SlideShare a Scribd company logo
1 of 105
พระราชนิพนธ ์พระ
มหาชนก
กับ มหาวิทยาลัยราช
ภัฏ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
ศาสตร ์พระราชา
๑. ศาสตร ์พระราชา คือ อะไร (ความหมาย)
๒. ปรัชญาเปรียบเทียบ
๓. ทฤษฎีใหม่ ภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
๔. วิธีปฏิบัติเป็ นขั้นเป็ นตอน
๕. เทคนิค เคล็ดวิชา นวัตกรรม
๖. การบริหารภายใต้สภาวะวิกฤต /ความ
ขาดแคลน /แบบคนจน
12
๑.ศาสตร ์พระราชา คือ อะไร
(ความหมาย)
ศาสตร ์แปลว่าความรู ้ที่เป็ นระบบ เชื่อถือได้
ผ่านการพิสูจน์ ความรู ้ของพระเจ้าแผ่นดิน(ร.
๙) ตลอดการทรงงาน ๗๐ ปี ที่เกิดจาการวิจัย
และการทดลอง ทั้งในพื้นที่โครงการส่วน
พระองค์ พื้นที่ของชาวบ้านเกษตรกร ชาวไร่
ชาวนา มีทุกมิติ มีทั้งด้านที่เป็ นวิทยาศาสตร ์
ธ ร ร ม ช า ติ วิท ย า ศ า ส ต ร ์ป ร ะ ยุ ก ต์ ด้า น
สังคมศาสตร ์ด้านจริยศาสตร ์ด้านศาสนา ด้าน
เกษตร ด้านการจัดการดิน การจัดป่ าไม้ การ
จัดการน้า การทาฝนหลวง
ศาสตร ์พระราชาเป็ นศาสตร ์แห่งการพัฒนา13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
๒.ปรัชญาเปรียบเทียบ
24
25
ปรัชญาเปรียบเทียบ
26
ทฤษฎี ๓ ระบบ
๙
มุมมอง ระบบที่ ๒ ระบบที่ ๓ ระบบที่ ๑
พระพุทธเจ้า อัตตกิลมถานุโยค ธัมมจักกัปปวัตน
สูตร
มัชฌิมาปฏิปทา
(อริยสัจ ๔ : ทุกข์
สมุทัย นิโรธ มรรค)
กามสุขัลลิกานุโยค
ตะวันตก ชุมชนนิยม
(Communism)
สังคมนิยม
(Socialism)
ท้องถิ่นนิยม
(Localism)
ท้องถิ่นภิวัฒน์
(Localization)
เศรษฐกิจพึ่งตนเอง
(Self-Sufficiency
Economy/
Self-Reliance)
เศรษฐกิจชุมชน
การพัฒนาอย่าง
ยั่งยืน (Sustainable
Development)
เศรษฐกิจสีเขียว
(Green Economy)
องค์กรที่มีความ
รับผิดชอบต่อสังคม
(Corporate Social
Responsibility)
ทุนนิยม (Capitalism)
เสรีนิยม (Liberalism)
สากลนิยม
(Internationalism)
โลกาภิวัตน์
(Globalization)
เศรษฐกิจการค้า
(Trade Economy)
บริโภคนิยม
(Consumerism)
วัตถุนิยม
(Materialism)
28
๓.ทฤษฎีใหม่ ภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
มีมากกว่า ๔๐ ทฤษฎีใหม่ภายใต้ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
จัดเป็ น๔ กลุ่ม ดังนี้
๑. ด้านดิน
๒. ด้านน้า
๓. ด้านป่ า
๔. ด้านมนุษย์และสังคม
29
เกษตรทฤษฎีใหม่ 30
31
32
4,596 โครงการพระราชดาริ
มากกว่า 40,000 บทเรียน
ถอดบทเรียน สร้างตัวอย่างความสาเร็จ
ลงมือทา
33
ระบบทฤษฎีใหม่ที่สมบูรณ์
อ่างใหญ่ เติมอ่างเล็ก อ่างเล็ก เติมสระน้า
34
“40 ทฤษฎีใหม่ ตามศาสตร์พระราชา”
35
36
“40 ทฤษฎีใหม่” ใช้ใน “เกษตรทฤษฎีใหม่”
37
“40 ทฤษฎีใหม่” ใช้ใน “เกษตรทฤษฎีใหม่”
38
