Production Staff / Above The Line Producer Director / Production Director Assistant Director (AD) Production Assistant (PA) Script Writer Talent / Master Of Ceremony (MC) Art Director Lighting Director
  • 41. TV Production Team 2. Production Crew /Below The Line 2.1 Production Floor(Stage) Manager / Director (FD) 2.2 Engineer Technical Director (TD) / Switcher Camera Man Lighting Technician Video Engineer Audio / Sound Engineer Videotape Engineer : VCR, VTR, Film