SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
L.P.N. DEVELOPMENT PUBLIC COMPANY LIMITED
ISSUE 76 JULY - SEP 2014
LUMPINI
MAG
Good
Health
สุขภาพดีได้…
กิน อยู่ เป็น
#76
จัดท�ำโดย
ฝ่ายประชาสัมพันธ์
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน)
3 	 Care & Share
4	 Real Pleasure of Living
6	 Happy Together
7	 Lumpini Focus Story
13	 Health Tip
14	 Vibrant Community
16	 Idea Room	
17 	 Postcard
18	 Chit Chat
19	 LPN Green
โอภาส ศรีพยัคฆ์
กรรมการผู้จัดการ
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน)
1168/109 ชั้น 36 อาคารลุมพีนี ทาวเวอร์ ถนนพระราม 4
แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120
โทรศัพท์ : 02-285-5011-6 แฟกซ์ : 02-285-5017
E-mail : lumpinimag@lpn.co.th
Facebook/LumpiniMag Lumpini
Instagram/LumpiniMag www.lpn.co.th
LUMPINI
MAG
content
บททักทาย
สวัสดีครับ
สมาชิกครอบครัวลุมพินีทุกท่าน
การดูแลสุขภาพเป็นเรื่องส�ำคัญ พอเข้า
ปลายฝนต้นหนาว อากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย
อาจท�ำให้หลายคนเจ็บป่วยได้ง่ายหากพักผ่อน
ไม่เพียงพอ หากมีเวลาอยากให้ทุกท่านหันมา
ออกก�ำลังกายบ้าง ภายในพื้นที่ส่วนกลางของ
ชุมชน อย่างสวนรวมใจ ลานออกก�ำลังกาย
กลางแจ้ง ลู่จ๊อกกิ้งรอบชุมชน ห้องออกก�ำลัง
กาย และสระว่ายน�้ำในโครงการ ส่วนใครที่มี
เวลาน้อย ลองแกว่งแขนในห้องก็เท่ากับท่าน
ได้ออกก�ำลังกายเล็กๆ แล้วนะครับ
	 หนึ่งความห่วงใยที่มีให้สมาชิกครอบ
ครัวลุมพินีนั้น ยังเทียบไม่ได้กับ Postcard ที่
ส่งเข้ามาร่วมอวยพร25 ปีLPN ผม เจ้าหน้าที่
ทีมบริหารชุมชน ขอขอบคุณความสุขที่ท่าน
ส่งมา ทุกข้อความเป็นก�ำลังใจที่ยิ่งใหญ่ให้กับ
เราทุกคนครับ
และเมื่อวันเสาร์ที่ 27 กันยายนที่ผ่านมา
พวกเราได้แสดงพลังใจที่ได้รับ ในการร่วมจัด
งานเสวนาประธานกรรมการนิติบุคคลอาคารชุด
หัวข้อ “ชุมชนต้นแบบ ชุมชนน่าอยู่ยั่งยืน” โดย
มีประธานกรรมการทุกชุมชนมาร่วมเสวนา
เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน
ต้นแบบ ชุมชนที่มีมาตรฐานการบริหารจัดการ
ชุมชนน่าอยู่อย่างเป็นรูปธรรม สู่ความสุขที่แท้
จริงของการอยู่อาศัย
ท้ายนี้ เพื่อให้ LUMPINI MAG น�ำเสนอ
เนื้อหาที่เข้าถึงชุมชนได้มากขึ้น ท่านสามารถส่ง
ความคิดเห็น หรือข้อแนะน�ำ เพื่อการปรับปรุง
มาได้ที่ lumpinimag@lpn.co.th
เพราะทุกความเห็นที่ท่านร่วมแบ่งปันจะมีส่วน
สร้างชุมชนลุมพินีที่น่าอยู่อย่างยั่งยืนครับ
Good Health
2
LPN
รวมใจแบนด์คลับ
เชื่อมคนสองวัยด้วยดนตรี
Care & Share ขอน�ำเรื่องราวดีๆ จาก
กลุ่ม “LPN รวมใจแบนด์คลับ” Community
Band วงแรกของชุมชนลุมพินีมาแบ่งปันกัน
จุดเริ่มต้นจากสมาชิกครอบครัวลุมพินีที่ชื่น
ชอบและรักในเสียงดนตรีรวมกลุ่มกันน�ำ
ดนตรีมาเชื่อมโยงความสุข โดยมีผู้ฝึกสอน
จากสมาคมวงดนตรีสยามมิตร (Siamyth)
เมื่อไม่นานมานี้ ทางวงได้เดินทางไป
ขับกล่อมดนตรีเพลงย้อนยุค ณ สวางคนิเวศ
สภากาชาดไทย ย้อนวัยวันวานให้กลับคืนมา
อีกครั้ง สร้างบรรยากาศและรอยยิ้มให้กับคน
ทุกวัยได้เป็นอย่างดี ด้วยการใช้เสียงดนตรี
สร้างความสุข ซึ่งความแตกต่างจากคนสองรุ่น
และวัยที่ห่างกันอาจเกิดช่องว่างระหว่างวัยได้
การใช้ดนตรีเข้ามาเป็นส่วนผสมจึงสามารถ
สร้างประสบการณ์ดีๆ เชื่อมคนสองวัยได้อย่าง
กลมกลืน
	 ฝากติดตามผลงานของ “LPN รวม
ใจแบนด์คลับ” ด้วยนะครับ ตอนนี้ทางกลุ่มยัง
ต้องการสมาชิกเพิ่มเติม หากเพื่อนสมาชิก
ครอบครัวลุมพินีชื่นชอบและมีความสามารถ
ทางด้านดนตรี ไม่ว่าจะเป็นเครื่องดนตรี
ประเภทใด สมัครกันได้ที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์
(ชุมชน) โทรศัพท์ 02-285-5011 ต่อ 377 …
ดนตรีเชื่อมความสุขของเราทุกคนครับ
LPN MAG 76 JULY – SEP 2014
3
Care & Share
โดยหลังจากร่วมรับประทานอาหาร
เย็นในวันแรกของการเดินทางแล้ว ก็ถึงเวลา
ของปาร์ตี้เล็กๆ ภายในห้องคาราโอเกะของ
โครงการ ซึ่งเพลงที่แต่ละคนเลือกก็เหมาะกับ
วัยสุดๆ ตั้งแต่รุ่นคุณตาคุณยาย จนถึงรุ่น
หนุ่มสาววัย30 ต้นๆ เรียกรอยยิ้มและเสียง
หัวเราะได้ตลอดทั้งคืน
	 เช้าวันรุ่งขึ้น ทุกคนต่างลงมาใส่
บาตร ร่วมกันบริเวณสวนเล็กๆ ด้านหน้า
โครงการ เป็นภาพความอบอุ่นที่สัมผัสได้
ทั้งจากสีหน้า และแววตา จากนั้นก็ไปร่วม
รับประทานอาหารเช้าที่ห้องอาหารของ
โครงการ ก่อนที่คุณพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์
กรรมการบริหารบริษัท LPN จะพาเยี่ยมชม
โครงการ เริ่มจากห้องชุดพักอาศัยในโซน
“ครอบครัวสุขสันต์” (Pleasure Family)
Pleasure Family
ครอบครัวเรา ... ครอบครัวสุขสันต์
