SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
วิศวกรรมโยธา
วิศวกรรมโยธา (civil engineering) เป็ นศาสตร์ของสาขาหนึ่งในทางด้านวิศวกรรมศาสตร์
ครอบคลุมการก่อสร้างตึก ตึกระฟ้ า อาคาร สะพาน ถนน และระบบขนส่งอื่น ๆ รวมถึงระบบ
สาธารณูปโภคต่างๆ เช่น เขื่อน คลอง ตลอดจนการ
ทารังวัดในงานสารวจและแผนที่ รวมไปถึงการ
วิเคราะห์ทางธรณี และชลศาสตร์ และการบริ หาร
จัดการการก่อสร้าง งานในทางด้านวิศวกรรมจะ
เน้นทางด้านการใช้วสดุและทรัพยากรให้เกิด
                      ั
ประโยชน์ สูงสุด ผูที่ประกอบวิชาชีพในสาขานี้
                   ้
เรี ยกว่า วิศวกรโยธา หรื อเรี ยกกันว่า นายช่าง ใน
การทางานในประเทศไทย ผูที่ประกอบวิชาชีพจะ
                               ้
ขึ้นทะเบียนกับสภาวิศวกรเพื่อรับ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม (กว.) โดยมีการจัดสอบ
ระบบใหม่เริ่ มต้นเมื่อต้นปี พ.ศ. 2552 ด้วยระบบสุ่มข้อสอบทั้งหมดผ่านระบบคอมพิวเตอร์ (เฉพาะ
ระดับ "ภาคีวิศวกร")

การศึกษาทางด้านวิศวกรรมโยธานั้นนับว่ามีความสาคัญเป็ นอย่างยิงเนี่ อง จากการ พัฒนาทางด้าน
                                                              ่
เทคโนโลยีในปัจจุบนนั้นมีความก้าวหน้าสามารถเรี ยกได้วาเป็ น การพัฒนาแบบก้าวกระโดดซึ่งมี
                   ั                                   ่
ผลโดยตรงกับการศึกษาทางด้านวิศวกรรมโยธาเช่นกัน ดังนั้นสถาบันการศึกษาหลายๆสถาบันจึง
ได้มีการปรับปรุ งแผนการเรี ยนการสอนทาง ด้านวิศวกรรมโยธาให้มีความทันสมัยเพื่อผลิต
บุคลากรทางด้านวิศวกรรมโยธา หรื อที่เรี ยกกันว่า “วิศวกรโยธา” ที่มีคุณภาพและตรงกับความ
ต้องการของตลาดแรงงานมากขึ้น วิศวกรรมโยธาเป็ นสาขาวิศวกรรมที่เก่าแก่ที่สุด โดยตอบสนอง
ความต้องการของสังคม

วิศวกรรมโยธา (Civil Engineering)
วิศวกรรมโยธาเป็ นสาขาที่กว้างขวางและมีบทบาทต่อสังคมมากที่สุดสาขา หนึ่งของ
วิศวกรรมศาสตร์ งานของวิศวกรโยธาเกี่ยวพันกับการก่อสร้างอาคาร สะพาน เขื่อน ถนนและสิ่ง
ปลูกสร้างอื่นๆอีกมากมาย วิศวกรโยธามีหน้าที่วางแผน ออกแบบและควบคุมการก่อสร้างตั้งแต่
งานขนาดเล็กไปจนถึงโครงการก่อสร้างขนาด ใหญ่ เช่น ตึกระฟ้ า ท่าอากาศยาน ศูนย์การผลิตและ
ควบคุมบาบัดน้ าเสีย นอกจากนี้วิศวกรโยธายังมีบทบาทสาคัญในการคิดค้นและพัฒนาระบบขนส่ง
และระบบ สาธารณูปโภคในอนาคต เช่น การออกแบบระบบรถไฟอนาคตซึ่งใช้แรงแม่เหล็กเพื่อ
ออกแรงยกตัวและเคลื่อนที่ไป ข้างหน้า (Magnetic levitation trains)

นิยามเกี่ยวกับอาชีพวิศวกรโยธา

ออกแบบ คานวณ วางแผน จัดระบบงาน ควบคุมงานโครงการ พิจารณาตรวจสอบ ให้คาปรึ กษา
ด้านการก่อสร้างอาคารโรงงาน อาคารสาธารณะ สะพาน อู่เรื อ เขื่อนกั้นน้ า กาแพงกั้นน้ า
โครงสร้างอื่น รวมทั้งการติดตั้ง การใช้และการบารุ งเครื่ องจักรต่าง ๆ : พิจารณาโครงการ สารวจหา
สถานที่ที่เหมาะสมที่สุดสาหรับการก่อสร้าง ; สารวจและประเมินลักษณะและความหนาแน่นของ
การจราจรทางอากาศ ทางบก และทางน้ า เพื่อพิจารณาว่าจะมีผลต่อโครงการอย่างไร ; สารวจพื้นผิว
ดินและใต้ผวดิน เพื่อนาไปออกแบบฐานรากที่เหมาะสม ปรึ กษาหารื อในการก่อสร้างกับ
              ิ
ผูชานาญการสาขาอืน ๆ เช่น วิศวกรไฟฟ้ า วิศวกรสิ่งแวดล้อมหรื อวิศวกรเครื่ องกล กรณี ที่มการ
  ้                  ่                                                                 ี
ก่อสร้างงานระบบต่าง ๆ เพื่อกาหนดผังฐานรองท่อร้อยสายไฟฟ้ า ท่องานระบบต่าง ๆ และงานที่
เกี่ยวข้องอื่น ๆ ; คานวณหาค่าความเค้น ความเครี ยด ปริ มาณน้ า ความแรงของลมและอุณหภูมิ
ความลาดและตัวแปรอื่น ๆ ที่มีผลต่อการคานวณออกแบบงานด้านโยธา ตรวจสอบแปลนรายการ
ก่อสร้าง ปริ มาณวัสดุ และประมาณการราคาในงานโยธา ; กาหนดอุปกรณ์ เครื่ องจักรต่าง ๆ ในงาน
ก่อสร้าง เช่น งานดินถมดินตัดในงานถนน งานเขื่อน งานโยธาชนิดอื่น ๆ ; วางแผนการปฏิบติงาน    ั
และควบคุมให้เป็ นไปตามแผนที่วางไว้ ; ทดสอบ ตรวจสอบโครงสร้างทั้งเก่าและใหม่เพื่อวิเคราะห์
ความมันคงแข็งแรง รวมทั้งควบคุมการซ่อมแซมกรณี ที่เกิดการชารุ ดเสียหายขึ้น
         ่

ลักษณะของงานที่วศวกรโยธาต้องรับผิดชอบ
                ิ

วางแผน จัดระบบงาน และควบคุมงานสร้างถนน สะพาน อุโมงค์ และสิ่งอานวยความสะดวกใน
การขนส่งต่างๆ ทางานเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคาร ตลอดจนการติดตั้ง การใช้และการบารุ งรักษา
ระบบไฮดรอลิกและระบบสาธารณสุขอืนๆ พิจารณาโครงการ และทางานสารวจเพื่อหาสถานที่ที่
                                          ่
เหมาะสมที่สุดสาหรับการ ก่อสร้าง สารวจและประเมินลักษณะ และความหนาแน่นของการจราจร
ทางอากาศทางบก และทางน้ าเพื่อพิจารณาว่าจะมีผลต่อโครงการอย่างไรบ้าง สารวจดูพ้นผิวดินและื
ใต้ผวดินว่าจะมีผลต่อการก่อสร้างอย่างใด และเหมาะสมที่จะรองรับสิ่งก่อสร้างเพียงใด
       ิ
ปรึ กษาหารื อในเรื่ องโครงการกับผูชานาญงานสาขาอื่นๆ เช่น วิศวกรไฟฟ้ า หรื อวิศวกรช่างกล วาง
                                   ้
แผนผังรากฐาน ท่อสายไฟ ท่อต่างๆ และงานพื้นดินอื่นๆ คานวณความเค้น ความเครี ยด จานวนน้ า
ผลอันเนื่องมาจากความแรงของลมและอุณหภูมิ ความลาด และเหตุอื่นๆ เตรี ยมแบบแปลนรายงาน
ก่อสร้าง และจัดทาประมาณการวัสดุและประมาณการราคา เลือกชนิดของเครื่ องมือขนย้ายดิน
เครื่ องชักรอก เครื่ องจักรกล และเครื่ องมืออื่นๆ ที่จะใช้ในงานก่อสร้าง จัดทาตารางปฏิบติงานและ
                                                                                        ั
ควบคุมให้การปฏิบติงานเป็ นไปตามแผนที่วางไว้ ทดสอบ และตรวจดูโครงสร้างทั้งเก่า และใหม่
                ั
ตลอดจนวางแผนและจัดระบบงานซ่อม

ลักษณะการจ้างงานและการทางาน

ผูประกอบอาชีพนี้ ได้รับค่าตอบแทนการทางานเป็ นเงินเดือน ตามวุฒิการศึกษาและประสบการณ์
  ้
ในการทางาน โดยส่วนใหญ่จะทางานสัปดาห์ละ 40 ชัวโมง อาจจะต้องมาทางานวันเสาร์ อาทิตย์
                                                   ่
หรื อวันหยุด อาจจะต้องทางานล่วงเวลา ในกรณี ที่ตองการให้งานที่ได้รับมอบหมายเสร็ จให้ทนต่อ
                                                 ้                                   ั
การใช้งาน นอกจากผลตอบแทนในรู ปเงินเดือนแล้วในภาครัฐวิสาหกิจและภาคเอกชนอาจได้รับผล
ตอบแทนในรู ปอื่น เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินสะสม เงินช่วยเหลือสวัสดิการในรู ปต่างๆ เงินโบนัส
เป็ นต้น สถานที่ทางานของวิศวกรโยธาจะมีสภาพเหมือนที่ทางานทัวไป คือ เป็ นสานักงานที่มี
                                                              ่
อุปกรณ์ สิ่งอานวยความสะดวกเช่นสานักงานทัวไป แต่โดยลักษณะงานที่จะต้องควบคุมงานสารวจ
                                             ่
ก่อสร้าง หรื อซ่อมแซมจึงจาเป็ นที่จะต้องตรวจดูงานนอกสถานที่ในบางครั้ง เนื่องจากต้อง
ควบคุมดูแลงานให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สาหรับงานหรื อสถานที่ทางานที่
เสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัย ในการทางาน วิศวกรโยธาจึงต้องใช้อุปกรณ์คุมครองส่วนบุคคลในขณะ
                                                                   ้
ปฏิบติงาน
      ั

เนื้อหาที่ต้องเรียนรู้เมื่อเข้ ามาศึกษาทางด้ านวิศวกรรมโยธา

การเขียนแบบวิศวกรรม 1 (Engineering Drawing I) การใช้เครื่ องมือเขียนแบบ ออโตกราฟฟิ ค
โปรเจคชัน การเขียนภาพออโตกราฟฟิ ค การเขียนภาพพิคตอเรี ยล การกาหนดขนาดการเขียนภาพ
        ่
ตัด การสะเก็ดภาพด้วยมือ

กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) คุณสมบัติของของไหล ของไหลสถิตย์ ชนิดของการไหล
สมการควบคุมสภาพ โมเมนตัมเชิงเส้น สาหรับการไหลคงที่ ผลจากการเสียดทาน การไหลแบบ
สม่าเสมอของของไหลอัดตัวไม่ได้ การไหลในท่อแบบราบเรี ยบและแบบปั่ นป่ วน การวัดการไหล
การวิเคราะห์มิติ การไหลหนืดแบบราบเรี ยบ การประยุกต์งานของไหลในงานวิศวกรรม เช่น การ
หล่อลื่น เครื่ องจักรกลของไหล การจาแนกประเภทและการประเมินสมรรถนะของเครื่ องกังหัน
ชนิดหมุนเหวี่ยงและชนิด ในแนวแกน

ปฏิบติการกลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics Laboratory) เครื่ องกังหันเพลตัน เครื่ องกังหันฟ
    ั
รานซิส เครื่ องกังหันคาพาล การทดสอบสมรรถนะของปั๊ม การต่อปั๊มแบบอนุกรมและขนาน การ
หล่อลื่นในแบริ่ ง
ปฏิบติการวิศวกรรมโรงงาน (Engineering Workshop Practice) งานปรับแต่งโลหะ : การใช้
       ั
เครื่ องมือวัดอย่างง่าย งานตะไบ การทาเกลียวนอกและเกลียวใน งานโลหะแผ่น งานเชื่อมโลหะ :
การเชื่อมแก๊ส การเชื่อมไฟฟ้ า การบัดกรี เครื่ องมือกลอย่างง่าย : การใช้เครื่ องเจาะ เครื่ องเลื่อย ค้อน
สกัด

สถิติวิศวกรรม (Engineering Statistics) ทฤษฎีความน่าจะเป็ น ตัวแปรสุ่ม การพิสูจน์เชิงสถิติ การ
วิเคราะห์ความแปรปรวน สหสัมพันธ์และการหาสมการความสัมพันธ์ การใช้วิธีการทางสถิติเพื่อ
เป็ นเครื่ องมือในการแก้ปัญหา

วัสดุวิศวกรรม (Engineering Materials) การศึกษาวัสดุทางวิศวกรรม เช่น โลหะ พลาสติก แอส
ฟัลท์ ไม้และคอนกรี ต การศึกษาเฟสไดอะแกรม การทดสอบคุณสมบัติวสดุ การศึกษาโครงสร้าง
                                                                   ั
ทางจุลภาคและมหภาคที่สมพันธ์กบคุณสมบัติวสดุ กระบวนการผลิตสาหรับชิ้นส่วนต่างๆที่ใช้วสดุ
                         ั      ั            ั                                       ั
วิศวกรรม

โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับวิศวกร (Computer Programming for Engineer) ความเป็ นมาของ
คอมพิวเตอร์ โครงสร้างโปรแกรม แผนภูมิ ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการคานวณ เช่น ฟอร์แทรน
ปาสคาล วิชวลเบสิค

แนะนาวิชาชีพวิศวกรรม (Introduction to Engineering) ประวัติวิศวกรรมศาสตร์ วิชาชีพ
วิศวกรรมศาสตร์ แนวทางการแก้ปัญหาเชิงวิศวกรรม การคานวณทางวิศวกรรม วิชาพื้นฐานของ
วิศวกรรมศาสตร์ การสื่อความหมายทางวิศวกรรม จรรยาบรรณทางวิชาชีพวิศวกรรม

สถิตยศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Statics) ระบบแรง ผลรวมของแรง ความสมดุล ของไหล
สถิตย์ คิเนติกส์และคิเนเมติกส์ของอนุภาคและวัตถุ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ความฝื ด หลักการ
ของวิธีงานสมมุติ ความมันคง โมเมนต์ของการเคลื่อนที่
                         ่

กาลังวัสดุ 1 (Strength of Materials 1) หน่วยแรงและความเครี ยด คุณสมบัติกลของวัสดุ หน่วยแรง
ดัดและหน่วยแรงเฉือนในคาน คานประกอบและคานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก หน่วยแรงบิด หน่วยแรง
หลัก หน่วยแรงผสมและวงกลมโมร์ พลังงานความเครี ยดกับการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างของโครงสร้าง
รอยต่อแบบหมุดย้า สลักเกลียวและรอยเชื่อม

กาลังวัสดุ 2 (Strength of Materials II) การโก่งตัวของเสารับน้ าหนักตรงศูนย์ เสารับน้ าหนักเยื้อง
ศูนย์ ชิ้นส่วนรับแรงดึงและแรงดัด คานโค้ง คานต่อเนื่องกับทฤษฎีไตรโมเมนต์ คานบนฐาน
ยืดหยุน การบิดของชิ้นส่วนหน้าตัดไม่กลม การบิดของท่อผนังบางหน่วยแรงในภาชนะรับแรงดัน
      ่
ผนังบาง ความเข้มของหน่วยแรง แรงกระแทกและแรงกระทาซ้ า ทฤษฎีการวิบติ ั

คณิ ตศาสตร์ประยุกต์สาหรับวิศวกรโยธา (Applied Mathematics for Civil Engineering) อนุกรมเท
เลอร์ อนุกรมฟูเรี ยร์ ปัญหาค่าขอบเขตในเรื่ องคานและคานเสา ปัญหาค่าเริ่ มต้น เมตริ กซ์ และ ดี
เทอร์มินน ระบบของสมการเชิงเส้น ปัญหาค่าไอเกนในเรื่ องการโก่งเดาะ
        ั

การสารวจ 1 (Surveying I) หลักการพื้นฐานของการสารวจ เครื่ องมือในการสารวจ การทดสอบ
และปรับแก้เครื่ องมือ การวัดและความคลาดเคลื่อน ความละเอียดและความถูกต้อง การวัด
ระยะทาง โต๊ะแผนที่ การทาระดับ การสารวจด้วยเข็มทิศ การวัดมุมด้วยกล้องธีโอโดไลท์ การทา
วงรอบ การหาพื้นที่สเตเดียและการสารวจด้วยสเตเดีย

การสารวจ 2 (Surveying II) การทาโครงข่ายสามเหลี่ยมเบื้องต้น เส้นชั้นความสูง การคานวณงาน
ดิน การแบ่งชั้นงานสารวจและการปรับแก้ การหาอาซิมมุทอย่างละเอียด การสารวจด้วยกล้องธีโอ
โดไลท์แบบอิเล็กทรอนิกส์ การสารวจเส้นทาง การสารวจงานก่อสร้าง การทาแผนที่

