SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
วิชา หัวข้อพิเศษทางสอื่ดิจิตอล 
( SPECIAL TOPIC IN DIGITAL MEDIA ) 
( รหัสวิชา CMA 448 ) ภาคการศึกษาที่ 1.2/2557 
อ. ราเชน นาคพงศ์ เบอร์โทรศัพท์ 091 229 6644 
E-MAIL : RICHYRACHEN@GMAIL.COM 
การบรรยายครั้งที่ 5 
บทที่ 5 สถานที่ - อุปกรณ์และ 
เครื่องมือ 
ในการผลิตรายการวิทยุ 
โทรทัศน์
TV PRODUCTION 
EQUIPMENTS
อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต 
รายการวิทยุโทรทัศน์ 
กล้องโทรทัศน์(Video Camera) 
สื่อบันทึก(Records)/แถบวีดิทัศน์ (Video 
Tape) 
แสง (Lighting) 
เสียง (Sound) 
ฉาก (Scenery) 
อุปกรณ์ประกอบฉาก (Properties) 
งานกราฟิก (Graphic) 
การแต่งหน้า (Make Up)
สถานที่ - อุปกรณ์และเครอื่งมือใน 
การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ 
1.ห้องผลิตรายการโทรทัศน์ ( Television 
Studio ) 
บางครั้งเรียกว่า โรงถ่าย หรือ ห้องส่ง
TV STUDIO
ลักษณะของห้องผลิต 
รายการโทรทัศน์ 
ต้องสามารถควบคุมเสียง แสง 
และสามารถจัดสภาวะแวดล้อมตามความต้องการ 
ได้ 
ด้านควบคุมเสียง 
 ต้องกันเสียงรบกวนขากภายนอกได้ 
 ต้องป้องกันเสียงจากการสั่นสะเทือนต่างๆได้ 
 และสำาคัญ...ต้องป้องกันเสียงสะท้อนได้ 
ด้านควบคุมแสง 
 มีแสงสว่างเพียงพอ 
 ต้องควบคุมความสว่าง ทิศทาง และปริมาณแสงได้
ห้องผลิตรายการโทรทัศน์ควรมี 
ลักษณะดังนี้ 
ขนาดห้อง 
มีความกว้าง ยาว และความสูงเพียงพอต่อการจัดฉากได้ 
ส่วนสูงไม่ควรน้อยกว่า 3.50 เมตร 
ห้องขนาดใหญ่ต้องสูงอย่างน้อย 9 เมตร 
พนื้ ผนัง เพดาน 
พื้นต้องเรียบสมำ่าเสมอ 
ผนังและเพดานต้องหนาแข็งแรง 
และบุด้วยวัสดุดูดซึมเสียง 
มีไซโคลรามา(Cyclorama) เพื่อลดแสงสะท้อน 
ระบบสื่อสาร 
จำาเป็นต้องใช้ระบบอินเตอร์คอม (intercom 
ไว้สื่อสารกันระหว่างห้องควบคุมกับห้องสตูดิโอ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตรายการวิทยุ 
โทรทัศน์ 
กล้องโทรทัศน์(Video Camera) 
สื่อบันทึก(Records)/แถบวีดิทัศน์ (Video 
Tape) 
แสง (Lighting) 
เสียง (Sound) 
ฉาก (Sets) 
อุปกรณ์ประกอบฉาก (Properties) 
งานกราฟิก (Graphic) 
การแต่งหน้า (Make Up)
ส่วนประกอบและชนิดของกล้องโทรทัศน์ 
กล้องโทรทัศน์(Video Camera) 
 คืออุปกรณ์ที่สำาคัญที่สุด ในการถ่ายทอด 
ภาพไปสู่ผู้ชม 
 เราสามารถแบ่งกล้องโทรทัศน์ออกได้เป็น 
๓ แบบ คือ
1.STUDIO CAMERA 
เป็นกล้องโทรทัศน์ขนาดใหญ่ราคาแพง 
ให้คุณภาพที่ดีที่สุด ส่วนใหญ่จะใช้ในสถานี 
โทรทัศน์ 
หรือห้องบันทึกเทปขนาดใหญ่ การใช้งาน 
ต้องตั้ง 
อยู่บนขาตั้งกล้องเสมอ ควบคุมการทำางาน 