ประสบการณ์ ... ไม่ใช่แค่การบอกเล่า เพราะนั่นไม่สามารถถ่ายทอด
ทุกอย่างได้เท่ากับการสัมผัสด้วยตัวเอง และเพื่อสร้างประสบการณ์
ดีๆ ให้เกิดขึ้น บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน)
(LPN) ได้จัดกิจกรรม “25 ปี LPN กับครอบครัวสุขสันต์” โดยเชิญ
ครอบครัวคนข่าว และครอบครัวลุมพินี มาร่วมอยู่อาศัยจริง
เพื่อสัมผัสความสุขที่แท้จริงของการอยู่อาศัยในโครงการลุมพินี วิลล์
นาเกลือ-วงศ์อมาตย์
Good Health
4
Real Pleasure of Living
4
ที่มีขนาด 34 ตร.ม. โดยน�ำรายละเอียดของ
“Universal Design” มาปรับให้เข้ากับรูปแบบ
LPN Design เพื่อรองรับกับการใช้ชีวิตของผู้สูง
วัย ส�ำหรับผู้ที่ต้องใช้ Wheel chair ก็เพิ่มราว
จับในห้องน�้ำเพื่อความปลอดภัยวัสดุอุปกรณ์ทุก
ชิ้นในห้องไม่มีเหลี่ยมมุม และยังมีปุ่มฉุกเฉินใน
กรณีต้องการความช่วยเหลือเร่งด่วน
	 จากนั้นพาชมพื้นที่ส่วนกลางที่จัดโซน
ไว้ให้ผู้อยู่อาศัยสามารถท�ำกิจกรรมร่วมกันใน
ครอบครัวได้ ตั้งแต่ห้องครัวรวม ห้องสมุดมี
ชีวิต ห้องคาราโอเกะ ด้านบริการมีห้องสุขภาพ
ซึ่งมีผู้ช่วยพยาบาลคอยดูแลตลอด 24 ชั่วโมง
เพื่อรับเหตุฉุกเฉินจากห้องชุดพักอาศัย ก่อน
ระบบจะส่งต่อไปยังโรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา
	 ส่งท้ายด้วยการร่วมพูดคุยกับคุณพิ
เชษฐ กันแบบเจาะลึก กับการฉีกทุกกฎของคอน
โดเมือง ภายใต้แนวคิด “ครอบครัวสุขสันต์”
(Pleasure Family) ที่สามารถเติมเต็มทุกความ
ต้องการของคนเมืองให้เหมาะกับคนทุกวัย ทุก
ไลฟ์สไตล์ และทุกคนในครอบครัว
LPN MAG 76 JULY – SEP 2014
5
ไมสวมรองเทาแตะ
เขาบริเวณสระวายน้ำ
ลางตัวและสระผม
กอนลงสระวายน้ำ
ไมควรปลอยใหเด็กอยูในสระวายน้ำ
ตามลำพัง ควรมีผูปกครองดูแลใกลชิด
แตงกายถูกระเบียบ โดยสวมหมวก กางเกงหรือชุดวายน้ำ
งดการสวมกางเกงขาสั้นหรือกางเกงที่ไมเหมาะสมลงสระ
งดรับประทานอาหาร เครื่องดื่ม
และสงเสียงดังบริเวณสระวายน้ำ
ขอความรวมมือวายน้ำตามแนวยาว
ของสระเพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุ
ผูที่มีโรคติดตอทางผิวหนัง
ควรงดใชสระ
ไมสวมรองเทาแตะ
เขาบริเวณสระวายน้ำ
ลางตัวและสระผม
กอนลงสระวายน้ำ
ไมควรปลอยใหเด็กอยูในสระวายน้ำ
ตามลำพัง ควรมีผูปกครองดูแลใกลชิด
แตงกายถูกระเบียบ โดยสวมหมวก กางเกงหรือชุดวายน้ำ
งดการสวมกางเกงขาสั้นหรือกางเกงที่ไมเหมาะสมลงสระ
งดรับประทานอาหาร เครื่องดื่ม
และสงเสียงดังบริเวณสระวายน้ำ
ขอความรวมมือวายน้ำตามแนวยาว
ของสระเพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุ
ผูที่มีโรคติดตอทางผิวหนัง
ควรงดใชสระ
Good Health
6
Happy Together
ช่วงนี้กระแสนิยมของ “คนรักสุขภาพ” ก�ำลังมาแรง
ไม่ว่าจะเป็นการออกก�ำลังกายแบบ 25 นาที หรือ
แม้กระทั่งการกินอาหารแบบคลีนๆ (Clean Food)
ที่หลายคนรู้จัก และเรียกกันจนติดปาก ก็คือการ
กินอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
GOOD HEALTH
สุขภาพดี… กิน อยู่ เป็น
	 ส�ำหรับคลีนฟู้ด(CleanFood) นั้นมีความหมายอยู่
2 อย่าง คือ อาหารที่ไม่ปนเปื้อน หมายถึง กินเข้าไปแล้วมี
ประโยชน์และไม่เป็นพิษต่อร่างกาย ซึ่งการปนปื้อนก็มีอยู่3 ทาง
ด้วยกัน คือ
7
Focus Story
LPN MAG 76 JULY – SEP 2014
1. ปนเปื้อนเชื้อโรค มีเชื้อจุลินทรีย์
เข้าไปปะปนในอาหาร ไม่ว่าจะเป็นอาหารที่
ไม่สุก อาหารที่ค้างคืน มีแมลงวันตอม
ปรุงไม่สะอาด ก็น�ำมาซึ่งอาการท้องเดินได้
         2. ปนเปื้อนจากพยาธิ เช่น การกิน
อาหารที่สุกๆ ดิบๆ ไม่ระมัดระวังเรื่องความ
สะอาดก็อาจท�ำให้มีการปนเปื้อนพยาธิได้
         3. ปนเปื้อนสารเคมี เช่น กินผักที่
ล้างไม่สะอาด มียาฆ่าแมลงปะปนอยู่ อาหาร
ที่ใส่สีแต่ไม่ใช่สีผสมอาหาร อาหารที่มีพิษ
เช่น เห็ดพิษ น�้ำมันทอดซ�้ำ ถั่วลิสงที่มี
อะฟลา-ท็อกซิน (Aflatoxin) เป็นต้น
ท�ำความเข้าใจในเรื่องของ “อาหารถูกหลัก
โภชนาการ”
          คนส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจค�ำว่า
อาหาร 5 หมู่ เพียงแค่พูดกันจนติดปาก
อธิบายง่ายๆ คือสิ่งที่เราจะกินในแต่ละมื้อ
หมู่ที่1 เนื้อสัตว์ มีโปรตีน หมู่ที่2 ข้าว แป้ง
คาร์โบไฮเดรต หมู่ที่ 3 เกลือแร่และแร่ธาตุ
หมู่ที่ 4 ผักผลไม้ที่มีวิตามิน และหมู่ที่ 5
ไขมัน คนมักจะท่องแล้วก็จบ ไม่ได้สังเกตว่า
แต่ละมื้อกินครบไหม
แล้วจะกินอาหารก่อนหรือหลังออกก�ำลัง
กาย?
          ตามหลักแล้วถ้าจะออกก�ำลังกาย
เราต้องไม่กินอาหารมื้อหนักล่วงหน้า
ประมาณ 1-2 ชั่วโมง แต่ถ้ากินอาหารมื้อ
หนักไปแล้ว ห่างมาสัก 2-3 ชั่วโมง
จึงสามารถออกก�ำลังเบาๆ ได้
          ในทางตรงกันข้าม ถ้าออกก�ำลัง
กายเสร็จแล้วไปกินมื้อหนักก็มีโอกาสที่เราจะ
อ้วนสูงมาก เพราะฉะนั้นการออกก�ำลังกาย