การฝึ กงานสารวจภาคสนาม (Practical Training in Surveying) การฝึ กงานสารวจภาคสนาม งาน
รังวัด/สารวจพื้นที่ การสร้างหมุดควบคุมทางราบและทางดิ่ง การจัดทาขอบเขตพื้นที่สารวจ การเก็บ
รายละเอียดบนพื้นที่ การจัดทาแผนที่ภูมิประเทศ การคานวณหาปริ มาณงานเพื่อนาไปใช้ประโยชน์
ทางวิศวกรรม การจัดทารายงานและเอกสารการสารวจ

ธรณี วิทยาวิศวกรรม (Engineering Geology) โครงสร้างและลักษณะของผิวโลก แร่ หินและดิน การ
ผุพง การกัดกร่ อน การเคลื่อนที่ของมวล การทับถม การก่อตัวของดิน แผ่นดินไหว ชั้นน้ าบาดาล
   ั
ธรณี กาล แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่ธรณี วิทยา การสารวจทางธรณี วิทยาในงานวิศวกรรมโยธา

วิศวกรรมชลศาสตร์ (Hydraulics Engineering) การจาแนกการไหลทางชลศาสตร์ หลักการพืนฐาน   ้
ของการไหลซึ่งได้แก่ กฎแห่งการไม่สูญหายของมวล หลักการทางพลังงาน และหลักการทาง
โมเมนตั้ม การไหลในท่อและอุโมงค์ปิด การไหลในทางน้ าเปิ ด การไหลในทางน้ าเปิ ดที่เปลี่ยน
ขนาด การไหลผ่านจุดบังคับน้ า การไหลในสภาพไม่คงตัว การเคลื่อนที่ของคลื่น การเคลื่อนที่ของ
ตะกอน

ปฏิบติการวิศวกรรมชลศาสตร์ (Hydraulics Engineering Laboratory) การทดลองในหัวข้อที่
      ั
เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชา วิศวกรรมชลศาสตร์ ซึ่งจะช่วยให้นกศึกษาเข้าใจทฤษฎีและพฤติกรรมทาง
                                                        ั
ชลศาสตร์ได้ดีข้ ึน
การเขียนแบบวิศวกรรม 2 (Engineering Drawing II) พื้นฐานการเขียนแบบด้วย CAD ระบบ 2 มิติ
และ 3 มิติ การเขียนรู ปเรขาคณิ ต รู ปทรงต้น รู ปทรงพื้นผิว รู ปตัด ตัวอักษร มิติการเขียนแบบ
ก่อสร้าง การพิมพ์แบบ

ทฤษฎีโครงสร้าง (Structural Theory) เสถียรภาพและสถานภาพการหาคาตอบของโครงสร้าง การ
วิเคราะห์คานโครงข้อหมุนและโครงข้อแข็งแบบหาคาตอบได้โดยง่าย เส้นอิทธิพลของคาน ระบบ
พื้นคานและโครงข้อหมุนสะพานแบบหาคาตอบได้โดยง่าย การคานวณค่าวิกฤตสาหรับน้ าหนัก
เคลื่อนที่และการเสียรู ปแบบยืดหยุนของโครง สร้างโดยวิธีงานสมมุติ วิธีของคาสติเกลียโน วิธี
                                 ่
โมเมนต์-พื้นที่ และวิธีคานเสมือน

การวิเคราะห์โครงสร้าง (Structural Analysis) การวิเคราะห์คาน โครงข้อหมุนและโครงข้อแข็งแบบ
ไม่สามารถวิเคราะห์ได้ดวยสมการสมดุลตามลาพัง โดยอาศัยหลักการพลังงาน ได้แก่วิธีความโก่ง
                       ้
ความชัน และวิธีการกระจายโมเมนต์ เส้นอินฟลูเอ็นซ์สาหรับโครงสร้างแบบไม่สามารถวิเคราะห์
ได้ดวยสมการสมดุลตาม ลาพัง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงพลาสติก และวิธีวิเคราะห์
    ้
โครงสร้างโดยใช้เมตริ กซ์

ปฏิบติการวิศวกรรมโครงสร้าง (Structural Engineering Laboratory) การวัดความเครี ยดโดยใช้ตว
     ั                                                                                 ั
วัดความเครี ยดแบบเชิงกล แสง และไฟฟ้ าโฟโตอีลาสติกซิต้ ี การทดสอบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก
คานคอนกรี ตอัดแรงคานเหล็กและเสา การทดสอบโครงเหล็กและโครงข้อหมุนจาลอง

กลศาสตร์ดิน (Soil Mechanics) กาเนิดของดิน คุณสมบัติทางฟิ สิคส์ของดิน การจาแนกดิน การ
สารวจดิน การไหลของน้ าในดิน ความเค้นในดิน กาลังเฉือนของดินเม็ดหยาบ กาลังเฉือนของดิน
เม็ดละเอียด ทฤษฎีการอัดตัว การทรุ ดตัว การบดอัดดิน

ปฏิบติการกลศาสตร์ดิน (Soil Mechanics Laboratory) การเก็บและเตรี ยมตัวอย่างดิน การหาความ
     ั
ถ่วงจาเพาะ การวิเคราะห์ขนาดเม็ดดินโดยตะแกรงและไฮโดรมิเตอร์ พิกดแอทเทอร์เบิร์ค การ
                                                                  ั
ทดลองหาความซึมผ่านได้ การทดลองการอัดตัวในทิศทางเดียว การทดลองหากาลังเฉือนโดยตรง
การทดลองกดอัดทางเดียว การทดลองกดอัดสามทาง

วิศวกรรมฐานราก (Foundation Engineering) การสารวจดิน การวิเคราะห์หากาลังรับน้ าหนัก
บรรทุกและการทรุ ดตัวของฐานราก ฐานรากตื้นและฐานรากหยังลึก แรงดันด้านข้างของดิน การ
                                                       ่
ออกแบบฐานรากตื้น การออกแบบฐานรากเสาเข็ม การออกแบบกาแพงกั้นดินและเข็มพืด
เสถียรภาพของคันดิน
อุทกวิทยา (Hydrology) ระบบและกระบวนการทางอุทกวิทยา วัฏจักรของน้ า การหมุนเวียนของ
บรรยากาศและการตกของน้ าลงสู่ผวโลก การวิเคราะห์ขอมูลน้ าฝน คุณสมบัติและลักษณะของฝน
                                ิ                ้
การสูญหายทางอุทกวิทยา ลักษณะทางอุทกวิทยาและการไหลของน้ าใต้ผวดิน น้ าท่าและชลภาพ
                                                              ิ
การหาการเคลื่อนที่ของน้ า การทานายทางอุทกวิทยา การออกแบบทางอุทกวิทยา การสร้าง
แบบจาลองและการจาลองสภาพทางอุทกวิทยา

วิศวกรรมการประปาและสุขาภิบาล (Water supply and Sanitary Engineering) ระบบประปาและ
ระบบน้ าเสีย ปริ มาณน้ าใช้และน้ าทิ้งในชุมชน แหล่งน้ าผิวดินและใต้ดิน ระบบท่อประปาและท่อ
น้ าทิ้งในชุมชน คุณภาพน้ าในแหล่งน้ า ลักษณะของน้ าเสีย หลักเบื้องต้นของการผลิตน้ าประปาและ
บาบัดน้ าเสีย

วิศวกรรมการทาง (Highway Engineering) ระบบทางกลวง องค์กรและสมาคมที่เกี่ยวข้อง การ
วางแผนและประเมินทางหลวง ลักษณะของผูใช้ถนน ยวดยาน การจราจร และถนน การออกแบบ
                                            ้
ทางเรขาคณิต การระบายน้ า วิศวกรรมการจราจรเบื้องตัน วัสดุการทาง การออกแบบผิวจราจร
เบื้องต้น วิธีการก่อสร้าง การบารุ งรักษาและปรับปรุ งทางหลวง

ปฏิบติการวิศวกรรมการทาง (Highway Engineering Laboratory) การวิเคราะห์วสดุมวลคละ การ
    ั                                                                 ั
ทดสอบแอสฟัลท์ซีเมนต์ – อิมลซิฟายด์ และคัทแบคแอสฟัลท์ การทดสอบแอสฟัลติกคอนกรี ต
                          ั

การฝึ กงาน (Practical Training) นักศึกษาแต่ละคนจะต้องผ่านการฝึ กงานในสถานที่ฝึกงานอยูไม่
                                                                                     ่
น้อยกว่า 30 วันทาการ การฝึ กงานจะต้องได้รับการอนุมติจากคณะกรรมการจัดหาฝึ กงานของคณะ
                                                    ั
วิศวกรรม ศาสตร์ และนักศึกษาจะต้องส่งบันทึกรายงานการฝึ กงานเพื่อประกอบการประเมินผล
ด้วย

ระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์สาหรับวิศวกร (Geographic Information System for Engineers) ความรู้
เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ (GIS) ระบบคอมพิวเตอร์สาหรับ GIS ซอฟแวร์สาหรับ
GIS ฐานข้อมูลและ การจัดการระบบฐานข้อมูลการเก็บรวบรวมข้อมูล การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล
การวิเคราะห์ขอมูล และการแสดงผลข้อมูลในเชิงภูมิศาสตร์พร้อมคาอธิบายที่เกี่ยวข้องเพื่อวัตถุ
                ้
ประสงค์ต่างๆ

การออกแบบคอนกรี ตเสริ มเหล็ก (Reinforced Concrete Design) ส่วนต่าง ๆ ของอาคารคอนกรี ต
เสริ มเหล็กและการคิดน้ าหนัก การออกแบบส่วนต่าง ๆ ของอาคารโดยวิธีหน่วยแรงปลอดภัย และ
วิธีแรงประลัย ได้แก่ คาน พื้นทางเดียว พื้นสองทาง พื้นไร้คาน บันได เสารับน้ าหนักตรงศูนย์และ
เยื้องศูนย์ ฐานราก ทฤษฎีเส้นคลากเบื้องต้น
การออกแบบโครงสร้างเหล็กและไม้ (Steel and Timber Design) คุณสมบัติเชิงกลและเชิงกายภาพ
ของโครงสร้างเหล็กและไม้ การออกแบบชิ้นส่วนรับแรงดัด แรงดึง แรงอัดและแรงผสม การ
ออกแบบรอยต่อโครงสร้างเหล็ก รอยต่อโครงสร้างไม้ คานเหล็กประกอบ โครงข้อหมุนเหล็กและ
คานไม้อด
       ั

การออกแบบคอนกรี ตอัดแรง (Prestressed Concrete Design) หลักการ วิธีการ และวัสดุที่ใช้ในการ
อัดแรง การวิเคราะห์และออกแบบโดยวิธีอิลาสติกสาหรับคานคอนกรี ตอัดแรงแบบง่าย กาลังดัด
และกาลังเฉือนของหน้าตัดคอนกรี ตอัดแรง ปริ มาณสูญเสียของการอัดแรง การออกแบบที่ยด การึ
โก่งคานแบบผสม

การออกแบบอาคาร (Building Design) การวางฝังและการออกแบบอาคารอุตสาหกรรมชั้นเดียว
อาคารหลายชั้นและอาคารสูง โดยพิจารณาถึงการออกแบบระบบไฟฟ้ า ระบบประปา ระบบ
สุขาภิบาลและระบบเครื่ องกลในอาคาร

วิธีการทางคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง (Computer Method of Structural Analysis)
วิธีเฟลกซิบิลิตี วิธีสติฟเนส วิธีไดเร็ คสติฟเนส โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับการวิเคราะห์
โครงสร้าง

การออกแบบโครงสร้างรับแรงแผ่นดินไหว (Seismic Design of Structures) เปลือกโลก สาเหตุของ
แผ่นดินไหว องค์ประกอบของโครงสร้าง ระบบพื้นประเภทแข็งหรื ออ่อน องค์ประกอบรับแรง
แนวดิ่ง ระบบโครงสร้างกาแพงรับแรงเฉือน โครงยึด โครงข้อแข็งที่มีความเหนียว ความเหนียวของ
โครงสร้าง รายละเอียดของโครงสร้าง

ความปลอดภัยและความน่าเชื่อถือของโครงสร้าง (Structural Safety and Reliability) ความรู้
เบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยและความน่าเชื่อถือของโครงสร้าง ทบทวนทฤษฎีความน่าจะเป็ น
การแจกแจงชนิดที่ใช้กนโดยสามัญ ทฤษฎีความน่าเชื่อถือ การจาลองตัวแปรร่ วมในงานวิศวกรรม
                        ั
โยธา การจาลองน้ าหนักบรรทุก ความต้านทานและการตอบสนองของโครงสร้าง วิธีวิเคราะห์ความ
น่าเชื่อถือ วิธีคาตอบถูกต้อง วิธีคาตอบประมาณ ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์สาหรับวิเคราะห์ความ
น่าเชื่อถือมาตรฐานอาคารในปัจจุบน และการจัดทามาตรฐานโดยอาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็ น
                                    ั

วัสดุก่อสร้าง (Construction Materials) ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ มวลคละในคอนกรี ต น้ าและ สาร
ผสมเพิมสาหรับคอนกรี ต คุณสมบัติของคอนกรี ตสดและคอนกรี ตที่แข็งตัวแล้ว การบ่ม การ
        ่
ออกแบบ ส่วนผสมของคอนกรี ต ชนิดและคุณสมบัติของเหล็กโครงสร้าง คุณสมบัติเชิงกลและเชิง
กายภาพของไม้ การรักษาไม้ ไม้อด อิฐและคอนกรี ตบล็อค ผลิตภัณฑ์จากคอนกรี ต ซีเมนต์-แอส
                             ั
เบสตอส พลาสติก เซรามิก ยางมะตอย และสี

ปฏิบติการวัสดุก่อสร้าง (Construction Materials Laboratory) การทดสอบคุณสมบัติของวัสดุ
     ั
ก่อสร้าง ซึ่งได้แก่ ซีเมนต์ : ความละเอียดและเวลาก่อตัวของซีเมนต์ มวลคละ: สารอินทรี ยเ์ จือปน
ค่าสมมูลทราย การพองตัว การกระจาย ขนาดหน่วยน้ าหนัก ความถ่วงจาเพาะ การดูดซึม ความ
ต้านทานต่อการขัดสี คอนกรี ต: ปริ มาณอากาศ ความข้นเหลว โมดูลสของความยืดหยุน กาลังอัด
                                                                 ั             ่
กาลังดึงและกาลังดัด โลหะ: กาลังดึง และกาลังบิดของเหล็กกล้า อลูมิเนียม เหล็กหล่อ ทองเหลือง
ไม้:ความแข็ง กาลังฉีก กาลังเฉือน กาลังอัด และกาลังดัด

การจัดการและเทคนิคการก่อสร้าง (Construction Technique and Management) ขั้นตอนและ
เทคนิคการก่อสร้างอาคาร ถนน สะพาน เขื่อน อุโมงค์ ระบบท่อและงานสุขาภิบาล การบริ หารงาน
ก่อสร้าง การประมาณราคา การวางแผนงานก่อสร้าง การเงินและวัสดุ แรงงานและเครื่ องจักร เนท
เวอร์คและซีพีเอ็มเบื้องต้น การจัดองค์กร การควบคุมค่าใช้จ่าย การตรวจสอบ การวิเคราะห์ทาง
เศรษฐศาสตร์ของงานก่อสร้าง

การประมาณและวิเคราะห์ราคา (Construction Cost Estimation and Analysis) หลักการประมาณ
ราคา การประมาณอย่างหยาบ การประมาณอย่างละเอียด การประมาณอย่างต่อเนื่อง การวิเคราะห์
ต้นทุนของแรงงานและเครื่ องจักร การวิเคราะห์ประสิทธิผล ยุทธวิธีการประมูล วิธีการประมูลแบบ
A+B

เทคโนโลยีคอนกรี ต (Concrete Technology) ส่วนผสมและชนิดของคอนกรี ต การเคลื่อนย้าย การ
หล่อ และการตรวจสอบรับคอนกรี ต ข้อกาหนดมาตรฐานคุณสมบัติของคอนกรี ต การออกแบบ
ส่วนผสม การควบคุมคุณภาพคอนกรี ต คอนกรี ตชนิดพิเศษ สารผสมเพิ่ม การทดสอบคอนกรี ตและ
ส่วนผสม

การวางแผนโครงการ (Project Planning) กระบวนการวางแผน การกาหนดเงื่อนไขและปัญหา การ
วิเคราะห์หาความต้องการด้านเทคนิค ความเหมาะสมด้านการเงิน และเศรษฐศาสตร์ การทา
งบประมาณต้นทุน การพิจารณาถึงผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อม การตัดสินใจในกรณี มี
หลายวัตถุประสงค์ การวางแผนขั้นสุดท้ายและการทาให้เป็ นผล

เทคโนโลยีแอสฟัลท์ (Asphalt Technology) จุดกาเนิดและอุตสาหกรรมการผลิตแอสฟัลท์ ผิว
จราจรแอสฟัลท์สาหรับยวดยาน วัสดุสาหรับผิวจราจรแอสฟัลท์ ประเภทของการก่อสร้างผิวจราจร
แอสฟัลท์ คุณสมบัติและการทดสอบ ข้อกาหนด ชนิดของหิน การผสมส่วนคละ การออกแบบ
ส่วนผสม การผลิตและการก่อสร้างคอนกรี ตแอสฟัลท์ การดูแลปรับปรุ งผิวบน การบารุ งรักษาผิว
จราจรแบบแอสฟัลท์ การผสมร้อน การนากลับมาใช้ใหม่

โครงสร้างดิน (Earth Structures) การใช้ดินเป็ นวัสดุก่อสร้าง การบดอัดดินและคุณสมบัติของดินที่
บดอัด ปัญหาเกี่ยวกับการซึมของน้ า การวิเคราะห์เสถียรภาพของความลาด การวิเคราะห์ออกแบบ
และก่อสร้างทานบดินและเขื่อนดิน