ด้วยเครื่อง 
CCU [Camera ConTrol Unit] 
ที่มีวิศวกรควบคุมอยู่ในห้องควบคุม 
การสั่งกล้องก็จะใช้ระบบอินเตอร์คอมติดต่อ 
กัน
TV STUDIO CAMERA
2.PORTABLE CAMERA 
กล้องที่มีขนาดเล็กลงมา 
สามารถนำาออกไปถ่ายทำานอกสถานที่ได้ 
ใช้ไฟฟ้าหรือแบตเตอรี่ทุกอย่าง 
ควบคุม ได้ที่ตัวกล้อง 
สามารถแบกบนบ่าถ่ายทำาได้ 
(Hand Held) แบ่งเป็น 3 ชนิด
กล้องโทรทัศน์มืออาชีพ 
(PROFESSIONAL) 
 กล้องโทรทัศน์มืออาชีพ (Professional) 
แบบ ENG [Electeronic News Gathering]
กล้องโทรทัศน์กึ่งมืออาชีพ (PROSUMER) 
 กล้องโทรทัศน์กึ่งมืออาชีพ (Prosumer) 
แบบ ENG [Electeronic News Gathering]
กล้องโทรทัศน์แบบสมัครเล่น (CONSUMER)
3.กล้องEFP [ELECTRONIC FIELD 
PRODUCTION] 
เป็นการนำเอากล้องโทรทัศน์มืออาชีพ (Professional) 
หรือ กล้องโทรทัศน์กึ่งมืออาชีพ (Prosumer) 
แบบ ENG [Electeronic News Gathering] 
ตั้งแต่ ๒ กล้องขึ้นไปมาดัดแปลงใช้แบบกล้อง 
โทรทัศน์Studio 
เพื่อสะดวกในการขนย้ายเพื่อไปถ่ายทำนอกสถานที่ 
ได้ 
รวมทั้งเป็นการประหยัดงบประมาณอีกด้วย
ส่วนประกอบของกล้องโทรทัศน์ 
ตัวกล้อง (Body ) 
เลนส์ (Lens) 
Power Supply 
แผงต่อเครื่องบันทึกเทป 
ขาตั้งกล้อง ( Camera Mounting )
กล้องแต่ละแบบแตกต่าง 
กันอย่างไร 
กล้องรับภาพแบบหลอด 
จะใหภ้าพทคี่มชัดเจน แต่จะถา่ยย้อนแสงไฟนานๆ 
ไมไ่ด้เพราะหลอดภาพจะร้อน รวมทงั้มนี้้้าหนัก 
มาก มขีนาดใหญ่ กินแสงมาก บางครั้งทา้ให้การ 
ถา่ยทา้ไมส่ะดวกมากนัก 
กล้องรับภาพแบบ CCD จะให้ภาพไม่คมชัดเท่า 
กล้องหลอด แต่สามารถถ่ายย้อนแสงได้โดยกล้อง 
ไมร่้อน รวมทงั้มนี้้้าหนักเบา กนิแสงน้อย ขนาด 
เล็ก ท้าใหส้ะดวกในการถ่ายทา้อย่างมาก 
กล้องรับภาพแบบ CMOS เดิมใช้งานในกล้อง 
ถา่ยภาพนิ่งเป็นหลักเนื่องจากให้ภาพทคี่มชัดเจน 
ในปัจุบันมกีารพัฒนาให้ใช้ได้ดีกับงานด้านวิดีโอ 
จงึทา้ใหภ้าพวิดีโอมคีมชัดอย่างมาก และสามารถ
กล้องรับภาพแบบหลอดภาพ
กล้องรับภาพแบบ 
CCD
กล้องรับภาพแบบ CMOS
เลนส์ (LENS) 
เลนส์ (Lens) เป็นส่วนที่กำหนดมุมรับภาพให้ไกล- 
ใกล้ขนาดไหน 
ส่วนใหญ่จะเป็น Zoom Lensที่รวมเอาเลนส์ Wide Angle, 
Normal และ Telephoto ไว้ด้วยกัน ใช้มอเตอร์ช่วยใน 
การ Zoom ความเร็วในการ Zoom ขึ้นอยู่กับนํ้าหนัก 
ในการกดนิ้วนั่นเอง 
เลนส์ มีทั้งขนาดเล็ก ๑.๕-๒ นิ้วสำหรับกล้อง ENG 
หรือ ๔.๕-๗ นิ้ว สำหรับกล้องStudio หรือ EFP 
มีไว้เพื่อประโยชน์ในการ การประกอบภาพ 
(Composition) ปกติภาพที่มองจากช่องมองภาพจะกว้า 
งก 
 ออกอากาศประมาณ ๑๕-๒๐% เพื่อที่จะรู้ว่ามีอะไร 