ในช่วงเช้าคือช่วงเวลาที่ดีที่สุด เพราะเป็นช่วง
ที่ยังไม่ได้รับประทานอาหาร
	 ไม่ว่ากระแสการออกก�ำลังกายหรือ
การกินอาหารแบบคลีนๆ ที่ก�ำลังร้อนแรง
ในขณะนี้จะเป็นเพียงเรื่องฮิตที่เกิดขึ้นเพียง
ชั่วคราวหรือไม่ อย่างน้อยก็เป็นเรื่องน่ายินดี
ที่คนไทยหันมาใส่ใจสุขภาพ และดูแลเรื่อง
อาหารการกินเพิ่มมากขึ้น
เอื้อเฟื้อข้อมูล : ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
8
Good Health
THE BENEFITS
OF A HEALTHY
BREAKFAST
อาหารเช้ามีประโยชน์
ช่วยแก้เครียด
ชีวิตคนในเมืองมักจะไม่ได้ใส่ใจกับการกินอาหารเช้า
เพราะความเร่งรีบ คุณเคยสังเกตตัวเองไหมว่า เมื่อไม่ได้กินอาหารเช้า
ในวันนั้นคุณจะรู้สึกว่าตัวเองหงุดหงิดเป็นพิเศษ
และอารมณ์จะอ่อนไหวง่าย
LPN MAG 76 JULY – SEP 2014
9
          นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบว่า คนที่
กินอาหารเช้าน้อยเท่าไรยิ่งเกิดความเครียด
ได้มากเท่านั้น อีกทั้งอารมณ์จะอ่อนไหวง่าย
หงุดหงิดง่าย ในท�ำนองเดียวกัน หากคุณกิน
อาหารมื้อกลางวันที่ให้พลังงานน้อยก็จะมีผล
เช่นเดียวกัน ซึ่งจากการศึกษาพบว่า อาหาร
ที่กินเข้าไปมีผลต่ออารมณ์และความเครียด
         จากการวิจัยที่แบ่งคนออกเป็น2 กลุ่ม
กลุ่มแรกให้กินอาหารเช้าและกลางวันตาม
ปกติ ส่วนอีกกลุ่มจะให้กินอาหารที่มีพลังงาน
ต่อมื้อต�่ำ พบว่ามีความแตกต่างกันเล็กน้อย
ในเรื่องอารมณ์ แต่กลุ่มที่ได้รับพลังงานต�่ำ
จะเกิดความเครียดขึ้น มีความกระวนกระวาย
และมีความอดทนน้อยลงในการท�ำงาน
          ส่วนที่อังกฤษได้วิจัยพบว่า การกิน
อาหารเช้าที่มีไขมันมากว่าจะท�ำให้สมอง
ท�ำงานช้าลงมีความเฉื่อย ล้า ขาดความคิด
สร้างสรรค์ และมีความเพ้อฝันมากขึ้น
University of Sheffield ได้ตรวจสอบพบว่า
ในกระบวนการย่อยไขมันจะไปลดความ
กระฉับกระเฉงว่องไวและความละเอียดลออลง
  นอกจากนี้ บทความดังกล่าว
ยังได้เปรียบเทียบความส�ำคัญของอาหาร
แต่ละมื้อว่า อาหารเช้าเปรียบเหมือน
พระราชา อาหารกลางวันนั้นเปรียบเหมือน
พระราชินี ส่วนอาหารมื้อค�่ำเปรียบเหมือน
ยาจก ใครจะเน้นหนักมื้อไหนก็คิดดูเอาเอง
เอื้อเฟื้อข้อมูล : ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
10
Good Health
“ชมรมลุมพินี
เดิน-วิ่ง เพื่อสุขภาพ”
วิ่งเพื่อแม่
	 กิจกรรมวิ่งเพื่อแม่ภายใต้ชื่อ
“12 สิงหา ฮาล์ฟ มาราธอน กรุงเทพ
2014” เกิดจากกลุ่มชมรม“ลุมพินีเดิน-วิ่ง
เพื่อสุขภาพ” (Lumpini Jogging Club)
ซึ่งเป็นสมาชิกในครอบครัวลุมพินีกว่า
440 คน จ�ำนวน 47 โครงการ เข้าร่วม
กิจกรรมกับบริษัท เอ็น.ซี.ซี.แมนเนจเม้นท์
แอนด์ ดิเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด จัดขึ้น
ณ สวนเบญจกิติ ศูนย์การประชุม
แห่งชาติสิริกิติ์ โดยทางชมรมได้รับ
รางวัลชนะเลิศ “ชมรมวิ่งที่ส่งสมาชิก
เข้าร่วมแข่งขัน มากที่สุด” ติดต่อกันเป็น
ปีที่ 6 ได้รับถ้วย พระราชทานสมเด็จ
พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ
ซึ่งนอกจากเป็นการแสดงความจงรักภักดี
และเทิดพระเกียรติ ยังเป็นการส่งเสริม
สุขภาพสานความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้น
ของสมาชิกในครอบครัวให้มากยิ่งขึ้นด้วย
LUMPINI
JOGGING
CLUB
11
LPN MAG 76 JULY – SEP 2014
ณ โครงการ
ลุมพินี เพลส
นราธิวาส-
เจ้าพระยา
	 เมื่อต้นเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา
ได้มีการจัดกิจกรรมแข่งขันเทเบิลเทนนิส
สัมพันธ์ ครั้งที่ 1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพ
และสร้างความสัมพันธ์อันดีร่วมกัน
ระหว่างสมาชิกลุมพินี โดยมีผู้มาเข้าร่วม
กิจกรรมรวม 150 ท่าน ทั้งวัยท�ำงานและ
วัยเกษียณ ท�ำให้เต็มไปด้วยบรรยากาศ
แห่งมิตรภาพและความสุข เห็นไหมว่า
การออกก�ำลังกายสร้างสัมพันธภาพได้เป็น
อย่างดี ไม่ใช่แค่เพียงสุขภาพของเรา
เท่านั้น
กิจกรรมแข่งขันเทเบิล
เทนนิสสัมพันธ์ ครั้งที่ 1
12
Good Health
FoodiEat
ชีวิตการกินดี เพราะมี
	 ในแต่ละเดือนเราเอง
คงจะจ�ำไม่ได้ว่ารับประทานอาหาร
อะไรกันไปบ้าง ยิ่งจะให้มาค�ำนวน
เรื่องแคลลอรีตลอดเวลาคงยิ่งยุ่ง
ยากกว่าจะเสิร์ชค�ำนวณหา
แคลลอรีได้ เพื่อนร่วมวงรับ
ประทานอาหารคงจะแย่งจนหมด
จานไปเสียแล้ว
	 ถือเป็นข่าวดีที่ศูนย์เทค
โน-โลยีอิเล็กทรอนิกส์และ
คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)
และส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
ได้ร่วมกันจัดท�ำแอพพลิเคชั่นชื่อ
FoodiEat ขึ้นเพื่อติดตาม
พฤติกรรมการรับประทาน
อาหาร อีกทั้งยังได้ส�ำนักงาน
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุข
ภาพ(สสส.) และสถาบันโภชนาการ
มหาวิทยาลัยมหิดลมาสนับสนุน