“40 ทฤษฎีใหม่” ใช้ใน “เกษตรทฤษฎีใหม่”
39
“40 ทฤษฎีใหม่” ใช้ใน “เกษตรทฤษฎีใหม่”
๔.วิธีปฏิบัติเป็ นขั้นเป็ นตอน
ศึกษาโครงการพระราชดาริ กว่า ๔๐๐๐
โครงการ
40
“…การพัฒนาประเทศจาเป็ นต้องทาตามลาดับขั้น ต้องสร้าง
พื้นฐาน คือความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชนเป็น
เบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตาม
หลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึง
ค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจขั้นที่
สูงขึ้นโดยลาดับ ต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกฐานะ
ทางเศรษฐกิจขึ้นได้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติ
การสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศ และของประชาชน โดย
สอดคล้องด้วย จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่างๆได้ ซึ่งอาจ
ก ล า ย เ ป็ น ค ว า ม ยุ่ ง ย า ก ล้ ม เ ห ล ว ใ น ที่ สุ ด …”
(18 กรกฎาคม 2517)
41
ถ้าทาโครงการอะไรที่ให้สอดคล้องกับสภาพภูมิประเทศ ก็
สามารถจะสร้างความเจริญให้กับเขตที่ใหญ่ขึ้นได้. เขตที่ใหญ่ ลง
ท้ายก็จะแผ่ทั่วประเทศได้ แต่เพื่อการนี้จะต้องมีความ
ร่วมมืออย่างดี ระหว่างทุกฝ่าย ทั้งนักวิชาการและ
นักปกครอง ดังนี้ ถึงบอกว่าเศรษฐกิจพอเพียง และ
ทฤษฎีใหม่ สองอย่างนี้จะทาความเจริญแก่ประเทศได้. แต่
ต้องมีความเพียร แล้วต้องอดทน ต้องไม่ใจร้อน ต้องไม่พูดมาก
ต้องไม่ทะเลาะกัน.
ถ้าทาโดยเข้าใจกัน เชื่อว่าทุกคนจะมีความพอใจได้.
(วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม 2541) 42
ทฤษฎีบันได
๙ ขั้น
สู่ความ
พอเพียง มั่ง
คั่ง ยั่งยืน
43
44
45
46
ทศพิธราช
ธรรม
๑.ทาน
๒.ศีล
๓.ปริจาคะ
๔.อาชชวะ
๕.มัททวะ
๖.ตบะ
๗.อโกธะ
๘. อวิหิงสา
๙.ขันติ
๑๐.อวิโรธนะ 47
๕.เทคนิค เคล็ดวิชา นวัตกรรม
• ศึกษาจากโครงการพระราชดาริกว่า
๔๐๐๐ โครงการ
จะมีนวัตกรรมเกี่ยวกับศาสตร ์พระราชา
กว่า ๔๐,๐๐๐ เรื่อง
48
49
50
51
เทคนิค เคล็ดวิชา นวัตกรรม
52
53
54
55
56
57
58
โคก หนอง นา ดารา โมเดล
59
โคก หนอง นา ดารา โมเดล
60
โคก หนอง นา ดารา โมเดล
61
โคก หนอง นา ดารา โมเดล
62
เราจะเก็บน้าฝนที่ไหน
63
เราจะเก็บน้าฝนที่ไหน
64
ขั้นเริ่มต้น เราจะเก็บน้าฝนที่ไหน
65
การท่องเที่ยวตาม
ศาสตร ์พระราชา
และภูมิปัญญาบรรพ
บุรุษ
อาจารย์ไตรภพ โคตรวงษา
อาจารย์ประจาสาขาวิชาการท่องเที่ยว
และการโรงแรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร ์
66
หลักการของการท่องเที่ยวตามศาสตร์พระราชา
เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา
.......................................................................