เข้ามาในจอจะแก้ไขก่อนที่ออกอากาศ ใช้สำหรับ
เลนส์ (LENS)
เลนส์ (LENS)
POWER SUPPLY 
Power Supply ที่ติดอยู่ท้ายกล้อง 
หม้อแปลงไฟฟ้า ๒๒๐ Volt เป็น DC 
แบตเตอรี่
แผงต่อเครื่องบันทึกเทป 
แผงต่อเครื่องบันทึกเทป 
ในปัจจุบันส่วนใหญ่จะมีเทปติดท้ายตัวกล้อง 
ไม่แยกออกจากกัน เพราะกล้องมีนํ้าหนักเบา 
และเทปมีขนาดเล็กลง 
บางครั้งเราเรียกกล้องชนิดนี้ว่า 
“Camcorder “
วัสดุอุปกรณ์บันทึกภาพ 
๒. สื่อบันทึก(Records)/แถบวีดิทัศน์ (Video Tape) 
 VIDEO ภาษาลาติน หมายถึง การเห็น 
ภาษาอังกฤษ หมายถึง ภาพ 
 VIDEO TAPE ก็คือ แถบภาพ หรือ แถบวีดิทัศน์ 
หากเรียกทับศัพท์จะใช้คำว่า “วิดีโอเทป” 
เทปบันทึกเสียงเกิดขึ้นเมื่อปี ค.ศ. ๑๗๙๘ 
เทปโทรทัศน์หรือวีดิทัศน์ ใช้งานได้ใน ปี ค.ศ. ๑๙๕๖ 
 ปี ค.ศ. ๑๙๕๔ บริษัท RCA ของอเมริกา 
ทดลองบันทึกภาพสีด้วยเทป ½” (หัวเทปนิ่ง) 
เส้นเทปวิ่ง ผ่าน ด้วยความเร็ว 360 “/ วินาที 
หรือ 9 เมตร / วินาที หรือ 32.4 กิโลเมตร / ชั่วโมง
เครื่องบันทึกเทป 
 เครื่องบันทึกเทป 
๑) Studio แบบตั้งโต๊ะ (Desktop) 
๒) Portable 
๓) Camcoder
ลักษณะสื่อบันทึก (RECORDS) 
แบ่งเป็น 2 แบบ 
 1. แบบ LINEAR 
 MicroMV 
 DV, Mini DV, DVCAM, 
 Mini DVCAM , HDV 
 DVCPRO 
 Video8, Hi8, Digital 8 (D8) 
 VHS 
 S-VHS Compact, 
 Digital-S, D-VHS 
 - Betamax , Super Betamax, 
 Betacam SP, Betacam 
 SX, Digital Betacam 
 - M II (Panasonic) 
 - D3, D4
2 แบบ NON-LINEAR 
 Compact Disc (CD) , 
 SuperCompact Disc 
 Compact Disc Video (CDV) 
 VCD 
 MPEG1(DVCD), 
 MPEG2 (SVCD), 
 CD-DVD MPEG2 
 DVD Audio,DVD-ROM 4 
 Blu-Ray Disc (BD),BD-ROM 4 
 Fluorescent Multilayer Disc 300 GB, 
 FMD) 
 Laser Disc (Double Side) 12” 
 CD-Rom, CD- Photo (JPEG): 
 Wave,MP3,OGG 3 
 Mini Disc (MD) 3.25” 
 Optical/Magnetic HD 
 2.12 Memory Card
การตัดต่อแบบแบบ NON-LINEAR
4.อุปกรณ์และเครื่องมือด้าน 
เสียง 
รูปแบบของเสียงที่ใช้ในรายการวิทยุ 
โทรทัศน์ 
เสียงคำาพูด 
เสียงธรรมชาติ 
(Sound Effect) 
เสียงดนตรี 
เสียงพิเศษ 
(Special Sound Effect)
วัตถุประสงค์ในการใช้เสียง 
เพื่อนำาเสนอเนื้อหา 
เพื่อเสริมสร้างอารมณ์ 
ความคิด และความรู้สึก 
เพื่อตกแต่งรายการ 
เช่น การเปิด-ปิด 
การเชื่อมต่อรายการ
ไมโครโฟน (MICROPHONE) 
ชนิดของไมโครโฟน 
 Dynamic Microphone 
 Ribbon Microphone 
 Crystal Microphone 
 Electrostatic Microphone 
: Condenser Microphone
ลักษณะการใช้งาน MICROPHONE 
 Desk Microphone 
 Stand Microphone 
 Hand-held Microphone 