เรื่องฐานข้อมูล แอพฯ นี้มีข้อมูล
โภชนาการกว่า 1,000 รายการ
ท�ำให้ค�ำนวนเรื่องปริมาณแคลลอรี
อาหารการกินได้ง่ายขึ้น
	 โดยคุณสามารถก�ำหนด
ค่าแคลลอรีที่เหมาะกับตนเองได้
เพียงแค่ระบุเพศ อายุ น�้ำหนัก และ
ส่วนสูง นอกจากนี้ แอพพลิเคชั่น
FoodiEat ยังช่วยบันทึกอาหาร
แนะน�ำการออกก�ำลังกาย และ
วิเคราะห์พฤติกรรมการรับ
ประทานอาหารให้กับคุณ ถือเป็น
ตัวช่วยหนึ่งที่จะเตือนให้ทราบว่า
รับประทานอะไรไปบ้าง เนื่องจาก
การรับประทานอาหารแบบเดิมๆ
ซ�้ำๆ จะท�ำให้ได้รับสารอาหารไม่
ครบถ้วน และท�ำให้เราอ้วนโดย
ไม่รู้ตัว
	 นอกจากนี้ FoodiEat
สามารถค�ำนวณดัชนีมวลกาย
(BMI) และปริมาณพลังงานที่
ร่างกายต้องใช้ในแต่ละวัน (BMR)
รวมทั้งแจ้งข่าวสารเรื่องการดูแล
สุขภาพ ส่วนคนชอบแชร์ แอพฯ
นี้สามารถแชร์ข้อมูลอาหาร
รูปภาพ และการออกก�ำลังกายผ่า
นทางเฟซบุ๊กได้ด้วย
	 ขณะนี้ FoodiEat ก�ำลัง
อยู่ระหว่างการพัฒนาเวอร์ชั่นใหม่
โดยคาดว่าจะสามารถดาวน์โหลด
ผ่านทาง App Store ได้ในเดือน
ตุลาคมนี้ อย่าลืมโหลดมาใช้เพื่อ
สุขภาพที่ดีของคุณนะคะ
Health Tip
13
LPN MAG 76 JULY – SEP 2014
ดูแลสุขภาพ
ด้วยกีฬาไทยๆ
ตะกร้อลอดห่วง
Good Health
14
Vibrant Community
คอลัมน์นักเขียนลุมพินี : ตู่ มะนาวตัด (สมาชิกครอบครัวลุมพินี คอนโดทาวน์ ชลบุรี-สุขุมวิท)
ผมเชื่อว่า
ตะกร้อลอดห่วง
สามารถสร้างความสนุก
และความสุขให้ผู้ชมได้
ไม่แพ้ฟุตบอลเลย
	 คุณผู้อ่านที่มีอายุหน่อยคงทราบดี
ว่าเมื่อก่อนตะกร้อลอดห่วงเป็นที่นิยมมาก
ส�ำหรับตัวผมเองแล้ว ในอดีตผมเคยเข้า
ร่วมแข่งขันตามงานประจ�ำปีและงาน
ประเพณีส�ำคัญต่างๆ ในย่านภาคตะวันออก
ร่วมกับเพื่อนจากหลากหลายอาชีพอยู่เป็น
ประจ�ำ เก็บเกี่ยวประสบการณ์จนได้รับเชิญ
ให้เป็นโค้ชและผู้ตัดสินตะกร้อให้สถาบัน
การพลศึกษาวิทยาเขตชลบุรี และมีโอกาส
ได้เป็นโค้ชฝึกสอนท่าเตะตะกร้อลอดห่วง
ร่วมกับอาจารย์สมศักดิ์ ชูชื่น แห่งสโมสร
การประปานครหลวง ที่ช่วยกันปลุกปั้น
นักกีฬาตะกร้อจนได้เป็นตัวแทนทีมชาติ
ไทยในกีฬาซีเกมส์ เช่น คุณเอกกวี รื่นพารา
และคุณโกมินทร์ เนาว์นนท์ ส่วนทีมหญิง
ก็คือคุณศรีรัตน์ ชูชื่น คุณจิราพร ชูชื่น และ
อีกหลายๆ คน
	 ช่วงหลังมานี้ กีฬาตะกร้อดูเหมือน
จะซบเซาลงไปบ้าง แต่ก็ยังโชคดีที่มีการจัด
แข่งขันตะกร้อลีกขึ้น ท�ำให้ตะกร้อลอดห่วง
กลับมาคึกคักอีกครั้ง และในปี 2558 ก็เข้า
สู่ประชาคมอาเซี่ยนแล้ว แต่ละชาติคงโชว์
ของดีประจ�ำชาติออกมา ส�ำหรับชาติไทย
ผมก็เชื่อว่ากีฬาตะกร้อลอดห่วงคงเป็นหนึ่ง
ในนั้น
ผมพยายามจะปลูกฝังให้คนรุ่นใหม่
ตระหนักถึงคุณค่าของกีฬาตะกร้อไทย
ซึ่งโชคดีนะครับที่ปัจจุบันมีช่องทางสื่อสาร
อย่าง YouTube และ Facebook ช่วยให้ผม
สามารถสาธิตท่าเล่นตะกร้อลอดห่วงกว่า
27 ท่ายาก ให้กับผู้ที่สนใจ ได้เข้ามาศึกษากัน
	 นอกจากจะเป็นการได้ถ่ายทอด
ศาสตร์และศิลป์ของกีฬาประเภทนี้แล้ว
ก็ยังเป็นการปลูกฝังให้คนรุ่นใหม่ตระหนัก
ถึงคุณค่าที่เราควรรักษาเอาไว้ให้ลูกหลาน
ด้วย ที่เล่ามาทั้งหมดนี้ก็เพื่อหวังจะให้ได้
หันมาใส่ใจเรื่องการออกก�ำลังกายและถ้า
หากสนใจที่จะเล่นตะกร้อด้วยแล้ว สามารถ
เข้าไปคุยกันได้ที่www.facebook.com/
takrowlordhaung นะครับ ผมเชื่อว่า
ตะกร้อลอดห่วงสามารถสร้างความสนุก
และความสุขให้ผู้ชมได้ไม่แพ้ฟุตบอลเลย
สิ่งที่ได้มันให้มากกว่าความสุขจากการได้
ส่งต่อให้เยาวชนมีสุขภาพแข็งแรงจากการ
เล่นกีฬาไทยแท้ และทุกครั้งที่ได้เห็นต่าง
ชาติมาถ่ายภาพเก็บความประทับใจด้วย
สีหน้าตื่นเต้นและอึ้งทึ่งในความสามารถ ยิ่ง
ตอกย�้ำชัดเจนว่านี่แหละคือความภูมิใจอัน
ยิ่งใหญ่ ที่ได้สืบสานกีฬาไทย... คุณว่ามั้ย?”
	 สมาชิกลุมพินีท่านใดที่สนใจจะ
รวมกลุ่มเล่นตะกร้อ ไม่ว่าจะเล่นสนุกๆ
หรือตั้งใจจะเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะสู่
การแข่งขัน คุณตู่ยินดีที่จะถ่ายทอดความ
รู้ให้กับผู้ที่มีใจรักสุขภาพรักกีฬาไทยเสมอ
โดยสามารถติดต่อผ่านทางส�ำนักงาน
นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี คอนโดทาวน์
ชลบุรี-สุขุมวิท
LPN MAG 76 JULY – SEP 2014
15
มีชาวคอนโดหลายท่านที่อยาก
ปลูกผักเอาไว้รับประทานเองภายในบ้าน
แต่ยังคิดไม่ตกเรื่องที่ว่าจะปลูกผักชนิดใด
เราขอให้คุณเริ่มต้นง่ายๆ จากการส�ำรวจ
ตัวเอง และสิ่งแวดล้อมรอบๆ ข้างของคุณ
ให้คุณลองสังเกตตัวเองว่า…
• 	คุณชอบรับประทานผักชนิดใด
	 ปลูกผักที่ตัวเองชอบเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี
• 	คุณมีงบประมาณเท่าไร
• 	ทักษะการปลูกผักของคุณเป็นอย่างไร
• 	พื้นที่ในการปลูกผักมีกว้างแค่ไหน
	 ไม่จ�ำเป็นต้องปลูกแต่พื้นที่แนวราบ 	
	 พื้นที่แนวตั้งก็สามารถปลูกผักได้
• 	มีเวลาดูแลผักที่คุณปลูกมากแค่ไหน