ฐานรากแบบเสาเข็มและการปรับปรุ งดิน (Pile Foundation and Soil Improvement) การหากาลังรับ
น้ าหนักสูงสุดด้วยวิธีทางสถิตยศาสตร์และพลศาสตร์ การวิเคราะห์การทรุ ดตัว การออกแบบเสาเข็ม
รับแรงด้านข้าง การรับแรงของเสาเข็มแบบกลุ่มและเสาเข็มแพ แรงเสียดทานย้อนกลับ เสาเข็มใน
ดินที่มีการพองตัวและหดตัว การโก่งหักของเสาเข็มทรงชะลูด การทดสอบเสาเข็ม วิธีการปรับปรุ ง
ดินโดยวิธีบดอัด การอัดแน่นโดยน้ าหนักบรรทุกที่ผวดิน การฉีดอัดสารเพื่อการอุดแน่น การเติม
                                               ิ
สารและการเสริ มกาลังรับน้ าหนักของดิน

วิศวกรรมธรณี สิ่งแวดล้อม (Geoenvironmental Engineering) ความสาคัญของทรัพยากรดินและ
แหล่งน้ าใต้ดินในทางวิศวกรรม แหล่งกาเนิดและชนิดของการปนเปื้ อน กลไกการเคลื่อนที่ของสาร
ปนเปื้ อนในตัวกลางพรุ น องค์ประกอบของระบบเก็บกักกากของเสีย หน้าที่และประเภทของวัสดุ
กันซึมในการควบคุมการเคลื่อนที่ของสารปนเปื้ อน วัสดุกนซึมธรรมชาติและวัสดุธรณี สงเคราะห์
                                                     ั                        ั
การติดตามและปรับปรุ งคุณภาพของดินและแหล่งน้ าใต้ดิน

ชลศาสตร์ของน้ าใต้ดิน (Groundwater Hydraulics) กลศาสตร์การไหลผ่านตัวกลางพรุ น กฏของดาร์
ซี่ ระบบชั้นน้ าใต้ดิน สมการการไหลในระบบชั้นน้ าใต้ดิน สมการการเคลื่อนที่ของสารละลายใน
น้ าใต้ดิน การวิเคราะห์การไหลในสภาพอิ่มตัวด้วยน้ า แบบการไหลการวิเคราะห์การไหลในสภาพ
ไม่อ่มตัวด้วยน้ า การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของสารละลายในน้ าใต้ดิน แบบจาลองเชิงตัวเลขของ
      ิ
การไหลในระบบน้ าใต้ดิน

วิศวกรรมทรัพยากรน้ า (Water Resources Engineering) ทบทวนความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุทกวิทยา
และชลศาสตร์ ประเภทของแหล่งน้ าและการใช้ประโยชน์ การวางแผนพัฒนาแหล่งน้ า หลักการ
ออกแบบแหล่งน้ าประเภทต่างๆ การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ของระบบแหล่งน้ า

วิศวกรรมชลประทานและการระบายน้ า (Irrigation and Drainage Engineering) ความต้องการน้ า
ความสัมพันธ์ของน้ าและดิน คุณภาพน้ า วิธีการชลประทาน โครงสร้างทางชลประทาน การ
ประมาณการไหล การระบายน้ าฝนจากพื้นที่เมือง การระบายน้ าจากพื้นดิน การระบายน้ าจากถนน
ท่อลอดและสะพาน
โครงสร้างทางชลศาสตร์ (Hydraulic Structures) หลักการทางชลศาสตร์ที่ใช้ในการออกแบบ การ
ออกแบบอาคารทางชลศาสตร์ซ่ึงประกอบด้วย เขื่อน ทางระบายน้ าล้นและคลองส่ง อาคารสลาย
พลังงาน อาคารลดระดับ ประตูน้ า อาคารยกระดับน้ า อาคารวัดปริ มาณการไหลแบบต่าง ๆ และ
ระบบการส่งน้ าตามคลอง

การบริ หารงานวิศวกรรม (Engineering Management) การบริ หารจัดการทางวิศวกรรม
(องค์ประกอบของการบริ หารจัดการ) การจัดองค์กร (ทฤษฎีการจัดองค์กร) การบริ หารจัดการ
โครงการ (รู ปแบบการบริ หารจัดการโครงการ) การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตหรื อเพิ่มผลผลิต
งบประมาณ และการประมาณการ สัญญาในงานวิศวกรรม (รู ปแบบสัญญาและการเลือกใช้ความ
เสี่ยง และการบริ หารจัดการท่ามกลางความเสี่ยง) การประกันภัย การวางแผนโครงการทาง
วิศวกรรม (องค์ประกอบและปัจจัยในการวางแผน) การบริ หารทรัพยากร-บุคคล (การพัฒนาทักษะ
หรื อศึกยภาพของทรัพยากรบุคคล มนุษย์สมพันธ์ในองค์กร) สวัสดิภาพและความปลอดภัยในงาน
                                       ั
วิศวกรรม ข้อมูลข่าวสารในองค์กร (การสื่อสารในองค์กร) การติดตามความก้าวหน้า การประเมิน
และควบคุมการคุมโครงการ ข้อพิพาทเรี ยกร้องและวิธีระงับ

วิศวกรรมการขนส่ง (Transportation Engineering) ระบบการขนส่ง การดาเนินการและการควบคุม
ยวดยานขนส่ง การวางแผนและการประเมินการขนส่ ง การออกแบบสิ่งอานวยความสะดวกเกี่ยวกับ
การขนส่งทางบก ทางน้ า และทางอากาศ

การออกแบบผิวจราจร (Pavement Design) ชนิดของผิวจราจร น้ าหนักล้อ หน่วยแรงในผิวจราจร
แบบยืดหยุนและแบบแข็ง ยวดยานและการจราจร คุณสมบัติและการทดสอบส่วนประกอบของผิว
         ่
จราจร การออกแบบผิวจราจรแบบยืดหยุนและแบบแข็งสาหรับถนนและสนามบิน การก่อสร้าง-
                                  ่
การประเมินและการปรับปรุ งผิวจราจร

วิธีการคานวณในวิศวกรรมโยธา (Computational Methods in Civil Engineering) ความรู้เบื้องต้น
เกี่ยวกับการคานวณทางวิศวกรรม การแก้ระบบสมการพีชคณิ ตเชิงเส้น การแก้ปัญหาย้อนกลับ
ปัญหาค่าไอเกน การแก้สมการนอนลิเนียร์ วิธีการเชิงตัวเลขสาหรับการแก้สมการดิฟเฟอร์เรนเชียล
แบบธรรมดาและแบบพา ร์เชี่ยล

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางวิศวกรรมโยธา (Computer Softwares in Civil Engineering) ทบทวน
ความรู้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์และการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ศึกษาโปรแกรมสาเร็ จรู ปที่
ใช้สาหรับการวิเคราะห์ออกแบบทางวิศวกรรมโยธา เช่น การวิเคราะห์โครงสร้าง การออกแบบ
โครงสร้าง การวิเคราะห์ทางอุทกวิทยาและชลศาสตร์ การจัดการงานก่อสร้าง การสร้างภาพด้วย
คอมพิวเตอร์ เป็ นต้น
งานโครงการวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering Project) ศึกษาผลงานที่เกี่ยวข้องกับหัวข้องาน
โครงการที่เลือกขึ้น โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึ กษา เค้าโครงงานโครงการที่จดทาขึ้นซึ่ง
                                                                              ั
ประกอบด้วยวัตถุประสงค์ วิธีการและแผนงาน โดยจะต้องนาเสนอโดยการสอบปากเปล่าก่อนการ
ดาเนินการโครงการเพื่อการประเมิน แนวความคิด

การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering Seminar) ศึกษา ค้นคว้า และอภิปราย
แลกเปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับหัวข้อทางวิชาการในปัจจุบนที่น่า สนใจ ตลอดจนการฟังคาบรรยาย
                                                   ั
จากวิทยากรพิเศษ

หัวข้อศึกษาชั้นสูงทางวิศวกรรมโยธา (Advanced Study Topics in Civil Engineering) ศึกษาหัวข้อ
ที่น่าสนใจในปัจจุบนเกี่ยวกับวิทยาการใหม่ๆ ด้านวิศวกรรมโยธาที่จะเป็ นประโยชน์ต่อการวิจย
                   ั                                                                  ั
และการประกอบวิชาชีพ

*ทั้งนี้รายวิชาในข้างต้นบางรายวิชาอาจจะไม่มีการเรี ยนการสอน ขึ้นอยูกบหลักสูตรของแต่ละ
                                                                   ่ ั
สถาบันการศึกษา

วิศวกรโยธา-Civil-Engineer
นิยามอาชีพ

Civil-Engineer ได้แก่ผวางแผน จัดระบบงานและควบคุมงานสร้างถนน สะพาน อุโมงค์ และสิ่ง
                      ู้
อานวยความสะดวกในการขนส่งต่างๆ ทางานเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคาร ตลอดจน การติดตั้งการ
ใช้ และการบารุ งรักษาระบบไฮดรอลิก และระบบสุขาภิบาล ทาการตรวจตรา และทดสอบทางาน
วิจยและให้คาแนะนาทางเทคนิคต่างๆ
   ั

ลักษณะของงานที่ทา

วางแผน จัดระบบงาน และควบคุมงานสร้างถนน สะพาน อุโมงค์ และสิ่งอานวยความสะดวกใน
การขนส่งต่างๆ
ทางานเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคาร ตลอดจนการติดตั้ง การใช้ และการบารุ งรักษาระบบไฮดรอลิก
และระบบสาธารณสุขอื่นๆ
พิจารณาโครงการ และทางานสารวจเพื่อหาสถานที่ที่เหมาะสมที่สุดสาหรับการก่อสร้าง
สารวจและประเมินลักษณะ และความหนาแน่นของการจราจรทางอากาศ ทางบก และทางน้ าเพื่อ
พิจารณาว่าจะมีผลต่อโครงการอย่างไรบ้าง
สารวจดูพ้ืนผิวดินและใต้ผวดินว่าจะมีผลต่อการก่อสร้างอย่างใด และเหมาะสมที่จะรองรับ
                          ิ
สิ่งก่อสร้างเพียงใด
ปรึ กษาหารื อในเรื่ องโครงการกับผูชานาญงานสาขาอื่นๆ เช่น วิศวกรไฟฟ้ า หรื อวิศวกรช่างกล วาง
                                  ้
แผนผังรากฐาน ท่อสายไฟ ท่อต่างๆ และงานพื้นดินอื่นๆ คานวณความเค้น ความเครี ยด จานวนน้ า
ผลอันเนื่องมาจากความแรงของลมและอุณหภูมิ ความลาด และเหตุอื่นๆ
เตรี ยมแบบแปลนรายงานก่อสร้าง และจัดทาประมาณการวัสดุและประมาณการราคา
เลือกชนิดของเครื่ องมือขนย้ายดิน เครื่ องชักรอก เครื่ องจักรกล และเครื่ องมืออื่นๆ ที่จะใช้ในงาน
ก่อสร้าง
จัดทาตารางปฎิบติงานและควบคุมให้การปฎิบติงานไปตามแผนที่วางไว้ ทดสอบ และตรวจดู
                  ั                           ั
โครงสร้างทั้งเก่า และใหม่ ตลอดจนวางแผนและจัดระบบงานซ่อม

สภาพการจ้างงาน

ผูประกอบวิศวกรโยธา-Civil- Engineer ได้รับค่าตอบแทนการทางานเป็ นเงินเดือน ตามวุฒิ
  ้
การศึกษา โดยวิศวกรโยธาที่ไม่มีประสบการณ์ในการทางานจะได้รับเงินเดือนในอัตรา ดังนี้
    ประเภทองค์กร เงินเดือน
      ราชการ          6,360
     รัฐวิสาหกิจ       7,210
       เอกชน      12,000 - 18,000

ทางานสัปดาห์ละ 40 ชัวโมง อาจจะต้องมาทางานวันเสาร์ อาทิตย์ หรื อวันหยุด อาจจะต้องทางาน
                      ่
ล่วงเวลา ในกรณี ที่ตองการให้งานที่ได้รับมอบหมายเสร็ จให้ทนต่อการใช้งาน นอกจาก
                    ้                                    ั
ผลตอบแทนในรู ปเงินเดือนแล้วในภาครัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนอาจได้รับผลตอบแทนในรู ปอื่น
เช่นค่ารักษาพยาบาล เงินสะสม เงินช่วยเหลือสวัสดิการในรู ปต่างๆ เงินโบนัส เป็ นต้น

สภาพการทางาน

สถานที่ทางานของวิศวกรโยธาจะมี สภาพเหมือนที่ทางานทัวไป คือ เป็ นสานักงานที่มีอุปกรณ์ สิ่ง
                                                     ่
อานวยความสะดวกเช่นสานักงานทัวไป แต่โดยลักษณะงานที่จะต้องควบคุมงานสารวจ ก่อสร้าง
                                  ่
หรื อซ่อมแซม จึงจาเป็ นที่จะต้องตรวจดูงานนอกสถานที่ในบางครั้ง เนื่องจากต้องควบคุมดูแลงาน
ให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สาหรับงานหรื อสถานที่ทางานที่เสี่ยงต่อความไม่
ปลอดภัย ในการทางาน วิศวกรโยธาจึงต้องใช้อุปกรณ์คุมครองส่วนบุคคลในขณะปฏิบติงาน
                                                 ้                             ั
คุณสมบัตของผู้ประกอบอาชีพ
        ิ

Civil-Engineer ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
1. สาเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี สาขาวิศวกรรมโยธา
2. เป็ นผูที่มีความคิดสร้างสรรค์ มุ่งมัน ค้นคว้าอย่างต่อเนื่องเพื่อหาวิธีที่ประหยัด และ มี
            ้                          ่
ประสิทธิภาพมากขึ้น
3. มีวิสยทัศน์ และสนใจกับเหตุการณ์ ข่าวสารที่เกิดขึ้นตลอดเวลา รับฟังความคิดเห็นของผูอื่น และ
          ั                                                                                ้
มีจรรยาบรรณของวิศวกร
4. มีความอดทนและเข้มแข็งทั้งร่ างกาย และจิตใจ มีอารมณ์เยือกเย็น มีความคิดสุขุม
5. มีลกษณะเป็ นผูนา ทั้งนี้งานส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการควบคุมคนเป็ นจานวนมาก
        ั           ้
6. มีพ้ืนฐานความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์ ภาษาอังกฤษและคณิ ตศาสตร์เป็ นอย่างดี
7. ผูประกอบอาชีพวิศวกรในทุกสาขาควรจะมีใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมเพื่อใช้ใน การรับรอง
     ้
สาหรับการประกอบอาชีพ ซึ่งต้องมีคุณสมบัติ และวุฒิการศึกษาตามข้อกาหนด โดยจะขอรับ
ใบอนุญาตได้ที่ กองวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สังกัดในกระทรวงมหาดไทย


ผู้ที่จะประกอบวิศวกรโยธา-Civil-Engineer ควรเตรียมความพร้ อมดังต่อไปนี้ :

ต้องเป็ นผูที่สาเร็ จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาวิทยาศาสตร์ หรื อประกาศนียบัตร
           ้
วิชาชีพจากสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ เพื่อเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา
ระยะเวลาการศึกษา 4 ปี เมื่อสาเร็ จ การศึกษาแล้วจะได้ปริ ญญาวิศวกรรมศาสตร์บณฑิต (วศ.บ.) ใน
                                                                             ั
สาขาวิศวกรโยธา หรื อ เป็ นผูสาเร็ จ การศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ที่ศึกษา
                              ้
เกี่ยวกับทางด้านช่างจากสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ เพื่อเข้าศึกษาต่อ
ระดับอุดมศึกษา ระยะเวลาการศึกษา 2 ปี (หลักสูตรต่อเนื่อง) เมื่อสาเร็ จการศึกษาแล้วจะได้ปริ ญญา
วิศวกรรมศาสตร์บณฑิต (วศ.บ.) ในสาขาวิศวกรโยธา
                      ั

โอกาสในการมีงานทา

สาหรับแหล่งจ้างงานวิศวกรโยธา โดยทัวไปจะเป็ นสถานประกอบกิจการทัวไป หรื อ หน่วยงาน
                                   ่                              ่
ราชการ และรัฐวิสาหกิจ เนื่องจากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจที่ประเทศกาลังประสบปัญหาอยูในช่วงนี้
                                                                             ่
ทาให้การลงทุนเพื่อขยายตัวชะงักไป การก่อสร้างอาคารสาหรับการพักอาศัย หรื อสาหรับเป็ น
อาคารสานักงานจะไม่ค่อยมีโครงการใหญ่ๆ หรื อโครงการใหม่เกิดขึ้นมากนักแต่จะยังคงมี
โครงการงานการก่อสร้าง สิ่งอานวยความสะดวกในการขนส่งต่างๆ เช่น ถนน สะพานทางหลวง
แนวโน้มความต้องการของตลาด แรงงานในภาคอุตสาหกรรมขณะนี้ยงคงที่ตามภาวะทางเศรษฐกิจ
                                                                    ั
ของประเทศ ในขณะนี้กาลังมีการดาเนินงานก่อสร้างสาธารณูปโภคโครงการใหญ่ๆ เช่น รถไฟฟ้ า
ใต้ดิน ซึ่งยังมีความต้องการบุคลากรด้านนี้ และ คาดว่าจะมีการแข่งขันเพื่อเข้าทางานสูง เนื่องจากมี
แรงงานเก่าที่คางอยูและมีแรงงานใหม่ที่เพิงสาเร็ จ การศึกษาเข้าสู่ตลาดแรงงาน
                 ้ ่                     ่
เมื่อภาวะเศรษฐกิจดีข้ ึน ประเทศไทยที่กาลังอยูระหว่างการพัฒนาจะกลับฟื้ นตัวและ ขยายการ
                                             ่
ลงทุนขึ้นอีก ฉะนั้นงานสาหรับวิศวกรโยธาจะกลับมาเป็ นที่ตองการในตลาดแรงงานอีก ตามอัตรา
                                                          ้
การขยายตัวของอาคารก่อสร้าง และการพัฒนาประเทศโดยการลงทุนในการก่อสร้างสิ่งอานวย
ความสะดวกในการขนส่งต่างๆ