เข้าใจ ศาสตร์พระราชา
เข้าถึง ภูมิปัญญาบรรพบุรุษ
พัฒนา มนุษย์และสังคมสู่วิถีพอเพียง มั่งคั่ง และยั่งยืน
67
ความหมายของ การท่องเที่ยวตามศาสตร์พระราชา
การท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาและการพัฒนา ด้วยกระบวนการ
เรียนรู้และการพัฒนาตามหลักการเข้าใจภูมิประเทศและบริบท
ทางสังคมวัฒนธรรม เข้าถึงแก่นแท้ของวิถีชีวิตชุมชน ภูมิ
ปัญญาบรรพบุรุษ ความเชื่อ และจิตวิญญาณของชุมชนท้องถิ่น
พัฒนาตนเอง สังคม และโลก ไปสู่ความพอเพียง มั่งคั่ง และ
ยั่งยืน
68
คุณลักษณะของการท่องเที่ยวตามศาสตร์พระราชา
๑. เป็นการท่องเที่ยวด้วยการน้อมนาศาสตร์พระราชาและภูมิปัญญา
บรรพบุรุษมาประยุกต์ในการจัดการการท่องเที่ยว
๒. เป็นการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ การศึกษา และการพัฒนาเพื่อ
สร้างความสมดุลและยั่งยืนทั้งด้านสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ด้านสังคม
วัฒนธรรม และด้านเศรษฐกิจ
๓. เป็นการท่องเที่ยวเพื่อแก้ไขปัญหา แก้ทุกข์ แก้ไขความยากจนของ
คนในชุมชนท้องถิ่น
๔. เป็นการท่องเที่ยวที่ลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา ทางสังคม และ
ทางเศรษฐกิจของชุมชนท้องถิ่น
๕. เป็นการท่องเที่ยวที่หล่อหลอมให้เกิดความรัก ความผูกพัน ความ
สามัคคี และการแบ่งปัน เอื้อเฟื้อจุนเจือแก่กันและกัน
69
70
71
ศาสตร ์พระราชากับการท่องเที่ยว
ต้นน้าบางปะกง
๑.ศาสตร ์พระราชา ด้านการจัดการป่ าต้นน้า
๒. ศาสตร ์พระราชา ด้านการสร้างฝาย
๓.ศาสตร ์พระราชา ด้านการปลูกแฝก
72
๑.ศาสตร ์พระราชา ด้านการจัดการป่ า
ต้นน้า
อยู่ที่การรักษาป่ า
และปลูกป่ าบริเวณต้นน้า ซึ่งบนยอดเขาและเนิน
สูงขึ้น
ต้องมีการปลูกป่ าโดยไม้ยืนต้นและปลูกไม้ฟื น
ซึ่งไม้ฟื นนั้นราษฎรสามารถตัดไปใช้ได้
แต่ต้องการมีการปลูกทดแทนเป็ นระยะ
ส่วนไม้ยืนต้นนั้น จะช่วยให้อากาศมีความชุ่มชื้น
เป็ นขั้นตอนหนึ่งของระบบการให้ฝนตกแบบ
ธรรมชาติ
ทั้งยังช่วยยึดดินบนภูเขาไม่ให้พังทลายเมื่อเกิด
ฝนตกอีกด้วย
ซึ่งถ้ารักษาสภาพป่ าไม้ไว้ให้ดีแล้ว ท้องถิ่นก็จะมี
น้าไว้ใช้ชั่วกาลนาน”