 Tie-Microphone 
 Boom Microphone 
 Zoom Microphone 
 Wireless Microphone
5.อุปกรณ์และเครื่องมือด้านแสง 
จุดมงุ่หมายทางเทคนิค 
๑ ให้มีปริมาณแสงพอเพียง 
สำาหรับการถ่ายทอดภาพของกล้องโทรทัศน์ 
๒. ให้มีความแตกต่างของจุดมืดและจุดสว่างที่สมดุลย์ 
สามารถถ่ายทอดภาพออกมาได้ 
จุดมงุ่หมายด้านศิลปะ 
๑. เพื่อแสดงให้เห็นรูปร่างและลักษณะมิติของภาพที่ 
ปรากฏ 
๒. เพื่อแสดงออกถึงอารมณ์ของเรื่อง 
๓. เพื่อสร้างภาพให้เหมือนจริงตามธรรมชาติ 
๔. เพื่อช่วยในการประกอบภาพ (Composition) 
เน้นจุดสนใจให้มากขึ้น
อุปกรณ์แสงแบ่งเป็น 3 
ประเภท 
1.โคมไฟ 
2.อุปกรณ์ควบคุมแสง 
3.อุปกรณ์สนับสนุน 
การจัดแสง
1.โคมไฟ มี 3 ชนิด 
1.โคมไฟที่ให้แสงนุ่มนวล ( Soft – light source ) 
ให้แสงกระจาย เกิดเงาน้อย 
2.โคมไฟที่ให้แสงจ้า ( Hard – light source ) 
ให้แสงแรงเกิดเงาชัดเจน 
3.โคมไฟที่ให้แสงเน้นความเด่นของวัตถุ 
( Profile Spot ) 
ใชส่องให้เห็นขนาดหรือรูปร่างวัตถุหรือใช้ 
แผ่นโลหะที่มีลวดลาย 
ที่เรียกว่าคุ้กกี้ ( Cookie) บังด้านหน้าเพื่อให้ 
เกิดลวดลาย 
บนฉากหรือไซโคลรามา
อุปกรณ์ควบคุมแสง 
 บานดอร์ ( Barn door ) เป็นบานพับติดหน้าโคมไฟ 
พับเขา พับออก เพื่อปรับทิศทางแสงได้ตามต้องการ 
 ดิฟฟิวเชอร์ ( Diffuser ) เป็นแผ่นกระจกที่ใส่หน้าโคมไฟ 
เพื่อกระจายแสงให้นุ่มนวลตามต้องการ 
 ดิมเมอร์ ( Dimmer ) เป็นอุปกรณ์ควบคุมความสว่างของ 
แสง 
ที่อยู่ในห้องควบคุมรายการ
อุปกรณ์สนับสนุนการ 
จัดแสง 
 เครื่องวัดแสง 
 เครื่องปรับระดับโคมไฟ 
 ขาตั้งไฟ 
 ราวไต่ให้ช่างไฟขึ้นไปเดิน
ฉากและอุปกรณ์ประกอบฉาก 
( SETS AND PROPS ) 
หมายถึงวัสดุ อุปกรณ์ ส่วนที่นำามา 
ประกอบเป็นฉาก 
ครอบคลุมทั้งส่วนที่เป็นฉาก ( Sets) 
และอุปกรณ์ประกอบฉาก ( Props)
อุปกรณ์เพิ่มเติมในห้องผลิต 
รายการโทรทัศน์ 
 เทเลพรอมเตอร์ ( Telerompter ) 
 ออโตสคริปต์ ( Autoscript ) 
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ฉายสคริปต์ของพิธีกร 
หรือผู้ดำาเนินรายการ มีความสูงในระดับสายตา 
มุมเดียวกับกล้องโทรทัศน์ ทำาให้ผู้ดำาเนินรายการ 
สามารถอ่านได้เหมือนกับสายตาพูดคุยกับผู้ชม 
ไม่ต้องก้มดูบท โดยทั่วไปใช้ในรายการข่าว 
และรายการพูดคุย
ห้องควบคุมการผลิตรายการ 
โทรทัศน์ ( CONTROL ROOM ) 
 เป็นห้องศูนย์รวมการสั่งการที่เกี่ยวข้องกับการผลิต 
รายการ 
 ควรอยู่ติดกับห้องส่งหรือสตูดิโอ 
 ต้องติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมภาพ แสง เสียง
ลักษณะห้องควบคุมการผลิต 
รายการผลิตรายการโทรทัศน์ 
ต้องมีพื้นที่กว้างขวางเพียงพอ 