โอกาสความก้าวหน้ าในอาชีพ

ผูที่สาเร็ จการศึกษาด้านวิศวกร โยธาหากทางานเพิ่มประสบการณ์ และได้รับการอบรมในวิชาที่
  ้
เกี่ยวข้อง และมีความสามารถในการบริ หาร ก็สามารถเลื่อนขั้นเป็ นผูบริ หารโครงการได้สาหรับผูที่
                                                                  ้                       ้
ศึกษาเพิ่มเติมถึง ขั้นปริ ญญาโท หรื อปริ ญญาเอก สามารถที่จะเป็ นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยทัวไปได้
                                                                                      ่

อาชีพที่เกียวเนื่อง
           ่

วิศวกรโยธา (ก่อสร้างอาคาร) วิศวกรโยธา (ก่อสร้างถนนและทางหลวง) วิศวกรโยธา (ก่อสร้างท่า
อากาศยาน) วิศวกรโยธา (ก่อสร้างทางรถไฟ) วิศวกรรถไฟ วิศวกรโยธา (สุขาภิบาล) วิศวกร
สุขาภิบาล

สาขาย่ อย
วิศวกรรมโครงสร้าง (Structural Engineering)
         ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบและคานวณ สิ่งก่อสร้าง การศึกษาในสาขานี้จะเน้นในทางด้าน
         งานคานวณวิเคราะห์ ออกแบบโครงสร้างของสิ่งก่อสร้าง และแรงต้านทานของวัสดุ เพื่อ
         หาวัสดุและขนาดของวัสดุที่เหมาะสมกับงานนั้นๆ งานที่เกี่ยวข้องได้แก่ การก่อสร้าง
         อาคาร เขื่อนหรื อสะพาน เป็ นต้น

การวิเคราะห์ โครงสร้ าง

การวิเคราะห์ใด ๆ ในงานวิศวกรรมโครงสร้าง จะแบ่งออกเป็ น 3 ส่วน คือ

        การวิเคราะห์แรงภายนอกที่กระทากับ ชิ้นส่วน อาคารนั้น ๆ ที่ทาให้เกิด แรงดึง แรงอัด แรง
         เฉือน แรงบิด และโมเมนต์ดดั
    การวิเคราะห์แรงภายในที่เกิดขึ้นภายในวัสดุ ที่ถกกระทาจากแรงภายนอก ที่ทาให้เกิดความ
                                                       ู
         เค้น (Stress) และความเครี ยด (Strain) รวมไปถึงการเสียรู ป และการแอ่นตัว(Deflection)
         ของชิ้นส่วน
        การวิเคราะห์การเคลื่อนตัวของชิ้นส่วน เช่นการเสียรู ป และการแอ่นตัว(Deflection) ของ
         ชิ้นส่วน

ขั้นตอนในการวิเคราะห์ โครงสร้ าง

    1.   สร้างแบบจาลอง
    2.   คานวณแรงที่กระทาภายนอก
    3.   เลือกวัสดุและหน้าตัดโดยประมาณ
    4.   วิเคราะห์แรงที่เกิดขึ้น
    5.   เลือกวัสดุและขนาดให้สามารถรับแรงที่เกิดขึ้น
    6.   วิเคราะห์ซ้ าอีกครั้ง
    7.   ตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้ พร้อมกับค่าหน่วยแรงที่ยอมรับได้ และค่าการเสียรู ปหรื อการ
         เคลื่อนตัว

หลักพืนฐานในการวิเคราะห์ โครงสร้ าง
      ้

        สมการหลักในการวิเคราะห์โครงสร้าง คือ สมการความสมดุล (Statically Equilibrium)
            o ผลรวมแรงในแนวราบ = 0

            o ผลรวมแรงในแนวดิ่ง = 0

            o ผลรวมโมเมนต์ดด = 0
                              ั

        เสถียรภาพของโครงสร้าง (Structural Stability)

        ดีเทอร์มิเนซี่สถิตของโครงสร้าง (Statically Determinacy)
             o โครงสร้างประเภทดีเทอร์ มิเนททางสถิต (Determinate) หมายถึงโครงสร้างที่

                  สามารถวิเคราะห์ได้ดวยสมการสมดุลสถิตของโครงสร้าง
                                      ้
             o โครงสร้างอินดีเทอร์ มิเนท (Indeterminate) คือโครงสร้างที่ไม่สามารถวิเคราะห์ได้

                  ด้วยสมการสมดุลตามลาพัง
ทฤษฎีในการวิเคราะห์ กาลังของวัสดุ

      ทฤษฎีหน่วยแรงใช้งาน (Working Stress) จะพิจารณาจากความเค้นคราก (Yield Stress) คือ
       ขีดกาหนดสูงสุดของความยืดหยุนของวัสดุ
                                     ่
      ทฤษฎีกาลังประลัย (Ultimate Strength) จะพิจารณาจากกาลังประลัย (Ultimate Strength)
       คือขีดความสามารถสูงสุดของวัสดุ

วิศวกรรมก่อสร้างและการจัดการ (ConstructionEngineering and Management)
      ศึกษาเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคารเป็ นหลัก โดยเน้นศึกษาทางด้านระบบการสร้างอาคาร
      การวางแผนงาน การประเมินราคาค่าก่อสร้าง นอกจากนี้ ในบางสถาบันจะมีการสอน
      เกี่ยวกับระบบไฟฟ้ า ระบบปรับอากาศ และระบบสุขาภิบาลภายในอาคาร
วิศวกรรมขนส่ง (Transportation Engineering)
      ศึกษาแยกเป็ น 2 สาขาหลักคือระบบและวัสดุ โดยงานทางด้านระบบจะเน้นทางด้านการ
      วางผัง การจราจร และการจัดการทางด้านงานจราจร โดยทาการศึกษาถึงประโยชน์และ
      ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างระบบถนน สาหรับงานทางด้านวัสดุจะเน้นในการศึกษาวัสดุใน
      การทาถนน ได้แก่ คอนกรี ตและยางมะตอย เป็ นหลัก โดยศึกษาถึงกรรมวิธีในการสร้าง
      ถนนและปรับปรุ งถนน
วิศวกรรมเทคนิคธรณี (Geotechnical engineering)
      ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติทางด้านฟิ สิกส์และวิศวกรรมของดิน เพื่อการวิเคราะห์ ออกแบบ
      และแก้ปัญหาด้านวิศวกรรมโยธา
วิศวกรรมธรณี (Geological engineering)
      ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติทางด้านฟิ สิกส์ วิศวกรรมของหิน และธรณี วิทยาประยุกต์ เพื่อการ
      วิเคราะห์ ออกแบบ และแก้ปัญหาด้านวิศวกรรมโยธาและเหมืองแร่
วิศวกรรมสิ่ งแวดล้อม (Environmental Engineering)
      ศึกษาเกี่ยวกับการจัดการระบบสิ่งแวดล้อมในน้ าและในอากาศ การปรับปรุ งคุณภาพของ
      ของเสีย

วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม เป็ นงานทางวิศวกรรมที่เกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ ก่อสร้าง
ควบคุมดูแลระบบเพื่อแก้ไขปัญหาทางสิ่งแวดล้อม เช่น มลภาวะทางน้ า อากาศ เสียง ขยะ สารพิษ
อันตราย รวมทั้งงานที่เกี่ยวกับ ระบบประปา ระบบท่อภายในอาคาร งานสุขาภิบาล งานศึกษา
ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
กฎกระทรวงกาหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. 2550 ได้กาหนด
เพิ่มเติมสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเป็ นสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและ วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ได้แก่

      วิศวกรรมโยธา
      วิศวกรรมไฟฟ้ ากาลัง
      วิศวกรรมไฟฟ้ าสื่อสาร
      วิศวกรรมเครื่ องกล
      วิศวกรรมอุตสาหการ
      วิศวกรรมเหมืองแร่
      วิศวกรรมเคมี

ศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering) เป็ นวิศวกรรมศาสตร์ สาขาที่เกี่ยวกับการออกแบบ
พัฒนา วางแผน ควบคุม การวิจยดาเนินงาน จัดการและประเมินผลระบบโดยรวมซึ่งครอบคลุม
                             ั
ปัจจัยทุกๆด้านทั้ง บุคคล สารสนเทศ อุปกรณ์ พลังงาน วัสดุ รวมไปถึง การเงิน

วิศวกรรมอุตสาหการเป็ นงานทางด้านการประยุกต์ที่เกี่ยวกับการวิจยดาเนินงาน ทรัพยากรต่างๆ
                                                              ั
และปฏิสมพันธ์ระหว่างการดาเนินงานและทรัพยากร เพื่อบรรลุจุดประสงค์การดาเนินงานตาม
        ั
ทรัพยากรที่มีอยูอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้หลักการและวิธีการทางด้านการวิเคราะห์และ
                ่
สังเคราะห์ทางวิศวกรรมรวมถึงคณิ ตศาสตร์ สถิติ ฟิ สิกส์ การตลาด การบริ หารการจัดการ
สารสนเทศ เศรษฐศาสตร์ และ สังคมศาสตร์ จิตวิทยา

งานของวิศวกรอุตสาหการ จะเกี่ยวกับ การลดเวลาการปฏิบติงาน ค่าใช้จ่าย วัสดุ พลังงาน และ
                                                     ั
ทรัพยากรอื่นๆ รวมไปถึงงานการควบคุมคุณภาพของ การผลิตหรื อการดาเนินงานเพื่อให้อยูใน  ่
ระดับที่ตองการโดยหากลวิธีต่างๆ ในการพัฒนา ปรับปรุ ง แก้ไข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทางาน
         ้
ให้คุมค่าที่สุด
     ้

ขณะที่วิศวกรรมสาขาอื่นๆจะเกี่ยวกับทักษะเฉพาะทาง วิศวกรรมอุตสาหการจะถูกใช้อย่าง
กว้างขวางในงานหลายๆด้าน ทั้งทางอุตสาหกรรมตลอดจนงานบริ หารการดาเนินการต่างๆเช่น การ
จัดการรายได้ เช่น การจองที่นงของสายการบิน การจัดการคิวหรื อลาดับการบริ การของสวนสนุก
                               ั่
การวางระเบียบการปฏิบติงานในห้องปฏิบติการที่มีข้นตอนซับซ้อน การบริ หารห่วงโซ่อุปทาน
                           ั               ั      ั
การจัดการคลังพัสดุ การบริ หารการขนส่งและการกระจายสินค้า ดาเนินการและตรวจสอบการ
ควบคุมคุณภาพการ ผลิต การปรับปรุ งประสิทธิภาพหรื อวิธีการปฏิบติงานในโรงงานเพื่อให้ลด
                                                               ั
ค่าใช้จ่าย ที่ไม่จาเป็ นและคุณภาพที่สม่าเสมอของสินค้าโดยการลด ของเสียทั้ง 7 เช่น การรอคอย
การผลิตที่เกินความจาเป็ น รวมไปถึงการศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการใหม่ๆ การวิเคราะห์
จุดคุมทุน อัตราการคืนทุน
     ้

ถึงแม้คาว่า “วิศวกรรมอุตสาหการ” จะถูกใช้เพื่อสื่อถึงงานทางด้านการผลิตในโรงงาน แต่ใน
ปัจจุบนขอบข่ายของงานได้ครอบคลุมไปถึงงานด้านอื่นรวมถึง ธุรกิจการให้บริ การ สาขาอื่นๆที่
      ั
ใกล้เคียงกับวิศวกรรมอุตสาหการได้แก่ การวิจยดาเนินงาน การบริ การการจัดการ วิศวกรรมระบบ
                                            ั
วิศวกรรมการผลิต วิศวกรรมคุณภาพ การยศาสตร์ วิศวกกรรมการบารุ งรักษา วิทยาการบริ หาร
จัดการ วิศวกรรมความปลอดภัย การจัดการวิศวกรรม

สาหรับในประเทศไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็ นมหาวิทยาลัยแห่ งแรกที่จดตั้งภาควิชาวิศวกรรม
                                                                   ั
อุตสาหการ และตามมาด้วย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน และ สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าธนบุรี(มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) ตามลาดับ

วิศวกรรมแหล่งน้ า (Water Resource engineering)
      ศึกษาเกี่ยวกับงานทางด้านแหล่งน้ า ปริ มาณน้ าฝน และระบบการระบายน้ า รวมทั้งการ
      ก่อสร้างคู คลอง และแม่น้ า
วิศวกรรมสารวจ (Survey Engineering)
      ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการทารังวัดและงานทางด้านสารวจ สาหรับใช้ในทางด้านแผนที่ รวมถึง
      การศึกษาทางด้าน จีพเี อส (GPS) และ ภูมิสารสนเทศ

วิศวกรรมสารวจ เป็ นศาสตร์และเทคโนโลยีที่ เกี่ยวข้องกับการสารวจ บันทึก ประมวลผล วิเคราะห์
เผยแพร่ และ การใช้งานสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับตาแหน่ง ไม่ว่าจะเป็ นเชิงภูมิศาสตร์
(ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นบนผิวโลก) อวกาศ และใต้ดิน วิศวกรรมสารวจประกอบด้วยสาขาวิชาต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องกันเพื่อให้เข้าใจลักษณะแบบจาลองของปรากฏการณ์ทางกายภาพต่างๆ และสามารถ
ถ่ายทอดสิ่งเหล่านั้นลงมาเป็ นข้อมูลรู ปแผนที่ที่มีความถูกต้องและ น่าเชื่อถือทางตาแหน่งและข้อมูล
อธิบายปรากฏการณ์น้ นๆ สาขาวิชาวิศวกรรมสารวจประกอบด้วย
                         ั

       ระบบภูมิสารสนเทศ (Geo-Information System, GIS)
       การรังวัดด้วยสัญญาณระบบดาวเทียมนาหน (Global Navigation Satellite System, GNSS)
       การรังวัดและทาแผนที่จากภาพถ่ายทางอากาศ (Digital Photogrammetry)
       การรังวัดและทาแผนที่จากภาพดาวเทียมรายละเอียดสูง (High Resolution Satellite
        Imagery)
       การสารวจระยะไกล (Remote Sensing)
   การทาแผนที่ดวยคอมพิวเตอร์ (Computer-assisted Mapping)
                   ้
   งานรังวัดขั้นสูง (Geodetic Surveying) และงานรังวัดความละเอียดสูง (High Precision
    Measurement)
บรรณนุกรม
สานักบริ การเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ (สบทร.).”วิศวกรรมโยธา,”ประวัติ
เกี่ยวกับวิศวกรรมโยธา.25 สิ งหาคม 2544.< http://www.civilteam.net/> 15
สิ งหาคม 2554

More Related Content

What's hot

Adiciones, Agua, Aditivos y Fibras
Adiciones, Agua, Aditivos y FibrasAdiciones, Agua, Aditivos y Fibras
Adiciones, Agua, Aditivos y FibrasMarlon Valarezo
 
06 COMPACTACION 2023.pdf
06 COMPACTACION 2023.pdf06 COMPACTACION 2023.pdf
06 COMPACTACION 2023.pdfLuisLopez273366
 
Dosificacionodiseodemezclasdelconcreto 111121192729-phpapp01
Dosificacionodiseodemezclasdelconcreto 111121192729-phpapp01Dosificacionodiseodemezclasdelconcreto 111121192729-phpapp01
Dosificacionodiseodemezclasdelconcreto 111121192729-phpapp01Oscar Barreto
 
19. diseño sísmico de un edificio de albañilería confinada
19. diseño sísmico de un edificio de albañilería confinada19. diseño sísmico de un edificio de albañilería confinada
19. diseño sísmico de un edificio de albañilería confinadaHidenJaimeMachacaHua
 

What's hot (7)

8. mander
8. mander8. mander
8. mander
 
Adiciones, Agua, Aditivos y Fibras
Adiciones, Agua, Aditivos y FibrasAdiciones, Agua, Aditivos y Fibras
Adiciones, Agua, Aditivos y Fibras
 
06 COMPACTACION 2023.pdf
06 COMPACTACION 2023.pdf06 COMPACTACION 2023.pdf
06 COMPACTACION 2023.pdf
 
Dosificacionodiseodemezclasdelconcreto 111121192729-phpapp01
Dosificacionodiseodemezclasdelconcreto 111121192729-phpapp01Dosificacionodiseodemezclasdelconcreto 111121192729-phpapp01
Dosificacionodiseodemezclasdelconcreto 111121192729-phpapp01
 
Diseno mezclas sencico
Diseno mezclas sencicoDiseno mezclas sencico
Diseno mezclas sencico
 
MECANICA DE SUELOS-PLASTICIDAD
MECANICA DE SUELOS-PLASTICIDADMECANICA DE SUELOS-PLASTICIDAD
MECANICA DE SUELOS-PLASTICIDAD
 
19. diseño sísmico de un edificio de albañilería confinada
19. diseño sísmico de un edificio de albañilería confinada19. diseño sísmico de un edificio de albañilería confinada
19. diseño sísmico de un edificio de albañilería confinada
 

