SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
ศาสตราจารย์ดร. ปรีดี พนมยงค์หรือ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม เป็นผู้นา
คณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจาก
ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย และเป็นผู้ให้
กาเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย เคยดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
ของประเทศไทย 3 สมัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่าง ๆ อีกหลายสมัย
เป็นผู้ก่อตั้งและผู้ประศาสน์การเพียงคนเดียวของมหาวิทยาลัยวิชา
ธรรมศาสตร์และการเมืองและเป็นผู้ก่อตั้งธนาคารชาติไทย (ปัจจุบัน
คือ ธนาคารแห่งประเทศไทย)
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ปรีดีเป็นผู้นาขบวนการเสรีไทยต่อต้านกองทัพ
จักรวรรดิญี่ปุ่น ทาให้ประเทศไทยรอดพ้นจากการเป็นผู้แพ้
สงคราม นอกจากนี้เขายังได้รับแต่งตั้งเป็นผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ใน
รัชกาลที่ 8 และได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่องในฐานะ
"รัฐบุรุษอาวุโส"ปรีดีต้องยุติบทบาททางการเมืองหลังเหตุการณ์
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลสวรรคต โดยถูกกล่าวหาว่ามี
ส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ดังกล่าวต่อมาเกิดการรัฐประหาร พ.ศ. 2490 เป็น
เหตุให้เขาต้องลี้ภัยการเมืองไปยังประเทศจีนและฝรั่งเศสรวมระยะเวลากว่า 30
ปี
ระหว่างที่ลี้ภัยอยู่ต่างประเทศ ปรีดีได้ดาเนินการฟ้องร้องผู้ใส่ความหมิ่น
ประมาทต่อศาลยุติธรรม ผลปรากฏว่าศาลตัดสินให้ชนะทุกคดี และยังได้รับ
ความรับรองจากทางราชการตลอดจนเงินบานาญและหนังสือเดินทางของ
ไทยในปี พ.ศ. 2542 ที่ประชุมสมัยสามัญครั้งที่ 30 ขององค์การ
ยูเนสโก ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ได้มีมติประกาศให้ ปรีดี พนมยงค์
เป็น "บุคคลสาคัญของโลก" ปรีดี พนมยงค์เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ.
2443 ณ เรือนแพหน้าวัดพนมยงค์ตาบลท่าวาสุกรี อาเภอกรุงเก่า จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา ในครอบครัวชาวนาไทย
ปรีดีเมื่อครั้งเยาว์วัยเป็นเด็กหัวดี ช่างคิด ช่างสังเกตวิเคราะห์ และเริ่มมีความ
สนใจทางการเมืองมาตั้งแต่อายุเพียง 11 ปี ปรีดีสาเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาเอกสาขานิติศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยปารีส ในปี พ.ศ. 2469 ด้วย
คะแนนเกียรตินิยมดีมากปรีดีสมรสกับ พูนศุข ณ ป้อมเพชร์ มีบุตร-ธิดา
ด้วยกันทั้งหมด 6 คน ที่รับราชการในกระทรวงยุติธรรมนี้ ปรีดีได้รวบรวม
กฎหมายไทยตั้งแต่แรกจนถึงปัจจุบันซึ่งอยู่ในสภาพกระจัดกระจายให้มา
รวมเป็นเล่มเดียว ใช้ชื่อว่า “ประชุมกฎหมายไทย” และได้รับการตีพิมพ์ใน
พ.ศ. 2473 หนังสือเล่มนี้ได้รับความนิยมและสร้างรายได้ให้กับปรีดีเป็น
อย่างมาก
ในขณะที่อยู่ในประเทศฝรั่งเศส ปรีดี พนมยงค์ได้ร่วมกับเพื่อนอีก 6 คน
ประชุมอย่างเป็นทางการครั้งแรกเพื่อก่อตั้ง "คณะราษฎร" เมื่อเดือน