• 	ขณะที่จะปลูกเป็นฤดูอะไร
• 	แสงแดดที่ส่องมายังที่พักของคุณนั้น
	 มีมากน้อยเพียงใด
	 ขั้นต่อไปคือ ลองหาข้อมูลดูว่า
พืชผักที่คุณปลูกนั้นเป็นพืชรากสั้น กลาง
หรือยาว ค�ำแนะน�ำโดยส่วนใหญ่จะ
แนะน�ำให้ชาวคอนโดปลูกพืชผักที่มีราก
สั้น-กลาง อาทิ ผักกาดสีต่างๆ กะเพรา
โหระพา ฯลฯ คุณสามารถเลือกเองได้
SMALL BUT GREEN
เขียวได้...ไม่จ�ำกัด
	 การปลูกพืชผักไว้ทานเองนั้น
ถือว่ามีประโยชน์ต่อร่างกายและจิตใจ
เป็นอย่างมาก นอกจากจะท�ำให้เราได้
ทานผักสดๆ ที่ปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ
ยังมอบความสวยงามทางด้านภูมิทัศน์
ให้ห้องพัก เป็นกิจกรรมคลายเครียดยาม
ว่าง และสามารถน�ำไปมอบให้เพื่อนบ้าน
เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์กับคน
รอบข้างได้อีกด้วย
16
idea Room
Good Health
ขอบคุณทุกก�ำลังใจและค�ำอวยพร…
(ส�ำหรับสมาชิกครอบครัวลุมพินี
ที่ส่ง POSTCARD ร่วมอวยพรกันเข้ามา
เรามีของที่ระลึกมอบให้ทุกท่านค่ะ)
THANK YOU
FOR ALL
GREETINGS.
LPN MAG 76 JULY – SEP 2014
17
Postcard
สายๆ ของวันหยุด เราได้มีโอกาส
เข้าไป Chitchat คุยกับบัณฑิตหนุ่มจบใหม่ที่
พ่วงท้ายต�ำแหน่งกรรมการเจ้าของร่วมด้าน
กิจกรรมของทาง LPN คุณโอม-หะริน จงเจริญ
รัตน์ ที่โครงการลุมพินี เพลส พระราม 4 -
กล้วยน�้ำไท เห็นตี๋ๆ อารมณ์ดี หุ่นดีแบบนี้ เขา
จะมีวิธีรักษาสุขภาพและดูแลตัวเองอย่างไรบ้าง
	 “โอมว่า เราควรบาลานซ์สุขภาพกาย
สุขภาพความคิด เเละสุขภาพจิตไปพร้อมๆ กัน
เรื่องร่างกายโอมชอบตื่นเช้ามาฟิตเนส มัน
ท�ำให้รู้สึกกระฉับกระเฉงและสดชื่นตลอดวัน
หรือช่วงเย็นวันไหนรู้สึกเหนื่อยๆ ก็อดที่จะ
กระโดดลงสระว่ายน�้ำที่นี่ไม่ได้จากนั้นก็ไปซาว
น่าด้วยเลย อยากให้ทุกคนมาออกก�ำลังกายกัน
เยอะๆ มาว่ายน�้ำกันที่ชั้น 6 ได้สุขภาพที่ดีแล้ว
ยังได้พบเจอเพื่อนใหม่ๆ ด้วย”
	 “เรื่องสุขภาพกาย อย่าลืมขอบคุณ
ร่างกายด้วยการรับประทานอาหารให้ครบ 5
หมู่ หากทานไม่ครบก็อย่าลืมทานอาหารเสริม
ด้วยนะครับ”
	 ส�ำหรับสุขภาพความคิด คุณโอม
ดูแลด้วยการอ่านหนังสือ “โอมชอบอ่านเรื่อง
ประวัติคนสร้างชีวิตครับ อ่านเเล้วมีเเรงออก
ไปสู้กับทุกๆ วัน ถ้าอยากประสบความส�ำเร็จ
ต้องอ่านหนังสือครับ บางเล่มที่อ่านตอนนี้ก็
เป็นเล่มเดียวกันกับที่คุณพ่อก�ำลังอ่านอยู่ มัน
ก็เหมือนเราโกงอายุไปกว่า30 ปี ได้รู้อะไรมาก
เท่าๆ กับที่ผู้ใหญ่หรือผู้บริหารเขารู้กัน หรือ
บางครั้งก็ลงไปห้องสมุดข้างล่างเพื่อหา
หนังสือดีๆ มาอ่าน”
	 ทิ้งท้ายในเรื่องการดูแลสุขภาพจิตใจ
คุณโอมบอกว่า ต้องหาเวลาคุยกับตัวเองบ้าง
นั่งสมาธิ ฝึกบริหารความคิด เหมือนที่มีคน
เคยบอกว่า “ดวงจันทร์นั้นไกลหนักหนาเรายัง
ศึกษา ดวงใจเราใกล้หนักหนาศึกษาหรือยัง”
นอกจากหล่อแล้วยังมีสาระอีกด้วย ต้อ
ขอบคุณคุณโอมที่สละเวลามา Chitchat กับ
เรานะคะ
Good Health
18
Chitchat
กาย ความคิด และจิต
3 สิ่งส�ำคัญที่ควรดูแล
LPN MAG 76 JULY – SEP 2014
19
LPN Green
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน)
1168/109 ชั้น 36 อาคารลุมพีนี ทาวเวอร์ ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ
เขตสาทร กทม. 10120 โทรศัพท์ : 02-285-5011-6 แฟกซ์ : 02-285-5017
E-mail : lumpinimag@lpn.co.th Facebook/LumpiniMag Lumpini
Instagram/LumpiniMag www.lpn.co.th
“Man sacrifices his health
in order to make money.
Then he sacrifices money
to recuperate his health.
And then he is so anxious about
the future that does not enjoy
the present, the result being that
he does not live in the present
or the future. He lives as if he is
never going to die, and then dies
having never really lived.”
Dalai Lama.
มนุษย์เรานึ้ ยอมสูญเสียสุขภาพเพื่อท�ำให้
ได้เงินมา แล้วต้องยอมสูญเสียเงินตราเพื่อ
ฟื้นฟูรักษาสุขภาพ แล้วก็เฝ้าเป็นกังวลกับ
อนาคต จนไม่มีความรื่นรมย์กับปัจจุบัน ผล
ที่เกิดขึ้นจริงๆ ก็คือ เขาไม่ได้อยู่กับปัจจุบัน
หรือแม้กระทั่งอยู่กับอนาคต เขาด�ำเนินชีวิต
เสมือนหนึ่งว่าเขาจะไม่มีวันตาย และแล้วเขา
ก็ตายอย่างไม่เคยมีชีวิตอยู่จริง”
ทะไล ลามะ
เหตุขัดข้องที่น�ำจ่ายผู้รับไม่ได้
สิ่งตีพิมพ์
1. จ่าหน้าไม่ชัดเจน
2. ไม่มีเลขที่บ้านตามจ่าหน้าซอง
3. ไม่ยอมรับ
4. ไม่มีผู้รับตามจ่าหน้าซอง
5. ไม่มารับภายในก�ำหนด
6. เลิกกิจการ
7. ย้ายไม่ทราบที่อยู่ใหม่
8. อื่นๆ.................................
ลงชื่อ....................................
ไม่ถึงมือผู้รับโปรดส่งคืน
ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน
ใบอนุญาตพิเศษที่ 175/2557
ปณจ. ยานนาวา