Similar to วิศวกรรมโยธา

GOOD_PRACTICE_FOR_ME_SITE_ENGINEER_TS170831.pdf
GOOD_PRACTICE_FOR_ME_SITE_ENGINEER_TS170831.pdfGOOD_PRACTICE_FOR_ME_SITE_ENGINEER_TS170831.pdf
GOOD_PRACTICE_FOR_ME_SITE_ENGINEER_TS170831.pdfPawachMetharattanara
 
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูง
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูงฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูง
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูงAmIndy Thirawut
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอNongkhao Eiei
 
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.Prachoom Rangkasikorn
 
Civil engineering, Naresuan University
Civil engineering, Naresuan UniversityCivil engineering, Naresuan University
Civil engineering, Naresuan UniversityJeerapongLaonamsai1
 
News343 tor
News343 torNews343 tor
News343 tortanidath
 
กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์พีพี ปฐพี
 
Computer14
Computer14Computer14
Computer14stampmin
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานpim12582
 
Present cr final
Present cr finalPresent cr final
Present cr finalnantapong
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานวางผังเมือง (ปริญญาโท) กรมโยธาธิการและผังเมือง
Loadแนวข้อสอบ พนักงานวางผังเมือง (ปริญญาโท) กรมโยธาธิการและผังเมืองLoadแนวข้อสอบ พนักงานวางผังเมือง (ปริญญาโท) กรมโยธาธิการและผังเมือง
Loadแนวข้อสอบ พนักงานวางผังเมือง (ปริญญาโท) กรมโยธาธิการและผังเมืองnawaporn khamseanwong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226Me'e Mildd
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานวางผังเมือง (ปริญญาตรี) กรมโยธาธิการและผังเมือง
Loadแนวข้อสอบ พนักงานวางผังเมือง (ปริญญาตรี) กรมโยธาธิการและผังเมืองLoadแนวข้อสอบ พนักงานวางผังเมือง (ปริญญาตรี) กรมโยธาธิการและผังเมือง
Loadแนวข้อสอบ พนักงานวางผังเมือง (ปริญญาตรี) กรมโยธาธิการและผังเมืองnawaporn khamseanwong
 
8957-Article Text-23727-26489-10-20170630.pdf
8957-Article Text-23727-26489-10-20170630.pdf8957-Article Text-23727-26489-10-20170630.pdf
8957-Article Text-23727-26489-10-20170630.pdfkhamsonez
 

Similar to วิศวกรรมโยธา (20)

GOOD_PRACTICE_FOR_ME_SITE_ENGINEER_TS170831.pdf
GOOD_PRACTICE_FOR_ME_SITE_ENGINEER_TS170831.pdfGOOD_PRACTICE_FOR_ME_SITE_ENGINEER_TS170831.pdf
GOOD_PRACTICE_FOR_ME_SITE_ENGINEER_TS170831.pdf
 
ภูมิสถาปนิก
ภูมิสถาปนิก ภูมิสถาปนิก
ภูมิสถาปนิก
 
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูง
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูงฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูง
ฐานข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงานสำหรับอาคารสูง
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
 
Civil engineering, Naresuan University
Civil engineering, Naresuan UniversityCivil engineering, Naresuan University
Civil engineering, Naresuan University
 
News343 tor
News343 torNews343 tor
News343 tor
 
วิศวกร
วิศวกรวิศวกร
วิศวกร
 
กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่2-3-4 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computer14
Computer14Computer14
Computer14
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
14 บทที่ 2 f
14 บทที่ 2 f14 บทที่ 2 f
14 บทที่ 2 f
 
computer
computercomputer
computer
 
Present cr final
Present cr finalPresent cr final
Present cr final
 
..
....
..
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานวางผังเมือง (ปริญญาโท) กรมโยธาธิการและผังเมือง
Loadแนวข้อสอบ พนักงานวางผังเมือง (ปริญญาโท) กรมโยธาธิการและผังเมืองLoadแนวข้อสอบ พนักงานวางผังเมือง (ปริญญาโท) กรมโยธาธิการและผังเมือง
Loadแนวข้อสอบ พนักงานวางผังเมือง (ปริญญาโท) กรมโยธาธิการและผังเมือง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานวางผังเมือง (ปริญญาตรี) กรมโยธาธิการและผังเมือง
Loadแนวข้อสอบ พนักงานวางผังเมือง (ปริญญาตรี) กรมโยธาธิการและผังเมืองLoadแนวข้อสอบ พนักงานวางผังเมือง (ปริญญาตรี) กรมโยธาธิการและผังเมือง
Loadแนวข้อสอบ พนักงานวางผังเมือง (ปริญญาตรี) กรมโยธาธิการและผังเมือง
 
8957-Article Text-23727-26489-10-20170630.pdf
8957-Article Text-23727-26489-10-20170630.pdf8957-Article Text-23727-26489-10-20170630.pdf
8957-Article Text-23727-26489-10-20170630.pdf
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