73
๒. ศาสตร ์พระราชา ด้านการสร้าง
ฝายต้นน้า
“...สาหรับต้นไม้ที่ขึ้นอยู่ในบริเวณสองข้างลาห้วย จาเป็นต้องรักษาไว้ให้
ดี เพราะจะช่วยเก็บรักษาความชุ่มชื้นไว้ ส่วนตามร่องน้าและบริเวณที่น้า
ซับก็ควรสร้างฝายขนาดเล็กกั้นน้าไว้ในลักษณะฝายชุ่มชื้น แม้จะมี
จานวนน้อยก็ตาม สาหรับแหล่งน้าที่มีปริมาณน้ามาก จึงสร้างฝายเพื่อ
ผันน้าลงมาใช้ในพื้นที่เพาะปลูก…”
พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
บรมนาถบพิตร พระราชทานเป็นแนวทางการดาเนินงานเกี่ยวกับฝายต้น
น้าลาธาร (Check Dam) ในพื้นที่ต่าง ๆ เมื่อวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๒๑
ณ อาเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
74
"ควรพิจารณาสร้างฝายต้นน้าลาธารบนภูเขาในพื้นที่
โครงการฯ และบริเวณใกล้เคียงตลอดจนส่งน้าไปตาม
แนวสันเขา จะได้สามารถจ่ายน้าลงไปตามไหล่เขาทั้ง
สองด้านในช่วงฤดูแล้ง เป็ นช่วง ๆ ในทานอง “ฤดู
ฝนเทียม” ทั้งนี้เพื่อช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับป่ าต้นน้า
ลาธารและช่วยฟื้นฟู สภาพป่ าให้กลับสมบูรณ์ได้
โดยเร็ว เนื่องจากสามารถจ่ายน้าอย่างสม่าเสมอได้
ตลอดทั้งปี หากงานทดลองดังกล่าวได้ผลดี จะได้นา
ทฤษฎีไปปฏิบัติในป่ าเสื่อมโทรมแหล่งอื่น ๆ ต่อไป
นอกจากนั้นควรพิจารณาปลูกไม้ชั้นล่างเสริม เพื่อช่วย
ลดความแรงของกระแสน้าในฤดูฝนซึ่งเคยทาความ
เสียหายให้กับนาข้าวราษฎรในบางพื้นที่มาแล้ว“
75
๓.ศาสตร ์พระราชา ด้านการปลูกหญ้า
แฝก
"...ทุกคนควรจะได้สนใจสังเกต ศึกษาเรื่องราว
บุคคลและสิ่งต่าง ๆ ที่แวดล้อมและเกี่ยวข้องกับ
ตัวเองให้มากอย่าละเลยหรือมองข้ามแม้แต่สิ่ง
เล็กน้อยเช่น ต้นหญ้า ซึ่งถ้าศึกษาพิจารณาให้ดีก็
จะก่อให้เกิดปัญญาได้ หญ้านั้นมีทั้งหญ้าที่เป็ น
วัชพืชซึ่งเป็ นโทษ และหญ้าที่มีคุณอย่าง "หญ้า
แฝก"ซึ่งเป็ นประโยชน์อย่างยิ่งแก่การอนุรักษ์ดิน
และน้า เพราะมีรากที่หยั่งลึกแผ่กระจายลงไปตรง ๆ
ทาให้อุ้มน้าและยึดเหนี่ยวดินได้มั่นคงและมีลาต้น
ชิดติดกันแน่นหนา ทาให้ดักตะกอนดินและรักษา
หน้าดินได้ดี..."