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 โดยมีวัตถุประสงค์คือ เปลี่ยนการปกครองจากระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและ
การดาเนินเพื่อให้สยามบรรลุหลัก 6 ประการ
1.คือจะต้องรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย
2.จะรักษาความปลอดภัยในประเทศ
3.จะต้องบารุงความสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะ
จัดหางานให้ราษฎรทา
4. จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน
5. จะต้องให้ราษฎรได้มีเสรีภาพ มีความเป็นอิสระ
6. จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร์
ปรีดีร่วมกับสมาชิกคณะราษฎร ทาการยึดอานาจการปกครองประเทศจาก
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองได้
สาเร็จโดยไม่มีการเสียเลือดเนื้อหลังจากนั้นคณะราษฎรโดยปรีดี พนมยงค์
ได้จัดให้มีการประชุมระหว่างคณะราษฎร และเสนาบดี ปลัดทูลเพื่อชี้แจง
จุดประสงค์หลักการระบอบใหม่ กฎหมายพระธรรมนูญการปกครอง
แผ่นดินโดยย่อ
และขอความร่วมมือในการบริหารราชการแผ่นดินต่อไปภายหลังการ
เปลี่ยนแปลงการปกครอง ปรีดี พนมยงค์ถือเป็นผู้มีบทบาทสาคัญ เป็นผู้ให้
กาเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศ โดยเป็นผู้ร่างพระราชบัญญัต
ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวพร้อมกันนั้นยังมีบทบาทสาคัญ
ในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 อันเป็นรัฐธรรมนูญ
ถาวรฉบับแรกของสยามที่ใช้เป็นบรรทัดฐานของการปกครองในระบอบ
ใหม่ตลอดระยะเวลา 3 ปีที่ดารงตาแหน่ง ปรีดีได้ใช้ความพยายามทางการ
ทูตเจรจาแก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคที่สยาม
ซึ่งประเด็นหลักในการแก้ไขมีอยู่2 ประเด็น คือ
1.สิทธิสภาพนอกอาณาเขต คือคนในบังคับของต่างประเทศไม่ต้องขึ้นต่อ
ศาลสยาม ทาให้สยามสูญเสียเอกราชในทางศาล
2.ภาษีร้อยชักสาม คือรัฐบาลสยามสามารถเรียกเก็บภาษีศุลกากรขาเข้าได้
เพียงไม่เกินร้อยละ 3 ทาให้สยามขาดรายได้เข้าประเทศ โดยใช้ยุทธวิธีบอก
เลิกสนธิสัญญาไม่เสมอภาคกับประเทศคู่สัญญาเหล่านั้น และได้ยื่นร่าง
สนธิสัญญาฉบับใหม่โดยอาศัยหลัก "ดุลยภาพแห่งอานาจ"
จนสามารถยกเลิกสนธิสัญญาดังกล่าวเป็นผลสาเร็จ ทาให้สยามได้เอกราช
ทางศาลและเอกราชทางเศรษฐกิจกลับคืนมาและมีสิทธิเสมอภาคกับนานา
ประเทศทุกประการ วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ปรีดี พนมยงค์ในฐานะ
ผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ ได้ออกประกาศสันติภาพในพระปรมาภิไธย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลการประกาศสงครามต่อ
สหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็น
"โมฆะ" ไม่ผูกพันประชาชนชาวไทย และประเทศไทยพร้อมที่จะให้ความ
ร่วมมือกับสหประชาชาติในการสถาปนาสันติภาพในโลกนี้
ต่อมารัฐบาลได้ประกาศให้วันที่ 16 สิงหาคม ของทุกปีเป็น "วันสันติภาพ
ไทย" เมื่อบ้านเมืองสงบเรียบร้อยดีแล้วปรีดี พนมยงค์จึงขออัญเชิญสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัติประเทศไทยเพื่อทรงบริหารราชการ
แผ่นดินด้วยพระองค์เองต่อไป ในโอกาสนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็น
โบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ ปรีดี พนมยงค์ได้รับเลือกจากสภา