More Related Content

Viewers also liked (11)

Issue 66 / JUL - AUG 2012
Issue 66 / JUL - AUG 2012Issue 66 / JUL - AUG 2012
Issue 66 / JUL - AUG 2012
 
Issue 77 / OCT - DEC 2014
Issue 77 / OCT - DEC 2014Issue 77 / OCT - DEC 2014
Issue 77 / OCT - DEC 2014
 
รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี 2558รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี 2558
 
City Life 7
City Life 7City Life 7
City Life 7
 
Annual Report 2014
Annual Report 2014Annual Report 2014
Annual Report 2014
 
Issue 80 / JUL - SEP 2015
Issue 80 / JUL - SEP 2015Issue 80 / JUL - SEP 2015
Issue 80 / JUL - SEP 2015
 
Issue 71 / MAY - JUN 2013
Issue 71 / MAY - JUN 2013Issue 71 / MAY - JUN 2013
Issue 71 / MAY - JUN 2013
 
LPN Newsletter Q1/2016
LPN Newsletter Q1/2016LPN Newsletter Q1/2016
LPN Newsletter Q1/2016
 
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
 
Issue 67 / SEB - OCT 2012
Issue 67 / SEB - OCT 2012Issue 67 / SEB - OCT 2012
Issue 67 / SEB - OCT 2012
 
Annual Report 2015
Annual Report 2015Annual Report 2015
Annual Report 2015
 

More from L.P.N. Development PCL.

เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.
เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.
เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.L.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2559
รายงานประจำปี 2559รายงานประจำปี 2559
รายงานประจำปี 2559L.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2553
รายงานประจำปี 2553รายงานประจำปี 2553
รายงานประจำปี 2553L.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2552
รายงานประจำปี 2552รายงานประจำปี 2552
รายงานประจำปี 2552L.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551L.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2550
รายงานประจำปี 2550รายงานประจำปี 2550
รายงานประจำปี 2550L.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2549
รายงานประจำปี 2549รายงานประจำปี 2549
รายงานประจำปี 2549L.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2548
รายงานประจำปี 2548รายงานประจำปี 2548
รายงานประจำปี 2548L.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2547
รายงานประจำปี 2547รายงานประจำปี 2547
รายงานประจำปี 2547L.P.N. Development PCL.
 
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิวลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิวL.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี 2558รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี 2558L.P.N. Development PCL.
 

More from L.P.N. Development PCL. (20)

เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.
เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.
เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.
 
รายงานประจำปี 2559
รายงานประจำปี 2559รายงานประจำปี 2559
รายงานประจำปี 2559
 
รายงานประจำปี 2553
รายงานประจำปี 2553รายงานประจำปี 2553
รายงานประจำปี 2553
 
รายงานประจำปี 2552
รายงานประจำปี 2552รายงานประจำปี 2552
รายงานประจำปี 2552
 
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
 
รายงานประจำปี 2550
รายงานประจำปี 2550รายงานประจำปี 2550
รายงานประจำปี 2550
 
รายงานประจำปี 2549
รายงานประจำปี 2549รายงานประจำปี 2549
รายงานประจำปี 2549
 
รายงานประจำปี 2548
รายงานประจำปี 2548รายงานประจำปี 2548
รายงานประจำปี 2548
 
รายงานประจำปี 2547
รายงานประจำปี 2547รายงานประจำปี 2547
รายงานประจำปี 2547
 
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิวลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
 
Lumpini Mag
Lumpini MagLumpini Mag
Lumpini Mag
 
Lumpini Place Bangna KM.3
Lumpini Place Bangna KM.3Lumpini Place Bangna KM.3
Lumpini Place Bangna KM.3
 
SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559
SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559
SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559
 
รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี 2558รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี 2558
 
Lumpini Suite Phetcheburi-Makkasan
Lumpini Suite Phetcheburi-MakkasanLumpini Suite Phetcheburi-Makkasan
Lumpini Suite Phetcheburi-Makkasan
 
Issue 77 / OCT - DEC 2014
Issue 77 / OCT - DEC 2014Issue 77 / OCT - DEC 2014
Issue 77 / OCT - DEC 2014
 
Issue 75 / MAY - JULY 2014
Issue 75 / MAY - JULY 2014Issue 75 / MAY - JULY 2014
Issue 75 / MAY - JULY 2014
 