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร
76
"...สิ่งที่ดีมีประโยชน์นั้นจะต้องใช้ให้ถูกต้องตามหลัก
วิชาและเหมาะสมกับสภาพการณ์ทั่วไป ด้วย จึงจะได้ผล
ที่พึงประสงค์ อย่างเช่น การปลูกหญ้าแฝกจะต้องปลูกให้
ชิดติดกันเป็ นแผงและวางแนวให้เหมาะสมกับลักษณะ
ภูมิประเทศ เป็ นต้นว่าบนพื้นที่สูงจะต้องปลูกตามแนว
ขวางของความลาดชันและร่องน้า บนพื้นที่ราบจะต้อง
ปลูกรอบแปลงหรือปลูกตามร่องสลับกับพืชไร่ ในพื้นที่
เก็บกักน้าจะต้องปลูกเป็ นแนวเหนือแหล่งน้า หญ้าแฝก
ที่ปลูกโดยหลักวิธีดังนี้ จะช่วยป้ องกันการ พังทลายของ
หน้าดินรักษาความชุ่มชื้นในดินเก็บกักตะกอนดินและ
สารพิษต่าง ๆ ไม่ให้ไหลลง แหล่งน้า ซึ่งจะอานวยผล
เป็ นประโยชน์อย่างยิ่งแก่การอนุรักษ์ดินและน้า
ตลอดจนการฟื้นฟู ดินและป่ าไม้ให้สมบูรณ์ขึ้นบัณฑิต
ผู้จะออกไปเริ่มต้นชีวิตการงานต่อไป จึงควรจะได้ศึกษา
พิจารณาเรื่องความถูกต้องเหมาะสมที่กล่าวนี้ให้ทราบ 77
78
79
ศาสตร ์พระราชากับการท่องเที่ยว
กลางน้าบางปะกง
๑.ศาสตร ์พระราชา ด้านการจัดการดิน
๒. ศาสตร ์พระราชา ด้านการจัดการน้า
๓.ศาสตร ์พระราชา ด้านการจัดการป่ า
80
ศาสตร ์พระราชาด้านการจัดการ
ดิน น้า ป่ า
"มีความเดือดร้อนอย่างยิ่งว่าประชาชนใน
เมืองไทยจะไร้ที่ดิน และถ้าไร้ที่ดินแล้วก็จะ
ทางานเป็ นทาสเขา ซึ่งเราไม่ปรารถนาที่จะให้
ประชาชนเป็ นทาสคนอื่น แต่ถ้าเราสามารถที่จะ
ขจัดปัญหานี้ โดยเอาที่ดินจาแนกจัดสรรอย่าง
ยุติธรรม อย่างมีการจัดตั้งจะเรียกว่านิคม หรือจะ
เรียกว่าหมู่หรือกลุ่ม หรือสหกรณ์ก็ตาม ก็จะทา
ให้คนที่มีชีวิตแร้นแค้นสามารถที่จะพัฒนา
ตัวเองขึ้นมาได้"
พระราชดารัสไว้ ณ สานักงาน กปร. ในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ 81
ทฤษฎีใหม่ทางการเกษตร
"ทฤษฎีใหม่" เป็ นแนวทางหรือหลักในการบริหาร
จัดการที่ดินและน้า เพื่อการเกษตรในที่ดินขนาด
เล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด ด้วยหลักเศรษฐกิจ
พอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้
พระราชทานพระราชดารินี้เพื่อเป็ นการช่วยเหลือ
เกษตรกรที่ประสบความยากลาบาก ให้สามารถ
ผ่านช่วงวิกฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนน้าได้โดย
ไม่เดือดร้อนและยากลาบากนัก
การดาเนินงานตามทฤษฎีใหม่มี 3
ขั้นตอน คือ
๑ ) การผลิต ให้พึ่งตนเองด้วยวิธีง่าย ค่อยเป็ นค่อย
ไปตามกาลัง ให้พอมีพอกิน
๒ ) การรวมพลังกันในรูปแบบ หรือ สหกรณ์ ร่วม
แรงร่วมใจกัน ในด้านการผลิต การตลาด ความ 82
“เมื่อปี ที่แล้ว ได้ไปเยี่ยมหมู่บ้านแห่งหนึ่ง (บ้าน
กุดตอแก่น ต. คุ้มเก่า
อ. เขาวง จ. กาฬสินธุ ์) ได้เข้าไปดูข้าวที่เขาเก็บ
แล้วเขากองไว้อยู่ ชาวบ้านบอกว่านี่คือข้าวที่ได้
แต่เข้าไปดูข้าวแล้ว...ในรวงนั้นท่าทางมีเมล็ด
ข้าว แต่จับดูแล้วไม่มี มีรวงเปล่าๆ ต้นข้าวมีเพียง
สองสามเมล็ด หมายความว่า ไร่หนึ่งได้สัก ๒ ถัง
... ไม่พอกิน เข้าไปถามเขาว่าทาไมเป็ นเช่นนั้น
เขาบอกว่ามันแล้ง แล้งมาทุกปี ก็เลยบอก
ชาวบ้านว่าจะช่วย จะลองหาวิธีที่จะทาให้มี
ข้าว”
(พระราชดารัส, ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๖) 83
“...หลักมีว่า แบ่งที่ดินเป็ น ๓ ส่วน ส่วนหนึ่งเป็ นที่สาหรับ
ปลูกข้าว อีกส่วนหนึ่งสาหรับปลูกพืชไร่ พืชสวน และก็
มีที่สาหรับขุดสระน้า...ในบริเวณนี้จะเกิดเป็ นบริเวณ ที่
พัฒนาแบบใหม่ ถึงเรียกว่า ทฤษฎีใหม่...”