วิศวกรรมโยธา

  • 1. วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมโยธา (civil engineering) เป็ นศาสตร์ของสาขาหนึ่งในทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ครอบคลุมการก่อสร้างตึก ตึกระฟ้ า อาคาร สะพาน ถนน และระบบขนส่งอื่น ๆ รวมถึงระบบ สาธารณูปโภคต่างๆ เช่น เขื่อน คลอง ตลอดจนการ ทารังวัดในงานสารวจและแผนที่ รวมไปถึงการ วิเคราะห์ทางธรณี และชลศาสตร์ และการบริ หาร จัดการการก่อสร้าง งานในทางด้านวิศวกรรมจะ เน้นทางด้านการใช้วสดุและทรัพยากรให้เกิด ั ประโยชน์ สูงสุด ผูที่ประกอบวิชาชีพในสาขานี้ ้ เรี ยกว่า วิศวกรโยธา หรื อเรี ยกกันว่า นายช่าง ใน การทางานในประเทศไทย ผูที่ประกอบวิชาชีพจะ ้ ขึ้นทะเบียนกับสภาวิศวกรเพื่อรับ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม (กว.) โดยมีการจัดสอบ ระบบใหม่เริ่ มต้นเมื่อต้นปี พ.ศ. 2552 ด้วยระบบสุ่มข้อสอบทั้งหมดผ่านระบบคอมพิวเตอร์ (เฉพาะ ระดับ "ภาคีวิศวกร") การศึกษาทางด้านวิศวกรรมโยธานั้นนับว่ามีความสาคัญเป็ นอย่างยิงเนี่ อง จากการ พัฒนาทางด้าน ่ เทคโนโลยีในปัจจุบนนั้นมีความก้าวหน้าสามารถเรี ยกได้วาเป็ น การพัฒนาแบบก้าวกระโดดซึ่งมี ั ่ ผลโดยตรงกับการศึกษาทางด้านวิศวกรรมโยธาเช่นกัน ดังนั้นสถาบันการศึกษาหลายๆสถาบันจึง ได้มีการปรับปรุ งแผนการเรี ยนการสอนทาง ด้านวิศวกรรมโยธาให้มีความทันสมัยเพื่อผลิต บุคลากรทางด้านวิศวกรรมโยธา หรื อที่เรี ยกกันว่า “วิศวกรโยธา” ที่มีคุณภาพและตรงกับความ ต้องการของตลาดแรงงานมากขึ้น วิศวกรรมโยธาเป็ นสาขาวิศวกรรมที่เก่าแก่ที่สุด โดยตอบสนอง ความต้องการของสังคม วิศวกรรมโยธา (Civil Engineering) วิศวกรรมโยธาเป็ นสาขาที่กว้างขวางและมีบทบาทต่อสังคมมากที่สุดสาขา หนึ่งของ วิศวกรรมศาสตร์ งานของวิศวกรโยธาเกี่ยวพันกับการก่อสร้างอาคาร สะพาน เขื่อน ถนนและสิ่ง ปลูกสร้างอื่นๆอีกมากมาย วิศวกรโยธามีหน้าที่วางแผน ออกแบบและควบคุมการก่อสร้างตั้งแต่ งานขนาดเล็กไปจนถึงโครงการก่อสร้างขนาด ใหญ่ เช่น ตึกระฟ้ า ท่าอากาศยาน ศูนย์การผลิตและ ควบคุมบาบัดน้ าเสีย นอกจากนี้วิศวกรโยธายังมีบทบาทสาคัญในการคิดค้นและพัฒนาระบบขนส่ง
  • 2. และระบบ สาธารณูปโภคในอนาคต เช่น การออกแบบระบบรถไฟอนาคตซึ่งใช้แรงแม่เหล็กเพื่อ ออกแรงยกตัวและเคลื่อนที่ไป ข้างหน้า (Magnetic levitation trains) นิยามเกี่ยวกับอาชีพวิศวกรโยธา ออกแบบ คานวณ วางแผน จัดระบบงาน ควบคุมงานโครงการ พิจารณาตรวจสอบ ให้คาปรึ กษา ด้านการก่อสร้างอาคารโรงงาน อาคารสาธารณะ สะพาน อู่เรื อ เขื่อนกั้นน้ า กาแพงกั้นน้ า โครงสร้างอื่น รวมทั้งการติดตั้ง การใช้และการบารุ งเครื่ องจักรต่าง ๆ : พิจารณาโครงการ สารวจหา สถานที่ที่เหมาะสมที่สุดสาหรับการก่อสร้าง ; สารวจและประเมินลักษณะและความหนาแน่นของ การจราจรทางอากาศ ทางบก และทางน้ า เพื่อพิจารณาว่าจะมีผลต่อโครงการอย่างไร ; สารวจพื้นผิว ดินและใต้ผวดิน เพื่อนาไปออกแบบฐานรากที่เหมาะสม ปรึ กษาหารื อในการก่อสร้างกับ ิ ผูชานาญการสาขาอืน ๆ เช่น วิศวกรไฟฟ้ า วิศวกรสิ่งแวดล้อมหรื อวิศวกรเครื่ องกล กรณี ที่มการ ้ ่ ี ก่อสร้างงานระบบต่าง ๆ เพื่อกาหนดผังฐานรองท่อร้อยสายไฟฟ้ า ท่องานระบบต่าง ๆ และงานที่ เกี่ยวข้องอื่น ๆ ; คานวณหาค่าความเค้น ความเครี ยด ปริ มาณน้ า ความแรงของลมและอุณหภูมิ ความลาดและตัวแปรอื่น ๆ ที่มีผลต่อการคานวณออกแบบงานด้านโยธา ตรวจสอบแปลนรายการ ก่อสร้าง ปริ มาณวัสดุ และประมาณการราคาในงานโยธา ; กาหนดอุปกรณ์ เครื่ องจักรต่าง ๆ ในงาน ก่อสร้าง เช่น งานดินถมดินตัดในงานถนน งานเขื่อน งานโยธาชนิดอื่น ๆ ; วางแผนการปฏิบติงาน ั และควบคุมให้เป็ นไปตามแผนที่วางไว้ ; ทดสอบ ตรวจสอบโครงสร้างทั้งเก่าและใหม่เพื่อวิเคราะห์ ความมันคงแข็งแรง รวมทั้งควบคุมการซ่อมแซมกรณี ที่เกิดการชารุ ดเสียหายขึ้น ่ ลักษณะของงานที่วศวกรโยธาต้องรับผิดชอบ ิ วางแผน จัดระบบงาน และควบคุมงานสร้างถนน สะพาน อุโมงค์ และสิ่งอานวยความสะดวกใน การขนส่งต่างๆ ทางานเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคาร ตลอดจนการติดตั้ง การใช้และการบารุ งรักษา ระบบไฮดรอลิกและระบบสาธารณสุขอืนๆ พิจารณาโครงการ และทางานสารวจเพื่อหาสถานที่ที่ ่ เหมาะสมที่สุดสาหรับการ ก่อสร้าง สารวจและประเมินลักษณะ และความหนาแน่นของการจราจร ทางอากาศทางบก และทางน้ าเพื่อพิจารณาว่าจะมีผลต่อโครงการอย่างไรบ้าง สารวจดูพ้นผิวดินและื ใต้ผวดินว่าจะมีผลต่อการก่อสร้างอย่างใด และเหมาะสมที่จะรองรับสิ่งก่อสร้างเพียงใด ิ ปรึ กษาหารื อในเรื่ องโครงการกับผูชานาญงานสาขาอื่นๆ เช่น วิศวกรไฟฟ้ า หรื อวิศวกรช่างกล วาง ้ แผนผังรากฐาน ท่อสายไฟ ท่อต่างๆ และงานพื้นดินอื่นๆ คานวณความเค้น ความเครี ยด จานวนน้ า ผลอันเนื่องมาจากความแรงของลมและอุณหภูมิ ความลาด และเหตุอื่นๆ เตรี ยมแบบแปลนรายงาน ก่อสร้าง และจัดทาประมาณการวัสดุและประมาณการราคา เลือกชนิดของเครื่ องมือขนย้ายดิน เครื่ องชักรอก เครื่ องจักรกล และเครื่ องมืออื่นๆ ที่จะใช้ในงานก่อสร้าง จัดทาตารางปฏิบติงานและ ั
  • 3. ควบคุมให้การปฏิบติงานเป็ นไปตามแผนที่วางไว้ ทดสอบ และตรวจดูโครงสร้างทั้งเก่า และใหม่ ั ตลอดจนวางแผนและจัดระบบงานซ่อม ลักษณะการจ้างงานและการทางาน ผูประกอบอาชีพนี้ ได้รับค่าตอบแทนการทางานเป็ นเงินเดือน ตามวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ ้ ในการทางาน โดยส่วนใหญ่จะทางานสัปดาห์ละ 40 ชัวโมง อาจจะต้องมาทางานวันเสาร์ อาทิตย์ ่ หรื อวันหยุด อาจจะต้องทางานล่วงเวลา ในกรณี ที่ตองการให้งานที่ได้รับมอบหมายเสร็ จให้ทนต่อ ้ ั การใช้งาน นอกจากผลตอบแทนในรู ปเงินเดือนแล้วในภาครัฐวิสาหกิจและภาคเอกชนอาจได้รับผล ตอบแทนในรู ปอื่น เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินสะสม เงินช่วยเหลือสวัสดิการในรู ปต่างๆ เงินโบนัส เป็ นต้น สถานที่ทางานของวิศวกรโยธาจะมีสภาพเหมือนที่ทางานทัวไป คือ เป็ นสานักงานที่มี ่ อุปกรณ์ สิ่งอานวยความสะดวกเช่นสานักงานทัวไป แต่โดยลักษณะงานที่จะต้องควบคุมงานสารวจ ่ ก่อสร้าง หรื อซ่อมแซมจึงจาเป็ นที่จะต้องตรวจดูงานนอกสถานที่ในบางครั้ง เนื่องจากต้อง ควบคุมดูแลงานให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สาหรับงานหรื อสถานที่ทางานที่ เสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัย ในการทางาน วิศวกรโยธาจึงต้องใช้อุปกรณ์คุมครองส่วนบุคคลในขณะ ้ ปฏิบติงาน ั เนื้อหาที่ต้องเรียนรู้เมื่อเข้ ามาศึกษาทางด้ านวิศวกรรมโยธา การเขียนแบบวิศวกรรม 1 (Engineering Drawing I) การใช้เครื่ องมือเขียนแบบ ออโตกราฟฟิ ค โปรเจคชัน การเขียนภาพออโตกราฟฟิ ค การเขียนภาพพิคตอเรี ยล การกาหนดขนาดการเขียนภาพ ่ ตัด การสะเก็ดภาพด้วยมือ กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) คุณสมบัติของของไหล ของไหลสถิตย์ ชนิดของการไหล สมการควบคุมสภาพ โมเมนตัมเชิงเส้น สาหรับการไหลคงที่ ผลจากการเสียดทาน การไหลแบบ สม่าเสมอของของไหลอัดตัวไม่ได้ การไหลในท่อแบบราบเรี ยบและแบบปั่ นป่ วน การวัดการไหล การวิเคราะห์มิติ การไหลหนืดแบบราบเรี ยบ การประยุกต์งานของไหลในงานวิศวกรรม เช่น การ หล่อลื่น เครื่ องจักรกลของไหล การจาแนกประเภทและการประเมินสมรรถนะของเครื่ องกังหัน ชนิดหมุนเหวี่ยงและชนิด ในแนวแกน ปฏิบติการกลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics Laboratory) เครื่ องกังหันเพลตัน เครื่ องกังหันฟ ั รานซิส เครื่ องกังหันคาพาล การทดสอบสมรรถนะของปั๊ม การต่อปั๊มแบบอนุกรมและขนาน การ หล่อลื่นในแบริ่ ง
  • 4. ปฏิบติการวิศวกรรมโรงงาน (Engineering Workshop Practice) งานปรับแต่งโลหะ : การใช้ ั เครื่ องมือวัดอย่างง่าย งานตะไบ การทาเกลียวนอกและเกลียวใน งานโลหะแผ่น งานเชื่อมโลหะ : การเชื่อมแก๊ส การเชื่อมไฟฟ้ า การบัดกรี เครื่ องมือกลอย่างง่าย : การใช้เครื่ องเจาะ เครื่ องเลื่อย ค้อน สกัด สถิติวิศวกรรม (Engineering Statistics) ทฤษฎีความน่าจะเป็ น ตัวแปรสุ่ม การพิสูจน์เชิงสถิติ การ วิเคราะห์ความแปรปรวน สหสัมพันธ์และการหาสมการความสัมพันธ์ การใช้วิธีการทางสถิติเพื่อ เป็ นเครื่ องมือในการแก้ปัญหา วัสดุวิศวกรรม (Engineering Materials) การศึกษาวัสดุทางวิศวกรรม เช่น โลหะ พลาสติก แอส ฟัลท์ ไม้และคอนกรี ต การศึกษาเฟสไดอะแกรม การทดสอบคุณสมบัติวสดุ การศึกษาโครงสร้าง ั ทางจุลภาคและมหภาคที่สมพันธ์กบคุณสมบัติวสดุ กระบวนการผลิตสาหรับชิ้นส่วนต่างๆที่ใช้วสดุ ั ั ั ั วิศวกรรม โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับวิศวกร (Computer Programming for Engineer) ความเป็ นมาของ คอมพิวเตอร์ โครงสร้างโปรแกรม แผนภูมิ ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการคานวณ เช่น ฟอร์แทรน ปาสคาล วิชวลเบสิค แนะนาวิชาชีพวิศวกรรม (Introduction to Engineering) ประวัติวิศวกรรมศาสตร์ วิชาชีพ วิศวกรรมศาสตร์ แนวทางการแก้ปัญหาเชิงวิศวกรรม การคานวณทางวิศวกรรม วิชาพื้นฐานของ วิศวกรรมศาสตร์ การสื่อความหมายทางวิศวกรรม จรรยาบรรณทางวิชาชีพวิศวกรรม สถิตยศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Statics) ระบบแรง ผลรวมของแรง ความสมดุล ของไหล สถิตย์ คิเนติกส์และคิเนเมติกส์ของอนุภาคและวัตถุ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ความฝื ด หลักการ ของวิธีงานสมมุติ ความมันคง โมเมนต์ของการเคลื่อนที่ ่ กาลังวัสดุ 1 (Strength of Materials 1) หน่วยแรงและความเครี ยด คุณสมบัติกลของวัสดุ หน่วยแรง ดัดและหน่วยแรงเฉือนในคาน คานประกอบและคานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก หน่วยแรงบิด หน่วยแรง หลัก หน่วยแรงผสมและวงกลมโมร์ พลังงานความเครี ยดกับการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างของโครงสร้าง รอยต่อแบบหมุดย้า สลักเกลียวและรอยเชื่อม กาลังวัสดุ 2 (Strength of Materials II) การโก่งตัวของเสารับน้ าหนักตรงศูนย์ เสารับน้ าหนักเยื้อง ศูนย์ ชิ้นส่วนรับแรงดึงและแรงดัด คานโค้ง คานต่อเนื่องกับทฤษฎีไตรโมเมนต์ คานบนฐาน
  • 5. ยืดหยุน การบิดของชิ้นส่วนหน้าตัดไม่กลม การบิดของท่อผนังบางหน่วยแรงในภาชนะรับแรงดัน ่ ผนังบาง ความเข้มของหน่วยแรง แรงกระแทกและแรงกระทาซ้ า ทฤษฎีการวิบติ ั คณิ ตศาสตร์ประยุกต์สาหรับวิศวกรโยธา (Applied Mathematics for Civil Engineering) อนุกรมเท เลอร์ อนุกรมฟูเรี ยร์ ปัญหาค่าขอบเขตในเรื่ องคานและคานเสา ปัญหาค่าเริ่ มต้น เมตริ กซ์ และ ดี เทอร์มินน ระบบของสมการเชิงเส้น ปัญหาค่าไอเกนในเรื่ องการโก่งเดาะ ั การสารวจ 1 (Surveying I) หลักการพื้นฐานของการสารวจ เครื่ องมือในการสารวจ การทดสอบ และปรับแก้เครื่ องมือ การวัดและความคลาดเคลื่อน ความละเอียดและความถูกต้อง การวัด ระยะทาง โต๊ะแผนที่ การทาระดับ การสารวจด้วยเข็มทิศ การวัดมุมด้วยกล้องธีโอโดไลท์ การทา วงรอบ การหาพื้นที่สเตเดียและการสารวจด้วยสเตเดีย การสารวจ 2 (Surveying II) การทาโครงข่ายสามเหลี่ยมเบื้องต้น เส้นชั้นความสูง การคานวณงาน ดิน การแบ่งชั้นงานสารวจและการปรับแก้ การหาอาซิมมุทอย่างละเอียด การสารวจด้วยกล้องธีโอ โดไลท์แบบอิเล็กทรอนิกส์ การสารวจเส้นทาง การสารวจงานก่อสร้าง การทาแผนที่ การฝึ กงานสารวจภาคสนาม (Practical Training in Surveying) การฝึ กงานสารวจภาคสนาม งาน รังวัด/สารวจพื้นที่ การสร้างหมุดควบคุมทางราบและทางดิ่ง การจัดทาขอบเขตพื้นที่สารวจ การเก็บ รายละเอียดบนพื้นที่ การจัดทาแผนที่ภูมิประเทศ การคานวณหาปริ มาณงานเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ ทางวิศวกรรม การจัดทารายงานและเอกสารการสารวจ ธรณี วิทยาวิศวกรรม (Engineering Geology) โครงสร้างและลักษณะของผิวโลก แร่ หินและดิน การ ผุพง การกัดกร่ อน การเคลื่อนที่ของมวล การทับถม การก่อตัวของดิน แผ่นดินไหว ชั้นน้ าบาดาล ั ธรณี กาล แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่ธรณี วิทยา การสารวจทางธรณี วิทยาในงานวิศวกรรมโยธา วิศวกรรมชลศาสตร์ (Hydraulics Engineering) การจาแนกการไหลทางชลศาสตร์ หลักการพืนฐาน ้ ของการไหลซึ่งได้แก่ กฎแห่งการไม่สูญหายของมวล หลักการทางพลังงาน และหลักการทาง โมเมนตั้ม การไหลในท่อและอุโมงค์ปิด การไหลในทางน้ าเปิ ด การไหลในทางน้ าเปิ ดที่เปลี่ยน ขนาด การไหลผ่านจุดบังคับน้ า การไหลในสภาพไม่คงตัว การเคลื่อนที่ของคลื่น การเคลื่อนที่ของ ตะกอน ปฏิบติการวิศวกรรมชลศาสตร์ (Hydraulics Engineering Laboratory) การทดลองในหัวข้อที่ ั เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชา วิศวกรรมชลศาสตร์ ซึ่งจะช่วยให้นกศึกษาเข้าใจทฤษฎีและพฤติกรรมทาง ั ชลศาสตร์ได้ดีข้ ึน
  • 6. การเขียนแบบวิศวกรรม 2 (Engineering Drawing II) พื้นฐานการเขียนแบบด้วย CAD ระบบ 2 มิติ และ 3 มิติ การเขียนรู ปเรขาคณิ ต รู ปทรงต้น รู ปทรงพื้นผิว รู ปตัด ตัวอักษร มิติการเขียนแบบ ก่อสร้าง การพิมพ์แบบ ทฤษฎีโครงสร้าง (Structural Theory) เสถียรภาพและสถานภาพการหาคาตอบของโครงสร้าง การ วิเคราะห์คานโครงข้อหมุนและโครงข้อแข็งแบบหาคาตอบได้โดยง่าย เส้นอิทธิพลของคาน ระบบ พื้นคานและโครงข้อหมุนสะพานแบบหาคาตอบได้โดยง่าย การคานวณค่าวิกฤตสาหรับน้ าหนัก เคลื่อนที่และการเสียรู ปแบบยืดหยุนของโครง สร้างโดยวิธีงานสมมุติ วิธีของคาสติเกลียโน วิธี ่ โมเมนต์-พื้นที่ และวิธีคานเสมือน การวิเคราะห์โครงสร้าง (Structural Analysis) การวิเคราะห์คาน โครงข้อหมุนและโครงข้อแข็งแบบ ไม่สามารถวิเคราะห์ได้ดวยสมการสมดุลตามลาพัง โดยอาศัยหลักการพลังงาน ได้แก่วิธีความโก่ง ้ ความชัน และวิธีการกระจายโมเมนต์ เส้นอินฟลูเอ็นซ์สาหรับโครงสร้างแบบไม่สามารถวิเคราะห์ ได้ดวยสมการสมดุลตาม ลาพัง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงพลาสติก และวิธีวิเคราะห์ ้ โครงสร้างโดยใช้เมตริ กซ์ ปฏิบติการวิศวกรรมโครงสร้าง (Structural Engineering Laboratory) การวัดความเครี ยดโดยใช้ตว ั ั วัดความเครี ยดแบบเชิงกล แสง และไฟฟ้ าโฟโตอีลาสติกซิต้ ี การทดสอบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก คานคอนกรี ตอัดแรงคานเหล็กและเสา การทดสอบโครงเหล็กและโครงข้อหมุนจาลอง กลศาสตร์ดิน (Soil Mechanics) กาเนิดของดิน คุณสมบัติทางฟิ สิคส์ของดิน การจาแนกดิน การ สารวจดิน การไหลของน้ าในดิน ความเค้นในดิน กาลังเฉือนของดินเม็ดหยาบ กาลังเฉือนของดิน เม็ดละเอียด ทฤษฎีการอัดตัว การทรุ ดตัว การบดอัดดิน ปฏิบติการกลศาสตร์ดิน (Soil Mechanics Laboratory) การเก็บและเตรี ยมตัวอย่างดิน การหาความ ั ถ่วงจาเพาะ การวิเคราะห์ขนาดเม็ดดินโดยตะแกรงและไฮโดรมิเตอร์ พิกดแอทเทอร์เบิร์ค การ ั ทดลองหาความซึมผ่านได้ การทดลองการอัดตัวในทิศทางเดียว การทดลองหากาลังเฉือนโดยตรง การทดลองกดอัดทางเดียว การทดลองกดอัดสามทาง วิศวกรรมฐานราก (Foundation Engineering) การสารวจดิน การวิเคราะห์หากาลังรับน้ าหนัก บรรทุกและการทรุ ดตัวของฐานราก ฐานรากตื้นและฐานรากหยังลึก แรงดันด้านข้างของดิน การ ่ ออกแบบฐานรากตื้น การออกแบบฐานรากเสาเข็ม การออกแบบกาแพงกั้นดินและเข็มพืด เสถียรภาพของคันดิน