LPN Newsletter Q2 / 2013
LPN Newsletter Q2 / 2013LPN Newsletter Q2 / 2013
LPN Newsletter Q2 / 2013
 
Issue 68 / Nov - DEC 2012
Issue 68 / Nov - DEC 2012Issue 68 / Nov - DEC 2012
Issue 68 / Nov - DEC 2012
 
City life 6
City life 6City life 6
City life 6
 

Issue 76 / JULY - SEB 2014

  • 1. L.P.N. DEVELOPMENT PUBLIC COMPANY LIMITED ISSUE 76 JULY - SEP 2014 LUMPINI MAG Good Health สุขภาพดีได้… กิน อยู่ เป็น
  • 2. #76 จัดท�ำโดย ฝ่ายประชาสัมพันธ์ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน) 3 Care & Share 4 Real Pleasure of Living 6 Happy Together 7 Lumpini Focus Story 13 Health Tip 14 Vibrant Community 16 Idea Room 17 Postcard 18 Chit Chat 19 LPN Green โอภาส ศรีพยัคฆ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน) 1168/109 ชั้น 36 อาคารลุมพีนี ทาวเวอร์ ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ : 02-285-5011-6 แฟกซ์ : 02-285-5017 E-mail : lumpinimag@lpn.co.th Facebook/LumpiniMag Lumpini Instagram/LumpiniMag www.lpn.co.th LUMPINI MAG content บททักทาย สวัสดีครับ สมาชิกครอบครัวลุมพินีทุกท่าน การดูแลสุขภาพเป็นเรื่องส�ำคัญ พอเข้า ปลายฝนต้นหนาว อากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย อาจท�ำให้หลายคนเจ็บป่วยได้ง่ายหากพักผ่อน ไม่เพียงพอ หากมีเวลาอยากให้ทุกท่านหันมา ออกก�ำลังกายบ้าง ภายในพื้นที่ส่วนกลางของ ชุมชน อย่างสวนรวมใจ ลานออกก�ำลังกาย กลางแจ้ง ลู่จ๊อกกิ้งรอบชุมชน ห้องออกก�ำลัง กาย และสระว่ายน�้ำในโครงการ ส่วนใครที่มี เวลาน้อย ลองแกว่งแขนในห้องก็เท่ากับท่าน ได้ออกก�ำลังกายเล็กๆ แล้วนะครับ หนึ่งความห่วงใยที่มีให้สมาชิกครอบ ครัวลุมพินีนั้น ยังเทียบไม่ได้กับ Postcard ที่ ส่งเข้ามาร่วมอวยพร25 ปีLPN ผม เจ้าหน้าที่ ทีมบริหารชุมชน ขอขอบคุณความสุขที่ท่าน ส่งมา ทุกข้อความเป็นก�ำลังใจที่ยิ่งใหญ่ให้กับ เราทุกคนครับ และเมื่อวันเสาร์ที่ 27 กันยายนที่ผ่านมา พวกเราได้แสดงพลังใจที่ได้รับ ในการร่วมจัด งานเสวนาประธานกรรมการนิติบุคคลอาคารชุด หัวข้อ “ชุมชนต้นแบบ ชุมชนน่าอยู่ยั่งยืน” โดย มีประธานกรรมการทุกชุมชนมาร่วมเสวนา เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน ต้นแบบ ชุมชนที่มีมาตรฐานการบริหารจัดการ ชุมชนน่าอยู่อย่างเป็นรูปธรรม สู่ความสุขที่แท้ จริงของการอยู่อาศัย ท้ายนี้ เพื่อให้ LUMPINI MAG น�ำเสนอ เนื้อหาที่เข้าถึงชุมชนได้มากขึ้น ท่านสามารถส่ง ความคิดเห็น หรือข้อแนะน�ำ เพื่อการปรับปรุง มาได้ที่ lumpinimag@lpn.co.th เพราะทุกความเห็นที่ท่านร่วมแบ่งปันจะมีส่วน สร้างชุมชนลุมพินีที่น่าอยู่อย่างยั่งยืนครับ Good Health 2
  • 3. LPN รวมใจแบนด์คลับ เชื่อมคนสองวัยด้วยดนตรี Care & Share ขอน�ำเรื่องราวดีๆ จาก กลุ่ม “LPN รวมใจแบนด์คลับ” Community Band วงแรกของชุมชนลุมพินีมาแบ่งปันกัน จุดเริ่มต้นจากสมาชิกครอบครัวลุมพินีที่ชื่น ชอบและรักในเสียงดนตรีรวมกลุ่มกันน�ำ ดนตรีมาเชื่อมโยงความสุข โดยมีผู้ฝึกสอน จากสมาคมวงดนตรีสยามมิตร (Siamyth) เมื่อไม่นานมานี้ ทางวงได้เดินทางไป ขับกล่อมดนตรีเพลงย้อนยุค ณ สวางคนิเวศ สภากาชาดไทย ย้อนวัยวันวานให้กลับคืนมา อีกครั้ง สร้างบรรยากาศและรอยยิ้มให้กับคน ทุกวัยได้เป็นอย่างดี ด้วยการใช้เสียงดนตรี สร้างความสุข ซึ่งความแตกต่างจากคนสองรุ่น และวัยที่ห่างกันอาจเกิดช่องว่างระหว่างวัยได้ การใช้ดนตรีเข้ามาเป็นส่วนผสมจึงสามารถ สร้างประสบการณ์ดีๆ เชื่อมคนสองวัยได้อย่าง กลมกลืน ฝากติดตามผลงานของ “LPN รวม ใจแบนด์คลับ” ด้วยนะครับ ตอนนี้ทางกลุ่มยัง ต้องการสมาชิกเพิ่มเติม หากเพื่อนสมาชิก ครอบครัวลุมพินีชื่นชอบและมีความสามารถ ทางด้านดนตรี ไม่ว่าจะเป็นเครื่องดนตรี ประเภทใด สมัครกันได้ที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ (ชุมชน) โทรศัพท์ 02-285-5011 ต่อ 377 … ดนตรีเชื่อมความสุขของเราทุกคนครับ LPN MAG 76 JULY – SEP 2014 3 Care & Share