(พระราชดารัส, ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗)
84
“ในประเทศอย่างประเทศไทย น้าจะมีมากเป็ นระยะหนึ่ง จน
น้าท่วม จนกระทั่งทาให้เดือดร้อน ทาให้พืชพันธุ ์
ธัญญาหารเสียไป ตายไป เน่าไป และเมื่อเสร็จแล้ว
หลังจากระบายน้าออกไป ด้วยความเหน็ดเหนื่อยและมี
ความสิ้นเปลืองก็แห้ง ไม่สามารถที่จะทาการเพาะปลูก ก็
อด จน ฉะนั้นจึงทาทฤษฎีใหม่เพื่อมีโอกาส ถ้าน้ามีพอดี
ในปี ไหน ก็สามารถที่จะทาการเกษตร หรือการปลูกข้าวที่
เรียกว่านาปี ทาได้ และถ้าต่อไปในหน้าแล้งน้ามีน้อย ก็
สามารถที่จะใช้น้าที่กักเอาไว้ในสระเก็บน้าของแต่ละ
แปลงมาปลูก แม้แต่ข้าวก็ยังปลูกได้ ไม่ต้องไปเบียดเบียน
ชลประทานระบบใหญ่ และก็อาจจะปลูกผัก หรือเลี้ยงปลา
หรือทาอะไรก็ทาได้ ฉะนั้น ทฤษฎีใหม่นี่มีไว้สาหรับ
ป้ องกัน หรือถ้าในโอกาสปกติทาให้ร่ารวยขึ้น ถ้าใน
โอกาสที่มีอุทกภัยก็สามารถที่จะฟื้นตัวได้โดยไม่ต้องให้
่
85
"...การพัฒนาแหล่งน้านั้น ในหลักใหญ่ก็คือ การควบคุม
น้า ให้ได้ดังประสงค์ทั้งปริมาณและคุณภาพ กล่าวคือ
เมื่อมี ปริมาณน้ามากเกินไป ก็ต้องหาทางระบายออกให้
ทันการณ์ ไม่ปล่อยให้เกิดความเดือดร้อนเสียหายได้ และ
ในขณะที่เกิด ภาวะขาดแคลน ก็จะต้องมีน้ากักเก็บไว้ใช้
อย่างเพียงพอ ทั้ง มีคุณภาพเหมาะสมแก่การเกษตร การ
อุตสาหกรรมและการอุปโภคบริโภค ปัญหาอยู่ที่ว่า การ
พัฒนาแหล่งน้านั้นอาจมี ผลกระทบกระเทือนต่อ
สิ่งแวดล้อมบ้าง แต่ถ้าไม่มีการควบคุม น้าที่ดีพอแล้ว เมื่อ
เกิดภัยธรรมชาติขึ้น ก็จะก่อให้เกิดความ เดือดร้อน
สูญเสีย ทั้งในด้านเศรษฐกิจและในชีวิตความเป็ นอยู่ ของ
ประชาชน ทั้งส่งผลกระทบเสียหายแก่สิ่งแวดล้อมอย่าง
ร้ายแรง…”
แนวพระราชดาริเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรน้าของ
พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว แสดงไว้อย่างชัดเจนใน
กระแสพระราชดารัสที่พระราชทานเนื่องใน
86
“...หลักสาคัญว่าต้องมีน้าบริโภค น้า
ใช้ น้าเพื่อการเพาะปลูก เพราว่าชีวิตอยู่ที่นั่น
ถ้ามีน้าคนอยู่ได้ ถ้าไม่มีน้า คนอยู่ไม่ได้ ไม่มี
ไฟฟ้ าคนอยู่ไม่ได้ แต่ถ้ามีไฟฟ้ าไม่มีน้าคนอยู่
ไม่ได้...”