  • 7. อุทกวิทยา (Hydrology) ระบบและกระบวนการทางอุทกวิทยา วัฏจักรของน้ า การหมุนเวียนของ บรรยากาศและการตกของน้ าลงสู่ผวโลก การวิเคราะห์ขอมูลน้ าฝน คุณสมบัติและลักษณะของฝน ิ ้ การสูญหายทางอุทกวิทยา ลักษณะทางอุทกวิทยาและการไหลของน้ าใต้ผวดิน น้ าท่าและชลภาพ ิ การหาการเคลื่อนที่ของน้ า การทานายทางอุทกวิทยา การออกแบบทางอุทกวิทยา การสร้าง แบบจาลองและการจาลองสภาพทางอุทกวิทยา วิศวกรรมการประปาและสุขาภิบาล (Water supply and Sanitary Engineering) ระบบประปาและ ระบบน้ าเสีย ปริ มาณน้ าใช้และน้ าทิ้งในชุมชน แหล่งน้ าผิวดินและใต้ดิน ระบบท่อประปาและท่อ น้ าทิ้งในชุมชน คุณภาพน้ าในแหล่งน้ า ลักษณะของน้ าเสีย หลักเบื้องต้นของการผลิตน้ าประปาและ บาบัดน้ าเสีย วิศวกรรมการทาง (Highway Engineering) ระบบทางกลวง องค์กรและสมาคมที่เกี่ยวข้อง การ วางแผนและประเมินทางหลวง ลักษณะของผูใช้ถนน ยวดยาน การจราจร และถนน การออกแบบ ้ ทางเรขาคณิต การระบายน้ า วิศวกรรมการจราจรเบื้องตัน วัสดุการทาง การออกแบบผิวจราจร เบื้องต้น วิธีการก่อสร้าง การบารุ งรักษาและปรับปรุ งทางหลวง ปฏิบติการวิศวกรรมการทาง (Highway Engineering Laboratory) การวิเคราะห์วสดุมวลคละ การ ั ั ทดสอบแอสฟัลท์ซีเมนต์ – อิมลซิฟายด์ และคัทแบคแอสฟัลท์ การทดสอบแอสฟัลติกคอนกรี ต ั การฝึ กงาน (Practical Training) นักศึกษาแต่ละคนจะต้องผ่านการฝึ กงานในสถานที่ฝึกงานอยูไม่ ่ น้อยกว่า 30 วันทาการ การฝึ กงานจะต้องได้รับการอนุมติจากคณะกรรมการจัดหาฝึ กงานของคณะ ั วิศวกรรม ศาสตร์ และนักศึกษาจะต้องส่งบันทึกรายงานการฝึ กงานเพื่อประกอบการประเมินผล ด้วย ระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์สาหรับวิศวกร (Geographic Information System for Engineers) ความรู้ เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ (GIS) ระบบคอมพิวเตอร์สาหรับ GIS ซอฟแวร์สาหรับ GIS ฐานข้อมูลและ การจัดการระบบฐานข้อมูลการเก็บรวบรวมข้อมูล การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล การวิเคราะห์ขอมูล และการแสดงผลข้อมูลในเชิงภูมิศาสตร์พร้อมคาอธิบายที่เกี่ยวข้องเพื่อวัตถุ ้ ประสงค์ต่างๆ การออกแบบคอนกรี ตเสริ มเหล็ก (Reinforced Concrete Design) ส่วนต่าง ๆ ของอาคารคอนกรี ต เสริ มเหล็กและการคิดน้ าหนัก การออกแบบส่วนต่าง ๆ ของอาคารโดยวิธีหน่วยแรงปลอดภัย และ วิธีแรงประลัย ได้แก่ คาน พื้นทางเดียว พื้นสองทาง พื้นไร้คาน บันได เสารับน้ าหนักตรงศูนย์และ เยื้องศูนย์ ฐานราก ทฤษฎีเส้นคลากเบื้องต้น
  • 8. การออกแบบโครงสร้างเหล็กและไม้ (Steel and Timber Design) คุณสมบัติเชิงกลและเชิงกายภาพ ของโครงสร้างเหล็กและไม้ การออกแบบชิ้นส่วนรับแรงดัด แรงดึง แรงอัดและแรงผสม การ ออกแบบรอยต่อโครงสร้างเหล็ก รอยต่อโครงสร้างไม้ คานเหล็กประกอบ โครงข้อหมุนเหล็กและ คานไม้อด ั การออกแบบคอนกรี ตอัดแรง (Prestressed Concrete Design) หลักการ วิธีการ และวัสดุที่ใช้ในการ อัดแรง การวิเคราะห์และออกแบบโดยวิธีอิลาสติกสาหรับคานคอนกรี ตอัดแรงแบบง่าย กาลังดัด และกาลังเฉือนของหน้าตัดคอนกรี ตอัดแรง ปริ มาณสูญเสียของการอัดแรง การออกแบบที่ยด การึ โก่งคานแบบผสม การออกแบบอาคาร (Building Design) การวางฝังและการออกแบบอาคารอุตสาหกรรมชั้นเดียว อาคารหลายชั้นและอาคารสูง โดยพิจารณาถึงการออกแบบระบบไฟฟ้ า ระบบประปา ระบบ สุขาภิบาลและระบบเครื่ องกลในอาคาร วิธีการทางคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง (Computer Method of Structural Analysis) วิธีเฟลกซิบิลิตี วิธีสติฟเนส วิธีไดเร็ คสติฟเนส โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับการวิเคราะห์ โครงสร้าง การออกแบบโครงสร้างรับแรงแผ่นดินไหว (Seismic Design of Structures) เปลือกโลก สาเหตุของ แผ่นดินไหว องค์ประกอบของโครงสร้าง ระบบพื้นประเภทแข็งหรื ออ่อน องค์ประกอบรับแรง แนวดิ่ง ระบบโครงสร้างกาแพงรับแรงเฉือน โครงยึด โครงข้อแข็งที่มีความเหนียว ความเหนียวของ โครงสร้าง รายละเอียดของโครงสร้าง ความปลอดภัยและความน่าเชื่อถือของโครงสร้าง (Structural Safety and Reliability) ความรู้ เบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยและความน่าเชื่อถือของโครงสร้าง ทบทวนทฤษฎีความน่าจะเป็ น การแจกแจงชนิดที่ใช้กนโดยสามัญ ทฤษฎีความน่าเชื่อถือ การจาลองตัวแปรร่ วมในงานวิศวกรรม ั โยธา การจาลองน้ าหนักบรรทุก ความต้านทานและการตอบสนองของโครงสร้าง วิธีวิเคราะห์ความ น่าเชื่อถือ วิธีคาตอบถูกต้อง วิธีคาตอบประมาณ ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์สาหรับวิเคราะห์ความ น่าเชื่อถือมาตรฐานอาคารในปัจจุบน และการจัดทามาตรฐานโดยอาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็ น ั วัสดุก่อสร้าง (Construction Materials) ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ มวลคละในคอนกรี ต น้ าและ สาร ผสมเพิมสาหรับคอนกรี ต คุณสมบัติของคอนกรี ตสดและคอนกรี ตที่แข็งตัวแล้ว การบ่ม การ ่ ออกแบบ ส่วนผสมของคอนกรี ต ชนิดและคุณสมบัติของเหล็กโครงสร้าง คุณสมบัติเชิงกลและเชิง
  • 9. กายภาพของไม้ การรักษาไม้ ไม้อด อิฐและคอนกรี ตบล็อค ผลิตภัณฑ์จากคอนกรี ต ซีเมนต์-แอส ั เบสตอส พลาสติก เซรามิก ยางมะตอย และสี ปฏิบติการวัสดุก่อสร้าง (Construction Materials Laboratory) การทดสอบคุณสมบัติของวัสดุ ั ก่อสร้าง ซึ่งได้แก่ ซีเมนต์ : ความละเอียดและเวลาก่อตัวของซีเมนต์ มวลคละ: สารอินทรี ยเ์ จือปน ค่าสมมูลทราย การพองตัว การกระจาย ขนาดหน่วยน้ าหนัก ความถ่วงจาเพาะ การดูดซึม ความ ต้านทานต่อการขัดสี คอนกรี ต: ปริ มาณอากาศ ความข้นเหลว โมดูลสของความยืดหยุน กาลังอัด ั ่ กาลังดึงและกาลังดัด โลหะ: กาลังดึง และกาลังบิดของเหล็กกล้า อลูมิเนียม เหล็กหล่อ ทองเหลือง ไม้:ความแข็ง กาลังฉีก กาลังเฉือน กาลังอัด และกาลังดัด การจัดการและเทคนิคการก่อสร้าง (Construction Technique and Management) ขั้นตอนและ เทคนิคการก่อสร้างอาคาร ถนน สะพาน เขื่อน อุโมงค์ ระบบท่อและงานสุขาภิบาล การบริ หารงาน ก่อสร้าง การประมาณราคา การวางแผนงานก่อสร้าง การเงินและวัสดุ แรงงานและเครื่ องจักร เนท เวอร์คและซีพีเอ็มเบื้องต้น การจัดองค์กร การควบคุมค่าใช้จ่าย การตรวจสอบ การวิเคราะห์ทาง เศรษฐศาสตร์ของงานก่อสร้าง การประมาณและวิเคราะห์ราคา (Construction Cost Estimation and Analysis) หลักการประมาณ ราคา การประมาณอย่างหยาบ การประมาณอย่างละเอียด การประมาณอย่างต่อเนื่อง การวิเคราะห์ ต้นทุนของแรงงานและเครื่ องจักร การวิเคราะห์ประสิทธิผล ยุทธวิธีการประมูล วิธีการประมูลแบบ A+B เทคโนโลยีคอนกรี ต (Concrete Technology) ส่วนผสมและชนิดของคอนกรี ต การเคลื่อนย้าย การ หล่อ และการตรวจสอบรับคอนกรี ต ข้อกาหนดมาตรฐานคุณสมบัติของคอนกรี ต การออกแบบ ส่วนผสม การควบคุมคุณภาพคอนกรี ต คอนกรี ตชนิดพิเศษ สารผสมเพิ่ม การทดสอบคอนกรี ตและ ส่วนผสม การวางแผนโครงการ (Project Planning) กระบวนการวางแผน การกาหนดเงื่อนไขและปัญหา การ วิเคราะห์หาความต้องการด้านเทคนิค ความเหมาะสมด้านการเงิน และเศรษฐศาสตร์ การทา งบประมาณต้นทุน การพิจารณาถึงผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อม การตัดสินใจในกรณี มี หลายวัตถุประสงค์ การวางแผนขั้นสุดท้ายและการทาให้เป็ นผล เทคโนโลยีแอสฟัลท์ (Asphalt Technology) จุดกาเนิดและอุตสาหกรรมการผลิตแอสฟัลท์ ผิว จราจรแอสฟัลท์สาหรับยวดยาน วัสดุสาหรับผิวจราจรแอสฟัลท์ ประเภทของการก่อสร้างผิวจราจร แอสฟัลท์ คุณสมบัติและการทดสอบ ข้อกาหนด ชนิดของหิน การผสมส่วนคละ การออกแบบ
  • 10. ส่วนผสม การผลิตและการก่อสร้างคอนกรี ตแอสฟัลท์ การดูแลปรับปรุ งผิวบน การบารุ งรักษาผิว จราจรแบบแอสฟัลท์ การผสมร้อน การนากลับมาใช้ใหม่ โครงสร้างดิน (Earth Structures) การใช้ดินเป็ นวัสดุก่อสร้าง การบดอัดดินและคุณสมบัติของดินที่ บดอัด ปัญหาเกี่ยวกับการซึมของน้ า การวิเคราะห์เสถียรภาพของความลาด การวิเคราะห์ออกแบบ และก่อสร้างทานบดินและเขื่อนดิน ฐานรากแบบเสาเข็มและการปรับปรุ งดิน (Pile Foundation and Soil Improvement) การหากาลังรับ น้ าหนักสูงสุดด้วยวิธีทางสถิตยศาสตร์และพลศาสตร์ การวิเคราะห์การทรุ ดตัว การออกแบบเสาเข็ม รับแรงด้านข้าง การรับแรงของเสาเข็มแบบกลุ่มและเสาเข็มแพ แรงเสียดทานย้อนกลับ เสาเข็มใน ดินที่มีการพองตัวและหดตัว การโก่งหักของเสาเข็มทรงชะลูด การทดสอบเสาเข็ม วิธีการปรับปรุ ง ดินโดยวิธีบดอัด การอัดแน่นโดยน้ าหนักบรรทุกที่ผวดิน การฉีดอัดสารเพื่อการอุดแน่น การเติม ิ สารและการเสริ มกาลังรับน้ าหนักของดิน วิศวกรรมธรณี สิ่งแวดล้อม (Geoenvironmental Engineering) ความสาคัญของทรัพยากรดินและ แหล่งน้ าใต้ดินในทางวิศวกรรม แหล่งกาเนิดและชนิดของการปนเปื้ อน กลไกการเคลื่อนที่ของสาร ปนเปื้ อนในตัวกลางพรุ น องค์ประกอบของระบบเก็บกักกากของเสีย หน้าที่และประเภทของวัสดุ กันซึมในการควบคุมการเคลื่อนที่ของสารปนเปื้ อน วัสดุกนซึมธรรมชาติและวัสดุธรณี สงเคราะห์ ั ั การติดตามและปรับปรุ งคุณภาพของดินและแหล่งน้ าใต้ดิน ชลศาสตร์ของน้ าใต้ดิน (Groundwater Hydraulics) กลศาสตร์การไหลผ่านตัวกลางพรุ น กฏของดาร์ ซี่ ระบบชั้นน้ าใต้ดิน สมการการไหลในระบบชั้นน้ าใต้ดิน สมการการเคลื่อนที่ของสารละลายใน น้ าใต้ดิน การวิเคราะห์การไหลในสภาพอิ่มตัวด้วยน้ า แบบการไหลการวิเคราะห์การไหลในสภาพ ไม่อ่มตัวด้วยน้ า การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของสารละลายในน้ าใต้ดิน แบบจาลองเชิงตัวเลขของ ิ การไหลในระบบน้ าใต้ดิน วิศวกรรมทรัพยากรน้ า (Water Resources Engineering) ทบทวนความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุทกวิทยา และชลศาสตร์ ประเภทของแหล่งน้ าและการใช้ประโยชน์ การวางแผนพัฒนาแหล่งน้ า หลักการ ออกแบบแหล่งน้ าประเภทต่างๆ การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ของระบบแหล่งน้ า วิศวกรรมชลประทานและการระบายน้ า (Irrigation and Drainage Engineering) ความต้องการน้ า ความสัมพันธ์ของน้ าและดิน คุณภาพน้ า วิธีการชลประทาน โครงสร้างทางชลประทาน การ ประมาณการไหล การระบายน้ าฝนจากพื้นที่เมือง การระบายน้ าจากพื้นดิน การระบายน้ าจากถนน ท่อลอดและสะพาน
  • 11. โครงสร้างทางชลศาสตร์ (Hydraulic Structures) หลักการทางชลศาสตร์ที่ใช้ในการออกแบบ การ ออกแบบอาคารทางชลศาสตร์ซ่ึงประกอบด้วย เขื่อน ทางระบายน้ าล้นและคลองส่ง อาคารสลาย พลังงาน อาคารลดระดับ ประตูน้ า อาคารยกระดับน้ า อาคารวัดปริ มาณการไหลแบบต่าง ๆ และ ระบบการส่งน้ าตามคลอง การบริ หารงานวิศวกรรม (Engineering Management) การบริ หารจัดการทางวิศวกรรม (องค์ประกอบของการบริ หารจัดการ) การจัดองค์กร (ทฤษฎีการจัดองค์กร) การบริ หารจัดการ โครงการ (รู ปแบบการบริ หารจัดการโครงการ) การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตหรื อเพิ่มผลผลิต งบประมาณ และการประมาณการ สัญญาในงานวิศวกรรม (รู ปแบบสัญญาและการเลือกใช้ความ เสี่ยง และการบริ หารจัดการท่ามกลางความเสี่ยง) การประกันภัย การวางแผนโครงการทาง วิศวกรรม (องค์ประกอบและปัจจัยในการวางแผน) การบริ หารทรัพยากร-บุคคล (การพัฒนาทักษะ หรื อศึกยภาพของทรัพยากรบุคคล มนุษย์สมพันธ์ในองค์กร) สวัสดิภาพและความปลอดภัยในงาน ั วิศวกรรม ข้อมูลข่าวสารในองค์กร (การสื่อสารในองค์กร) การติดตามความก้าวหน้า การประเมิน และควบคุมการคุมโครงการ ข้อพิพาทเรี ยกร้องและวิธีระงับ วิศวกรรมการขนส่ง (Transportation Engineering) ระบบการขนส่ง การดาเนินการและการควบคุม ยวดยานขนส่ง การวางแผนและการประเมินการขนส่ ง การออกแบบสิ่งอานวยความสะดวกเกี่ยวกับ การขนส่งทางบก ทางน้ า และทางอากาศ การออกแบบผิวจราจร (Pavement Design) ชนิดของผิวจราจร น้ าหนักล้อ หน่วยแรงในผิวจราจร แบบยืดหยุนและแบบแข็ง ยวดยานและการจราจร คุณสมบัติและการทดสอบส่วนประกอบของผิว ่ จราจร การออกแบบผิวจราจรแบบยืดหยุนและแบบแข็งสาหรับถนนและสนามบิน การก่อสร้าง- ่ การประเมินและการปรับปรุ งผิวจราจร วิธีการคานวณในวิศวกรรมโยธา (Computational Methods in Civil Engineering) ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการคานวณทางวิศวกรรม การแก้ระบบสมการพีชคณิ ตเชิงเส้น การแก้ปัญหาย้อนกลับ ปัญหาค่าไอเกน การแก้สมการนอนลิเนียร์ วิธีการเชิงตัวเลขสาหรับการแก้สมการดิฟเฟอร์เรนเชียล แบบธรรมดาและแบบพา ร์เชี่ยล โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางวิศวกรรมโยธา (Computer Softwares in Civil Engineering) ทบทวน ความรู้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์และการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ศึกษาโปรแกรมสาเร็ จรู ปที่ ใช้สาหรับการวิเคราะห์ออกแบบทางวิศวกรรมโยธา เช่น การวิเคราะห์โครงสร้าง การออกแบบ โครงสร้าง การวิเคราะห์ทางอุทกวิทยาและชลศาสตร์ การจัดการงานก่อสร้าง การสร้างภาพด้วย คอมพิวเตอร์ เป็ นต้น
  • 12. งานโครงการวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering Project) ศึกษาผลงานที่เกี่ยวข้องกับหัวข้องาน โครงการที่เลือกขึ้น โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึ กษา เค้าโครงงานโครงการที่จดทาขึ้นซึ่ง ั ประกอบด้วยวัตถุประสงค์ วิธีการและแผนงาน โดยจะต้องนาเสนอโดยการสอบปากเปล่าก่อนการ ดาเนินการโครงการเพื่อการประเมิน แนวความคิด การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering Seminar) ศึกษา ค้นคว้า และอภิปราย แลกเปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับหัวข้อทางวิชาการในปัจจุบนที่น่า สนใจ ตลอดจนการฟังคาบรรยาย ั จากวิทยากรพิเศษ หัวข้อศึกษาชั้นสูงทางวิศวกรรมโยธา (Advanced Study Topics in Civil Engineering) ศึกษาหัวข้อ ที่น่าสนใจในปัจจุบนเกี่ยวกับวิทยาการใหม่ๆ ด้านวิศวกรรมโยธาที่จะเป็ นประโยชน์ต่อการวิจย ั ั และการประกอบวิชาชีพ *ทั้งนี้รายวิชาในข้างต้นบางรายวิชาอาจจะไม่มีการเรี ยนการสอน ขึ้นอยูกบหลักสูตรของแต่ละ ่ ั สถาบันการศึกษา วิศวกรโยธา-Civil-Engineer นิยามอาชีพ Civil-Engineer ได้แก่ผวางแผน จัดระบบงานและควบคุมงานสร้างถนน สะพาน อุโมงค์ และสิ่ง ู้ อานวยความสะดวกในการขนส่งต่างๆ ทางานเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคาร ตลอดจน การติดตั้งการ ใช้ และการบารุ งรักษาระบบไฮดรอลิก และระบบสุขาภิบาล ทาการตรวจตรา และทดสอบทางาน วิจยและให้คาแนะนาทางเทคนิคต่างๆ ั ลักษณะของงานที่ทา วางแผน จัดระบบงาน และควบคุมงานสร้างถนน สะพาน อุโมงค์ และสิ่งอานวยความสะดวกใน การขนส่งต่างๆ ทางานเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคาร ตลอดจนการติดตั้ง การใช้ และการบารุ งรักษาระบบไฮดรอลิก และระบบสาธารณสุขอื่นๆ พิจารณาโครงการ และทางานสารวจเพื่อหาสถานที่ที่เหมาะสมที่สุดสาหรับการก่อสร้าง สารวจและประเมินลักษณะ และความหนาแน่นของการจราจรทางอากาศ ทางบก และทางน้ าเพื่อ พิจารณาว่าจะมีผลต่อโครงการอย่างไรบ้าง