ผู้แทนราษฎรให้ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีเขาได้ใช้ความรู้ความสามารถ
เจรจาต่อรองกับฝ่ายสัมพันธมิตรในปัญหาต่าง ๆ
โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงข้อตกลงกับอังกฤษ เรื่องสัญญาสมบูรณ์แบบ
และการเจรจาให้รัฐบาลสหรัฐยกเลิกคาสั่งเพิกถอนเงินซึ่งได้ถูกกักกันไว้
ในสหรัฐ ให้ประเทศไทยสามารถแก้ไขสถานะผู้แพ้สงครามได้สาเร็จอย่าง
ละมุนละม่อม สามารถเข้าเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติลาดับที่ 55
วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
เสด็จสวรรคต รัฐบาลปรีดีที่เพิ่งชนะเลือกตั้งหลังการประกาศใช้
รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 จึงขอความเห็นชอบต่อรัฐสภาให้อัญเชิญพระเจ้า
น้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นครองราชย์สืบสันตติวงศ์ต่อไป
กรณีสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ได้ทาให้
ศัตรูทางการเมืองของปรีดี ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มทหารสายจอมพล ป. พิบูล
สงครามที่สูญเสียอานาจหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ฉวยโอกาสนามาใช้
ทาลายปรีดีทางการเมือง โดยการกระจายข่าวไปตามหนังสือพิมพ์ว่า"ปรีดี
ฆ่าในหลวง" และนาไปสู่การลาออกจากตาแหน่งนายกรัฐมนตรีของเขาใน
เดือนสิงหาคม คณะรัฐประหาร ด้วยสาเหตุที่รัฐบาลไม่สามารถคลี่คลายคดี
สวรรคตลงได้ประกอบกับการลดบทบาทของกองทัพ และปัญหาทาง
เศรษฐกิจหลังจากยึดอานาจสาเร็จ
คณะรัฐประหารได้นากาลังทหารพร้อมรถถังบุกยิงทาเนียบท่าช้างวังหน้า
ซึ่งปรีดีและครอบครัวอาศัยอยู่พยายามจะจับกุมตัวปรีดี แต่เขาก็หลบหนี
ไปได้ภายใต้การอารักขาของทหารเรือ และได้อาศัยฐานทัพเรือสัตหีบเป็น
ที่หลบภัยอยู่ชั่วระยะหนึ่ง ต่อมา ในปี พ.ศ. 2492ปรีดี พนมยงค์ กลับมา
ประเทศไทยเพื่อทาการยึดอานาจคืนจากรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม
ในเหตุการณ์ "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" เมื่อวันที่ 26
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 แต่กระทาการไม่สาเร็จ (เรียกกันว่า "กบฏวังหลวง")
จึงต้องลี้ภัยไปต่างประเทศและไม่ได้กลับประเทศไทยอีกเลย
ขณะพานักอยู่ในประเทศจีน ปรีดีได้มีโอกาสพบปะสนทนาแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นกับผู้นาพรรคและรัฐบาลจีนไม่ว่าจะเป็นประธานาธิบดี
โดยเฉพาะมิตรภาพระหว่างปรีดีกับประธานโฮจิมินห์นั้นยืนยาวมาตั้งแต่
สมัยที่เขาผู้นี้ต่อสู้กับฝรั่งเศสต้นเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2513 โจวเอินไหล
ได้อานวยความสะดวกให้ปรีดีเดินทางจากประเทศจีนไปยังกรุงปารีส ด้วย
ความช่วยเหลือจากนายกีโยม จอร์จ-ปีโก มิตรเก่าที่มีตาแหน่งเป็น
เอกอัครราชทูตถาวรของประเทศฝรั่งเศส
เวลา 11 นาฬิกาเศษ ของวันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526ณ บ้านออง
โตนี ชานกรุงปารีส ปรีดี พนมยงค์สิ้นใจด้วยอาการหัวใจวายขณะกาลัง
เขียนหนังสืออยู่ที่โต๊ะทางาน
นาย ปรีดี   พนมยงค์

More Related Content

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

นาย ปรีดี พนมยงค์