มีระบบอินเตอร์คอม , นาฬิกา 
จับเวลา 
ต้องออกแบบวางอุปกรณ์ 3 
ระบบ ดังนี้ 
 ระบบควบคุมภาพ Switcher / Moniter 
Sets 
 ระบบควบคุมเสียง Audio Control 
 ระบบควบคุมแสง Light Control
อุปกรณ์ในห้องควบคุมการผลิต 
รายการ 
1.อุปกรณ์ควบคุมภาพ 
 แผงควบคุมการตัด เลือก หรือผสมภาพ ( Switcher ) 
 แผงควบคุมการทำาเท็คนิคภาพพิเศษด้วยระบบดิจิตอล 
 แผงดูจอภาพ 
 คอมพิวเตอร์กราฟฟิค
อุปกรณ์ในห้องควบคุมการผลิตรายการ 
2.อุปกรณ์ควบคุมเสียง ( AUDIO CONTROL )
อุปกรณ์ในห้องควบคุมการผลิตรายการ 
3.อุปกรณ์ควบคุมแสง ( LIGHT CONTROL) 
 ทำาหน้าที่ควบคุมความสว่างของแสงื ( Light Dimmer ) 
 ควบคุมการปิดเปิด 
 ควบคุมระดับความส่องสว่าง 
 ควบคุมระดับความสูงตำ่าของราวแขวนโคมไฟ
ห้องตัดต่อลำาดับภาพรายการ 
โทรทัศน์ 
อุปกรณ์ในห้องตัดต่อ 
 การตัดต่อในยุคอนาลอ็ก เรียกว่า การจัดต่อแบบ ลิเนียร์ 
( Linear ) 
 ต้องตัดต่อเรียงลำาดับตั้งแต่ต้นไปจนจบ 
 หากมีการสำาเนา คุณภาพของภาพที่ตัดต่อจะดรอ็ปลง 
 การตัดต่อรายการในปัจจุบันเป็นการตัดต่อในระบบ 
ดิจิตอล 
 เรียกว่าการตัดต่อแบนอน ลิเนียร์ ( Non Linear ) 
 ไม่จำาเป็นต้องตัดต่อแบบเรียงลำาดับ 
 สำาเนาได้โดยที่คุณภาพภาพไม่ดรอ็ปลง 
 ต้องใช้คอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยความจำาขนาดใหญ่ 
 มีโปรแกรมตัดต่อ/ จอภาพที่คมชัด
4.ห้องแต่งหน้าแต่งตัว 
( MAKE UP AND DRESSING ROOM ) 
 เป็นห้องที่มีอุปกรณ์แต่งหน้า แต่งตัว 
 แบ่งส่วนสำาหรับชาย / หญิง 
 มีห้องอาบนำ้า
5.โรงสร้างและเก็บฉาก 
( PROP AND SET WORKSHOP) 
 ส่วนสร้างฉาก หรือ โรงสร้างฮาก 
 ส่วนเก็บฉาก
6.ห้องวัสดุรายการ (PRODUCTION 
LIBRAY ) 
เป็นห้องที่ใช้เก็บวัสดุที่ใช้เป็นส่วนหนึ่ง 
ของรายการวิทยุโทรทัศน์ 
เช่น แผ่นเสียง เทปเสียงประกอบ 
เทปโทรทัศน์ที่เก็บ สตอ็คชอ็ท ( Stock 
Shot ) 
ไฟล์ภาพนงิ่ ไฟล์วิดีโอสไลด์ แผนภูมิ
สถานที่และอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต 
รายการวิทยุโทรทัศน์ 
นอกสถานที่ 
 สถานที่ผลิตรายการนอกสถานที่มี 2 ลักษณะ 
 1.โรงถ่ายกลางแจ้ง ( Outdoor Studio ) 
 2.สถานที่จริง ( On Location )
วัสดุอุปกรณ์ผลิตรายการ 
โทรทัศน์นอกสถานที่ 
 แบ่งเป็น 2 แบบ กล่าวคือ 
 1. แบบออกไปถ่ายทำาด้วยกล้องเดียว 
 ไม่เสร็จสมบูรณ์ ต้องมาตัดต่อ ลำาดับภาพ ลงเสียง 
ภายหลัง 
 เช่นรายการข่าว สารคดี 
 อุปกรณ์ที่ใช้ได้แก่ 
 กล้องแบบถ่ายนอกสถานที่โดยเฉพาะ 
 ( EFP- Electronic Field Production ) 
 ขาตั้งกล้อง 
 ไมโครโฟน 
 โคมไฟ 
 อุปกรณ์สนับสนุน เครน รางดอลลี รีเฟล็กซ์ 