พระราชดารัส ณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน
เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๒๙
87
88
ศาสตร ์พระราชากับการท่องเที่ยว
ปลายน้าบางปะกง
๑.ศาสตร ์พระราชา ด้านการจัดการป่ าชายเลน
๒. ศาสตร ์พระราชา ด้านการจัดการน้า
๓.ศาสตร ์พระราชา ด้านการจัดการเกลือทะเล
89
๑.ศาสตร ์พระราชา ด้านการจัดการป่ า
ชายเลน
“…ป่ าชายเลนมีประโยชน์ต่อระบบนิเวศน์ของพื้นที่
ชายทะเลและอ่าวไทย แต่ปัจจุบัน ป่ าชายเลนของ
ประเทศไทย กาลังถูกบุกรุกและถูกทาลายไป โดยผู้
แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน จึงควรหาทางป้ องกัน
อนุรักษ์และขยายพันธุ ์เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะต้น
โกงกาง เป็ นไม้ชายเลนที่แปลก และขยายพันธุ ์
ค่อนข้างยาก เพราะต้องอาศัยระบบน้าขึ้นน้าลงใน
การเติบโตด้วย จึงขอให้ส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง
คือกรมป่ าไม้ กรมประมง กรมชลประทาน และกรม
อุทกศาสตร ์ร่วมกันหาพื้นที่ที่เหมาะสม ในการ
ทดลองขยายพันธุ ์โกงกาง และปลูกสร้างป่ าชาย
เลนกันต่อไป…”
พระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระราชทานพระราชดาริแก่รัฐมนตรีช่วยว่าการ 90
๒. ศาสตร ์พระราชา ด้านการจัดการ
น้า
“…ปัญหาสาคัญคือเรื่องสิ่งแวดล้อม เรื่องน้าเสีย
กับขยะ ได้ศึกษามาแล้วเหมือนกัน ทาไม่ยาก
นัก ในทางเทคโนโลยีทาได้ในเมืองไทยเองก็ทา
ได้ หาเทคโนโลยีจากต่างประเทศมาแล้วทาใน
เมืองไทยเองก็ทาได้ หรือจะจ้าง บริษัท
ต่างประเทศมาทาก็ได้ นี่แหละปัญหาเดียวกัน
เดี๋ยวนี้กาลังคิดจะทา แต่ติดอยู่ที่ที่จะทา…
“...แล้วก็ต้องทาการเรียกว่า การกรองน้า ให้ทา
น้านั้นไม่ให้โสโครก แล้วปล่อยน้าลงมา ที่เป็ นที่
ทาการ เพาะปลูก หรือทาทุ่งหญ้า หลังจากนั้น
น้าที่เหลือ ก็จะลงทะเลโดยไม่ทาให้น้านั้นเสีย”
91
๓.ศาสตร ์พระราชา ด้านการจัดการ
เกลือทะเล
“…ให้พิจารณาแก้ไขปัญหาของการขาดสาร
ไอโอดีนของราษฎรโดยการสารวจพื้นที่ในแต่ละ
พื้นที่ถึงปัญหา และความต้องการเกลือ ซึ่งแต่ละ
ท้องถิ่นที่จะมีปัญหาและความต้องการไม่
เหมือนกันโดยเฉพาะต้องสารวจ เส้นทางเกลือว่า
ผลิตจากแหล่งใด ก็น่าที่จะนาเอาไอโอดีนไปผสม
กับแหล่งผลิตต้นทางเกลือเสียเลยทีเดียว…”
พระราชดาริ ณ วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ ๙
มี.ค. ๒๕๓๖
92
93
94
๖.การบริหารภายใต้สภาวะวิกฤต /ความ
ขาดแคลน
/แบบคนจน
95
"ทั้งนี้ คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา จะว่าเมืองล้าสมัยว่าเมืองไทยเชย ว่า
เมืองไทยไม่มีสิ่งที่สมัยใหม่ แต่เราอยู่พอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความ
ปรารถนาที่จะให้เมืองไทยพออยู่พอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับ
ประเทศอื่นๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้
ประเทศต่างๆ ในโลกนี้กาลังตก กาลังแย่ กาลังยุ่งเพราะแสวงหาความ
ยิ่งยวดทั้งในอานาจ ทั้งความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ ทางอุตสาหกรรม
ทางลัทธิ ฉะนั้นถ้าทุกท่านซึ่งถือว่าเป็นผู้ที่มีความคิด และมีอิทธิพล มี
พลังที่จะทาให้ผู้อื่นซึ่งมีความเห็นเหมือนกัน ช่วยกันรักษาส่วนรวมให้อยู่
ดีกินดีพอสมควร ขอย้า พอควร พออยู่พอกิน มีความสงบ ไม่ให้คนอื่นมา
แย่งคุณสมบัติจากเราไปได้ ก็จะเป็นของขวัญวันเกิดที่ถาวร ที่จะมีคุณค่า
อยู่ตลอดเวลา“
(๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๑๗)
96
“...การจะเป็นเสือนั้นไม่สาคัญ สาคัญอยู่ที่เรามี
เศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนั้น
หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตนเอง ความพอเพียงนี้ไม่ได้
หมายความว่าทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัวเอง จะต้องทอผ้าใส่
เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอาเภอ จะต้องมีความ
พอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอย่างผลิตได้มากกว่าความต้องการก็ขายได้
แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไร ไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก...”
พระราชดารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙
97
98
“ทาแบบคนจน”
99
100
101
102
103
กระบวนการหล่อหลอมคน Conversion Process
INPUT PROCESS OUTPUT
๑.ไร้วินัย ๑.ครู ๑.คนดี มี
วินัย ภูมิใจในชาติ
๒.หลักสูตร
๒.ทาอะไรไม่เป็น ๓.เครื่องมือ อุปกรณ์การสอน ๒.พึ่งตนเอง
ได้ (วิชาสามัญ)
๔.วิธีการสอน
๓.หาจุดเด่นไม่เจอ ๕.สภาพแวดล้อม ๓.มีความเชี่ยวชาญพิเศษ
๖.เงื่อนเวลา Expert (วิสามัญ)
๔. กตัญญู /รับผิดชอบสังคม/จิตอาสา (กาลังของแผ่นดิน)
104
นายไตรภพ โคตรวงษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร ์
traiphopkhotwongsa@gmail.com
Mobile/Line ID :0897001130
105

More Related Content

Similar to A1

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงWongduean Phumnoi
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖IMC Institute
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
ติวข้อสอบธรรมศึกษา ชึ้นตรี โท และเอก
ติวข้อสอบธรรมศึกษา ชึ้นตรี โท และเอกติวข้อสอบธรรมศึกษา ชึ้นตรี โท และเอก
ติวข้อสอบธรรมศึกษา ชึ้นตรี โท และเอกChalothorn Kosakul
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระtongsuchart
 
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่siep
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpKamjornT
 
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวมวิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวมPrachoom Rangkasikorn
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาparinya poungchan
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 

Similar to A1 (20)

ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖
ผู้ได้รับใบประกาศเกียรติคุณโครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๖
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
ติวข้อสอบธรรมศึกษา ชึ้นตรี โท และเอก
ติวข้อสอบธรรมศึกษา ชึ้นตรี โท และเอกติวข้อสอบธรรมศึกษา ชึ้นตรี โท และเอก
ติวข้อสอบธรรมศึกษา ชึ้นตรี โท และเอก
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
 
ปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระ
 
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPp
 
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวมวิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Constructivist
ConstructivistConstructivist
Constructivist
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
 

A1