  • 13. สารวจดูพ้ืนผิวดินและใต้ผวดินว่าจะมีผลต่อการก่อสร้างอย่างใด และเหมาะสมที่จะรองรับ ิ สิ่งก่อสร้างเพียงใด ปรึ กษาหารื อในเรื่ องโครงการกับผูชานาญงานสาขาอื่นๆ เช่น วิศวกรไฟฟ้ า หรื อวิศวกรช่างกล วาง ้ แผนผังรากฐาน ท่อสายไฟ ท่อต่างๆ และงานพื้นดินอื่นๆ คานวณความเค้น ความเครี ยด จานวนน้ า ผลอันเนื่องมาจากความแรงของลมและอุณหภูมิ ความลาด และเหตุอื่นๆ เตรี ยมแบบแปลนรายงานก่อสร้าง และจัดทาประมาณการวัสดุและประมาณการราคา เลือกชนิดของเครื่ องมือขนย้ายดิน เครื่ องชักรอก เครื่ องจักรกล และเครื่ องมืออื่นๆ ที่จะใช้ในงาน ก่อสร้าง จัดทาตารางปฎิบติงานและควบคุมให้การปฎิบติงานไปตามแผนที่วางไว้ ทดสอบ และตรวจดู ั ั โครงสร้างทั้งเก่า และใหม่ ตลอดจนวางแผนและจัดระบบงานซ่อม สภาพการจ้างงาน ผูประกอบวิศวกรโยธา-Civil- Engineer ได้รับค่าตอบแทนการทางานเป็ นเงินเดือน ตามวุฒิ ้ การศึกษา โดยวิศวกรโยธาที่ไม่มีประสบการณ์ในการทางานจะได้รับเงินเดือนในอัตรา ดังนี้ ประเภทองค์กร เงินเดือน ราชการ 6,360 รัฐวิสาหกิจ 7,210 เอกชน 12,000 - 18,000 ทางานสัปดาห์ละ 40 ชัวโมง อาจจะต้องมาทางานวันเสาร์ อาทิตย์ หรื อวันหยุด อาจจะต้องทางาน ่ ล่วงเวลา ในกรณี ที่ตองการให้งานที่ได้รับมอบหมายเสร็ จให้ทนต่อการใช้งาน นอกจาก ้ ั ผลตอบแทนในรู ปเงินเดือนแล้วในภาครัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนอาจได้รับผลตอบแทนในรู ปอื่น เช่นค่ารักษาพยาบาล เงินสะสม เงินช่วยเหลือสวัสดิการในรู ปต่างๆ เงินโบนัส เป็ นต้น สภาพการทางาน สถานที่ทางานของวิศวกรโยธาจะมี สภาพเหมือนที่ทางานทัวไป คือ เป็ นสานักงานที่มีอุปกรณ์ สิ่ง ่ อานวยความสะดวกเช่นสานักงานทัวไป แต่โดยลักษณะงานที่จะต้องควบคุมงานสารวจ ก่อสร้าง ่ หรื อซ่อมแซม จึงจาเป็ นที่จะต้องตรวจดูงานนอกสถานที่ในบางครั้ง เนื่องจากต้องควบคุมดูแลงาน ให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สาหรับงานหรื อสถานที่ทางานที่เสี่ยงต่อความไม่ ปลอดภัย ในการทางาน วิศวกรโยธาจึงต้องใช้อุปกรณ์คุมครองส่วนบุคคลในขณะปฏิบติงาน ้ ั
  • 14. คุณสมบัตของผู้ประกอบอาชีพ ิ Civil-Engineer ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. สาเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี สาขาวิศวกรรมโยธา 2. เป็ นผูที่มีความคิดสร้างสรรค์ มุ่งมัน ค้นคว้าอย่างต่อเนื่องเพื่อหาวิธีที่ประหยัด และ มี ้ ่ ประสิทธิภาพมากขึ้น 3. มีวิสยทัศน์ และสนใจกับเหตุการณ์ ข่าวสารที่เกิดขึ้นตลอดเวลา รับฟังความคิดเห็นของผูอื่น และ ั ้ มีจรรยาบรรณของวิศวกร 4. มีความอดทนและเข้มแข็งทั้งร่ างกาย และจิตใจ มีอารมณ์เยือกเย็น มีความคิดสุขุม 5. มีลกษณะเป็ นผูนา ทั้งนี้งานส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการควบคุมคนเป็ นจานวนมาก ั ้ 6. มีพ้ืนฐานความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์ ภาษาอังกฤษและคณิ ตศาสตร์เป็ นอย่างดี 7. ผูประกอบอาชีพวิศวกรในทุกสาขาควรจะมีใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมเพื่อใช้ใน การรับรอง ้ สาหรับการประกอบอาชีพ ซึ่งต้องมีคุณสมบัติ และวุฒิการศึกษาตามข้อกาหนด โดยจะขอรับ ใบอนุญาตได้ที่ กองวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สังกัดในกระทรวงมหาดไทย ผู้ที่จะประกอบวิศวกรโยธา-Civil-Engineer ควรเตรียมความพร้ อมดังต่อไปนี้ : ต้องเป็ นผูที่สาเร็ จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาวิทยาศาสตร์ หรื อประกาศนียบัตร ้ วิชาชีพจากสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ เพื่อเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา ระยะเวลาการศึกษา 4 ปี เมื่อสาเร็ จ การศึกษาแล้วจะได้ปริ ญญาวิศวกรรมศาสตร์บณฑิต (วศ.บ.) ใน ั สาขาวิศวกรโยธา หรื อ เป็ นผูสาเร็ จ การศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ที่ศึกษา ้ เกี่ยวกับทางด้านช่างจากสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ เพื่อเข้าศึกษาต่อ ระดับอุดมศึกษา ระยะเวลาการศึกษา 2 ปี (หลักสูตรต่อเนื่อง) เมื่อสาเร็ จการศึกษาแล้วจะได้ปริ ญญา วิศวกรรมศาสตร์บณฑิต (วศ.บ.) ในสาขาวิศวกรโยธา ั โอกาสในการมีงานทา สาหรับแหล่งจ้างงานวิศวกรโยธา โดยทัวไปจะเป็ นสถานประกอบกิจการทัวไป หรื อ หน่วยงาน ่ ่ ราชการ และรัฐวิสาหกิจ เนื่องจากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจที่ประเทศกาลังประสบปัญหาอยูในช่วงนี้ ่ ทาให้การลงทุนเพื่อขยายตัวชะงักไป การก่อสร้างอาคารสาหรับการพักอาศัย หรื อสาหรับเป็ น อาคารสานักงานจะไม่ค่อยมีโครงการใหญ่ๆ หรื อโครงการใหม่เกิดขึ้นมากนักแต่จะยังคงมี โครงการงานการก่อสร้าง สิ่งอานวยความสะดวกในการขนส่งต่างๆ เช่น ถนน สะพานทางหลวง
  • 15. แนวโน้มความต้องการของตลาด แรงงานในภาคอุตสาหกรรมขณะนี้ยงคงที่ตามภาวะทางเศรษฐกิจ ั ของประเทศ ในขณะนี้กาลังมีการดาเนินงานก่อสร้างสาธารณูปโภคโครงการใหญ่ๆ เช่น รถไฟฟ้ า ใต้ดิน ซึ่งยังมีความต้องการบุคลากรด้านนี้ และ คาดว่าจะมีการแข่งขันเพื่อเข้าทางานสูง เนื่องจากมี แรงงานเก่าที่คางอยูและมีแรงงานใหม่ที่เพิงสาเร็ จ การศึกษาเข้าสู่ตลาดแรงงาน ้ ่ ่ เมื่อภาวะเศรษฐกิจดีข้ ึน ประเทศไทยที่กาลังอยูระหว่างการพัฒนาจะกลับฟื้ นตัวและ ขยายการ ่ ลงทุนขึ้นอีก ฉะนั้นงานสาหรับวิศวกรโยธาจะกลับมาเป็ นที่ตองการในตลาดแรงงานอีก ตามอัตรา ้ การขยายตัวของอาคารก่อสร้าง และการพัฒนาประเทศโดยการลงทุนในการก่อสร้างสิ่งอานวย ความสะดวกในการขนส่งต่างๆ โอกาสความก้าวหน้ าในอาชีพ ผูที่สาเร็ จการศึกษาด้านวิศวกร โยธาหากทางานเพิ่มประสบการณ์ และได้รับการอบรมในวิชาที่ ้ เกี่ยวข้อง และมีความสามารถในการบริ หาร ก็สามารถเลื่อนขั้นเป็ นผูบริ หารโครงการได้สาหรับผูที่ ้ ้ ศึกษาเพิ่มเติมถึง ขั้นปริ ญญาโท หรื อปริ ญญาเอก สามารถที่จะเป็ นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยทัวไปได้ ่ อาชีพที่เกียวเนื่อง ่ วิศวกรโยธา (ก่อสร้างอาคาร) วิศวกรโยธา (ก่อสร้างถนนและทางหลวง) วิศวกรโยธา (ก่อสร้างท่า อากาศยาน) วิศวกรโยธา (ก่อสร้างทางรถไฟ) วิศวกรรถไฟ วิศวกรโยธา (สุขาภิบาล) วิศวกร สุขาภิบาล สาขาย่ อย วิศวกรรมโครงสร้าง (Structural Engineering) ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบและคานวณ สิ่งก่อสร้าง การศึกษาในสาขานี้จะเน้นในทางด้าน งานคานวณวิเคราะห์ ออกแบบโครงสร้างของสิ่งก่อสร้าง และแรงต้านทานของวัสดุ เพื่อ หาวัสดุและขนาดของวัสดุที่เหมาะสมกับงานนั้นๆ งานที่เกี่ยวข้องได้แก่ การก่อสร้าง อาคาร เขื่อนหรื อสะพาน เป็ นต้น การวิเคราะห์ โครงสร้ าง การวิเคราะห์ใด ๆ ในงานวิศวกรรมโครงสร้าง จะแบ่งออกเป็ น 3 ส่วน คือ  การวิเคราะห์แรงภายนอกที่กระทากับ ชิ้นส่วน อาคารนั้น ๆ ที่ทาให้เกิด แรงดึง แรงอัด แรง เฉือน แรงบิด และโมเมนต์ดดั
  • 16. การวิเคราะห์แรงภายในที่เกิดขึ้นภายในวัสดุ ที่ถกกระทาจากแรงภายนอก ที่ทาให้เกิดความ ู เค้น (Stress) และความเครี ยด (Strain) รวมไปถึงการเสียรู ป และการแอ่นตัว(Deflection) ของชิ้นส่วน  การวิเคราะห์การเคลื่อนตัวของชิ้นส่วน เช่นการเสียรู ป และการแอ่นตัว(Deflection) ของ ชิ้นส่วน ขั้นตอนในการวิเคราะห์ โครงสร้ าง 1. สร้างแบบจาลอง 2. คานวณแรงที่กระทาภายนอก 3. เลือกวัสดุและหน้าตัดโดยประมาณ 4. วิเคราะห์แรงที่เกิดขึ้น 5. เลือกวัสดุและขนาดให้สามารถรับแรงที่เกิดขึ้น 6. วิเคราะห์ซ้ าอีกครั้ง 7. ตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้ พร้อมกับค่าหน่วยแรงที่ยอมรับได้ และค่าการเสียรู ปหรื อการ เคลื่อนตัว หลักพืนฐานในการวิเคราะห์ โครงสร้ าง ้  สมการหลักในการวิเคราะห์โครงสร้าง คือ สมการความสมดุล (Statically Equilibrium) o ผลรวมแรงในแนวราบ = 0 o ผลรวมแรงในแนวดิ่ง = 0 o ผลรวมโมเมนต์ดด = 0 ั  เสถียรภาพของโครงสร้าง (Structural Stability)  ดีเทอร์มิเนซี่สถิตของโครงสร้าง (Statically Determinacy) o โครงสร้างประเภทดีเทอร์ มิเนททางสถิต (Determinate) หมายถึงโครงสร้างที่ สามารถวิเคราะห์ได้ดวยสมการสมดุลสถิตของโครงสร้าง ้ o โครงสร้างอินดีเทอร์ มิเนท (Indeterminate) คือโครงสร้างที่ไม่สามารถวิเคราะห์ได้ ด้วยสมการสมดุลตามลาพัง
  • 17. ทฤษฎีในการวิเคราะห์ กาลังของวัสดุ  ทฤษฎีหน่วยแรงใช้งาน (Working Stress) จะพิจารณาจากความเค้นคราก (Yield Stress) คือ ขีดกาหนดสูงสุดของความยืดหยุนของวัสดุ ่  ทฤษฎีกาลังประลัย (Ultimate Strength) จะพิจารณาจากกาลังประลัย (Ultimate Strength) คือขีดความสามารถสูงสุดของวัสดุ วิศวกรรมก่อสร้างและการจัดการ (ConstructionEngineering and Management) ศึกษาเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคารเป็ นหลัก โดยเน้นศึกษาทางด้านระบบการสร้างอาคาร การวางแผนงาน การประเมินราคาค่าก่อสร้าง นอกจากนี้ ในบางสถาบันจะมีการสอน เกี่ยวกับระบบไฟฟ้ า ระบบปรับอากาศ และระบบสุขาภิบาลภายในอาคาร วิศวกรรมขนส่ง (Transportation Engineering) ศึกษาแยกเป็ น 2 สาขาหลักคือระบบและวัสดุ โดยงานทางด้านระบบจะเน้นทางด้านการ วางผัง การจราจร และการจัดการทางด้านงานจราจร โดยทาการศึกษาถึงประโยชน์และ ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างระบบถนน สาหรับงานทางด้านวัสดุจะเน้นในการศึกษาวัสดุใน การทาถนน ได้แก่ คอนกรี ตและยางมะตอย เป็ นหลัก โดยศึกษาถึงกรรมวิธีในการสร้าง ถนนและปรับปรุ งถนน วิศวกรรมเทคนิคธรณี (Geotechnical engineering) ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติทางด้านฟิ สิกส์และวิศวกรรมของดิน เพื่อการวิเคราะห์ ออกแบบ และแก้ปัญหาด้านวิศวกรรมโยธา วิศวกรรมธรณี (Geological engineering) ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติทางด้านฟิ สิกส์ วิศวกรรมของหิน และธรณี วิทยาประยุกต์ เพื่อการ วิเคราะห์ ออกแบบ และแก้ปัญหาด้านวิศวกรรมโยธาและเหมืองแร่ วิศวกรรมสิ่ งแวดล้อม (Environmental Engineering) ศึกษาเกี่ยวกับการจัดการระบบสิ่งแวดล้อมในน้ าและในอากาศ การปรับปรุ งคุณภาพของ ของเสีย วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม เป็ นงานทางวิศวกรรมที่เกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ ก่อสร้าง ควบคุมดูแลระบบเพื่อแก้ไขปัญหาทางสิ่งแวดล้อม เช่น มลภาวะทางน้ า อากาศ เสียง ขยะ สารพิษ อันตราย รวมทั้งงานที่เกี่ยวกับ ระบบประปา ระบบท่อภายในอาคาร งานสุขาภิบาล งานศึกษา ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
  • 18. กฎกระทรวงกาหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. 2550 ได้กาหนด เพิ่มเติมสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเป็ นสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและ วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ได้แก่  วิศวกรรมโยธา  วิศวกรรมไฟฟ้ ากาลัง  วิศวกรรมไฟฟ้ าสื่อสาร  วิศวกรรมเครื่ องกล  วิศวกรรมอุตสาหการ  วิศวกรรมเหมืองแร่  วิศวกรรมเคมี ศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering) เป็ นวิศวกรรมศาสตร์ สาขาที่เกี่ยวกับการออกแบบ พัฒนา วางแผน ควบคุม การวิจยดาเนินงาน จัดการและประเมินผลระบบโดยรวมซึ่งครอบคลุม ั ปัจจัยทุกๆด้านทั้ง บุคคล สารสนเทศ อุปกรณ์ พลังงาน วัสดุ รวมไปถึง การเงิน วิศวกรรมอุตสาหการเป็ นงานทางด้านการประยุกต์ที่เกี่ยวกับการวิจยดาเนินงาน ทรัพยากรต่างๆ ั และปฏิสมพันธ์ระหว่างการดาเนินงานและทรัพยากร เพื่อบรรลุจุดประสงค์การดาเนินงานตาม ั ทรัพยากรที่มีอยูอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้หลักการและวิธีการทางด้านการวิเคราะห์และ ่ สังเคราะห์ทางวิศวกรรมรวมถึงคณิ ตศาสตร์ สถิติ ฟิ สิกส์ การตลาด การบริ หารการจัดการ สารสนเทศ เศรษฐศาสตร์ และ สังคมศาสตร์ จิตวิทยา งานของวิศวกรอุตสาหการ จะเกี่ยวกับ การลดเวลาการปฏิบติงาน ค่าใช้จ่าย วัสดุ พลังงาน และ ั ทรัพยากรอื่นๆ รวมไปถึงงานการควบคุมคุณภาพของ การผลิตหรื อการดาเนินงานเพื่อให้อยูใน ่ ระดับที่ตองการโดยหากลวิธีต่างๆ ในการพัฒนา ปรับปรุ ง แก้ไข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทางาน ้ ให้คุมค่าที่สุด ้ ขณะที่วิศวกรรมสาขาอื่นๆจะเกี่ยวกับทักษะเฉพาะทาง วิศวกรรมอุตสาหการจะถูกใช้อย่าง กว้างขวางในงานหลายๆด้าน ทั้งทางอุตสาหกรรมตลอดจนงานบริ หารการดาเนินการต่างๆเช่น การ จัดการรายได้ เช่น การจองที่นงของสายการบิน การจัดการคิวหรื อลาดับการบริ การของสวนสนุก ั่ การวางระเบียบการปฏิบติงานในห้องปฏิบติการที่มีข้นตอนซับซ้อน การบริ หารห่วงโซ่อุปทาน ั ั ั การจัดการคลังพัสดุ การบริ หารการขนส่งและการกระจายสินค้า ดาเนินการและตรวจสอบการ ควบคุมคุณภาพการ ผลิต การปรับปรุ งประสิทธิภาพหรื อวิธีการปฏิบติงานในโรงงานเพื่อให้ลด ั ค่าใช้จ่าย ที่ไม่จาเป็ นและคุณภาพที่สม่าเสมอของสินค้าโดยการลด ของเสียทั้ง 7 เช่น การรอคอย
  • 19. การผลิตที่เกินความจาเป็ น รวมไปถึงการศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการใหม่ๆ การวิเคราะห์ จุดคุมทุน อัตราการคืนทุน ้ ถึงแม้คาว่า “วิศวกรรมอุตสาหการ” จะถูกใช้เพื่อสื่อถึงงานทางด้านการผลิตในโรงงาน แต่ใน ปัจจุบนขอบข่ายของงานได้ครอบคลุมไปถึงงานด้านอื่นรวมถึง ธุรกิจการให้บริ การ สาขาอื่นๆที่ ั ใกล้เคียงกับวิศวกรรมอุตสาหการได้แก่ การวิจยดาเนินงาน การบริ การการจัดการ วิศวกรรมระบบ ั วิศวกรรมการผลิต วิศวกรรมคุณภาพ การยศาสตร์ วิศวกกรรมการบารุ งรักษา วิทยาการบริ หาร จัดการ วิศวกรรมความปลอดภัย การจัดการวิศวกรรม สาหรับในประเทศไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็ นมหาวิทยาลัยแห่ งแรกที่จดตั้งภาควิชาวิศวกรรม ั อุตสาหการ และตามมาด้วย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน และ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี(มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) ตามลาดับ วิศวกรรมแหล่งน้ า (Water Resource engineering) ศึกษาเกี่ยวกับงานทางด้านแหล่งน้ า ปริ มาณน้ าฝน และระบบการระบายน้ า รวมทั้งการ ก่อสร้างคู คลอง และแม่น้ า วิศวกรรมสารวจ (Survey Engineering) ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการทารังวัดและงานทางด้านสารวจ สาหรับใช้ในทางด้านแผนที่ รวมถึง การศึกษาทางด้าน จีพเี อส (GPS) และ ภูมิสารสนเทศ วิศวกรรมสารวจ เป็ นศาสตร์และเทคโนโลยีที่ เกี่ยวข้องกับการสารวจ บันทึก ประมวลผล วิเคราะห์ เผยแพร่ และ การใช้งานสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับตาแหน่ง ไม่ว่าจะเป็ นเชิงภูมิศาสตร์ (ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นบนผิวโลก) อวกาศ และใต้ดิน วิศวกรรมสารวจประกอบด้วยสาขาวิชาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกันเพื่อให้เข้าใจลักษณะแบบจาลองของปรากฏการณ์ทางกายภาพต่างๆ และสามารถ ถ่ายทอดสิ่งเหล่านั้นลงมาเป็ นข้อมูลรู ปแผนที่ที่มีความถูกต้องและ น่าเชื่อถือทางตาแหน่งและข้อมูล อธิบายปรากฏการณ์น้ นๆ สาขาวิชาวิศวกรรมสารวจประกอบด้วย ั  ระบบภูมิสารสนเทศ (Geo-Information System, GIS)  การรังวัดด้วยสัญญาณระบบดาวเทียมนาหน (Global Navigation Satellite System, GNSS)  การรังวัดและทาแผนที่จากภาพถ่ายทางอากาศ (Digital Photogrammetry)  การรังวัดและทาแผนที่จากภาพดาวเทียมรายละเอียดสูง (High Resolution Satellite Imagery)  การสารวจระยะไกล (Remote Sensing)
  • 20. การทาแผนที่ดวยคอมพิวเตอร์ (Computer-assisted Mapping) ้  งานรังวัดขั้นสูง (Geodetic Surveying) และงานรังวัดความละเอียดสูง (High Precision Measurement)