วัสดุอุปกรณ์ผลิตรายการ 
โทรทัศน์นอกสถานที่ 
2. แบบออกไปถ่ายทำาหลายกล้องเช่น 
รายการถ่ายทอดสดพิธีการสำาคัญรายการกีฬา 
คอนเสริร์ท มีการตัดต่อลำาดับภาพ ผสมเสียง 
พร้อมออกอากาศอุปกรณ์ที่จำาเป็นต้องใช้ 
ได้แก่ 
• กล้อง 
• ขาตั้งกล้อง 
• เครื่องควบคุมกล้อง ( CCU) 
• สวิชเชอร์และเครื่องทำาเท็คนิคพิเศษ ( Switcher ) 
• ไมโครโฟน 
• เครื่องบันทึกภาพ 
• โคมไฟ 
• รถโอบี ( OB Van )

More Related Content

Similar to การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5

Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Praphaphun Kaewmuan
 
Sonyvegas 100608114316-phpapp01
Sonyvegas 100608114316-phpapp01Sonyvegas 100608114316-phpapp01
Sonyvegas 100608114316-phpapp01Aekapoj Poosathan
 
CCTV training-ล่าสุด.pptx
CCTV training-ล่าสุด.pptxCCTV training-ล่าสุด.pptx
CCTV training-ล่าสุด.pptxPawachMetharattanara
 
CCTV training-ล่าสุด.pptx
CCTV training-ล่าสุด.pptxCCTV training-ล่าสุด.pptx
CCTV training-ล่าสุด.pptxPawachMetharattanara
 
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์kroowissanu
 
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้นEditing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้นPisit Noiwangklang
 
สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราชสื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราชgasanong
 
Ultra High Resolution Photography for Cultural Preservation
Ultra High Resolution Photography for Cultural PreservationUltra High Resolution Photography for Cultural Preservation
Ultra High Resolution Photography for Cultural PreservationRachabodin Suwannakanthi
 
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdf
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdfImv unit7-1-pr3-introduction-pdf
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdfPipit Sitthisak
 

Similar to การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5 (17)

CCTV training2.pptx
CCTV training2.pptxCCTV training2.pptx
CCTV training2.pptx
 
Introduction to Digital Video Production
Introduction to Digital Video ProductionIntroduction to Digital Video Production
Introduction to Digital Video Production
 
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
 
Sonyvegas 100608114316-phpapp01
Sonyvegas 100608114316-phpapp01Sonyvegas 100608114316-phpapp01
Sonyvegas 100608114316-phpapp01
 
CCTV training-ล่าสุด.pptx
CCTV training-ล่าสุด.pptxCCTV training-ล่าสุด.pptx
CCTV training-ล่าสุด.pptx
 
CCTV training-ล่าสุด.pptx
CCTV training-ล่าสุด.pptxCCTV training-ล่าสุด.pptx
CCTV training-ล่าสุด.pptx
 
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์
เอกสารการอบรมคอมพิวเตอร์
 
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้นEditing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
 
สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราชสื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
 
Video with Windows Movie Maker
Video with Windows Movie MakerVideo with Windows Movie Maker
Video with Windows Movie Maker
 
Camtasia5fgfdgfd
Camtasia5fgfdgfdCamtasia5fgfdgfd
Camtasia5fgfdgfd
 
Camtasia5jjjj
Camtasia5jjjjCamtasia5jjjj
Camtasia5jjjj
 
Ultra High Resolution Photography for Cultural Preservation
Ultra High Resolution Photography for Cultural PreservationUltra High Resolution Photography for Cultural Preservation
Ultra High Resolution Photography for Cultural Preservation
 
Pop
PopPop
Pop
 
Lecture01_Introduction
Lecture01_IntroductionLecture01_Introduction
Lecture01_Introduction
 
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdf
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdfImv unit7-1-pr3-introduction-pdf
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdf
 
Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 

การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5