  • 4. โดยหลังจากร่วมรับประทานอาหาร เย็นในวันแรกของการเดินทางแล้ว ก็ถึงเวลา ของปาร์ตี้เล็กๆ ภายในห้องคาราโอเกะของ โครงการ ซึ่งเพลงที่แต่ละคนเลือกก็เหมาะกับ วัยสุดๆ ตั้งแต่รุ่นคุณตาคุณยาย จนถึงรุ่น หนุ่มสาววัย30 ต้นๆ เรียกรอยยิ้มและเสียง หัวเราะได้ตลอดทั้งคืน เช้าวันรุ่งขึ้น ทุกคนต่างลงมาใส่ บาตร ร่วมกันบริเวณสวนเล็กๆ ด้านหน้า โครงการ เป็นภาพความอบอุ่นที่สัมผัสได้ ทั้งจากสีหน้า และแววตา จากนั้นก็ไปร่วม รับประทานอาหารเช้าที่ห้องอาหารของ โครงการ ก่อนที่คุณพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ กรรมการบริหารบริษัท LPN จะพาเยี่ยมชม โครงการ เริ่มจากห้องชุดพักอาศัยในโซน “ครอบครัวสุขสันต์” (Pleasure Family) Pleasure Family ครอบครัวเรา ... ครอบครัวสุขสันต์ ประสบการณ์ ... ไม่ใช่แค่การบอกเล่า เพราะนั่นไม่สามารถถ่ายทอด ทุกอย่างได้เท่ากับการสัมผัสด้วยตัวเอง และเพื่อสร้างประสบการณ์ ดีๆ ให้เกิดขึ้น บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน) (LPN) ได้จัดกิจกรรม “25 ปี LPN กับครอบครัวสุขสันต์” โดยเชิญ ครอบครัวคนข่าว และครอบครัวลุมพินี มาร่วมอยู่อาศัยจริง เพื่อสัมผัสความสุขที่แท้จริงของการอยู่อาศัยในโครงการลุมพินี วิลล์ นาเกลือ-วงศ์อมาตย์ Good Health 4 Real Pleasure of Living 4
  • 5. ที่มีขนาด 34 ตร.ม. โดยน�ำรายละเอียดของ “Universal Design” มาปรับให้เข้ากับรูปแบบ LPN Design เพื่อรองรับกับการใช้ชีวิตของผู้สูง วัย ส�ำหรับผู้ที่ต้องใช้ Wheel chair ก็เพิ่มราว จับในห้องน�้ำเพื่อความปลอดภัยวัสดุอุปกรณ์ทุก ชิ้นในห้องไม่มีเหลี่ยมมุม และยังมีปุ่มฉุกเฉินใน กรณีต้องการความช่วยเหลือเร่งด่วน จากนั้นพาชมพื้นที่ส่วนกลางที่จัดโซน ไว้ให้ผู้อยู่อาศัยสามารถท�ำกิจกรรมร่วมกันใน ครอบครัวได้ ตั้งแต่ห้องครัวรวม ห้องสมุดมี ชีวิต ห้องคาราโอเกะ ด้านบริการมีห้องสุขภาพ ซึ่งมีผู้ช่วยพยาบาลคอยดูแลตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อรับเหตุฉุกเฉินจากห้องชุดพักอาศัย ก่อน ระบบจะส่งต่อไปยังโรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา ส่งท้ายด้วยการร่วมพูดคุยกับคุณพิ เชษฐ กันแบบเจาะลึก กับการฉีกทุกกฎของคอน โดเมือง ภายใต้แนวคิด “ครอบครัวสุขสันต์” (Pleasure Family) ที่สามารถเติมเต็มทุกความ ต้องการของคนเมืองให้เหมาะกับคนทุกวัย ทุก ไลฟ์สไตล์ และทุกคนในครอบครัว LPN MAG 76 JULY – SEP 2014 5
  • 6. ไมสวมรองเทาแตะ เขาบริเวณสระวายน้ำ ลางตัวและสระผม กอนลงสระวายน้ำ ไมควรปลอยใหเด็กอยูในสระวายน้ำ ตามลำพัง ควรมีผูปกครองดูแลใกลชิด แตงกายถูกระเบียบ โดยสวมหมวก กางเกงหรือชุดวายน้ำ งดการสวมกางเกงขาสั้นหรือกางเกงที่ไมเหมาะสมลงสระ งดรับประทานอาหาร เครื่องดื่ม และสงเสียงดังบริเวณสระวายน้ำ ขอความรวมมือวายน้ำตามแนวยาว ของสระเพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุ ผูที่มีโรคติดตอทางผิวหนัง ควรงดใชสระ ไมสวมรองเทาแตะ เขาบริเวณสระวายน้ำ ลางตัวและสระผม กอนลงสระวายน้ำ ไมควรปลอยใหเด็กอยูในสระวายน้ำ ตามลำพัง ควรมีผูปกครองดูแลใกลชิด แตงกายถูกระเบียบ โดยสวมหมวก กางเกงหรือชุดวายน้ำ งดการสวมกางเกงขาสั้นหรือกางเกงที่ไมเหมาะสมลงสระ งดรับประทานอาหาร เครื่องดื่ม และสงเสียงดังบริเวณสระวายน้ำ ขอความรวมมือวายน้ำตามแนวยาว ของสระเพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุ ผูที่มีโรคติดตอทางผิวหนัง ควรงดใชสระ Good Health 6 Happy Together
  • 7. ช่วงนี้กระแสนิยมของ “คนรักสุขภาพ” ก�ำลังมาแรง ไม่ว่าจะเป็นการออกก�ำลังกายแบบ 25 นาที หรือ แม้กระทั่งการกินอาหารแบบคลีนๆ (Clean Food) ที่หลายคนรู้จัก และเรียกกันจนติดปาก ก็คือการ กินอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ GOOD HEALTH สุขภาพดี… กิน อยู่ เป็น ส�ำหรับคลีนฟู้ด(CleanFood) นั้นมีความหมายอยู่ 2 อย่าง คือ อาหารที่ไม่ปนเปื้อน หมายถึง กินเข้าไปแล้วมี ประโยชน์และไม่เป็นพิษต่อร่างกาย ซึ่งการปนปื้อนก็มีอยู่3 ทาง ด้วยกัน คือ 7 Focus Story LPN MAG 76 JULY – SEP 2014
  • 8. 1. ปนเปื้อนเชื้อโรค มีเชื้อจุลินทรีย์ เข้าไปปะปนในอาหาร ไม่ว่าจะเป็นอาหารที่ ไม่สุก อาหารที่ค้างคืน มีแมลงวันตอม ปรุงไม่สะอาด ก็น�ำมาซึ่งอาการท้องเดินได้          2. ปนเปื้อนจากพยาธิ เช่น การกิน อาหารที่สุกๆ ดิบๆ ไม่ระมัดระวังเรื่องความ สะอาดก็อาจท�ำให้มีการปนเปื้อนพยาธิได้          3. ปนเปื้อนสารเคมี เช่น กินผักที่ ล้างไม่สะอาด มียาฆ่าแมลงปะปนอยู่ อาหาร ที่ใส่สีแต่ไม่ใช่สีผสมอาหาร อาหารที่มีพิษ เช่น เห็ดพิษ น�้ำมันทอดซ�้ำ ถั่วลิสงที่มี อะฟลา-ท็อกซิน (Aflatoxin) เป็นต้น ท�ำความเข้าใจในเรื่องของ “อาหารถูกหลัก โภชนาการ”           คนส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจค�ำว่า อาหาร 5 หมู่ เพียงแค่พูดกันจนติดปาก อธิบายง่ายๆ คือสิ่งที่เราจะกินในแต่ละมื้อ หมู่ที่1 เนื้อสัตว์ มีโปรตีน หมู่ที่2 ข้าว แป้ง คาร์โบไฮเดรต หมู่ที่ 3 เกลือแร่และแร่ธาตุ หมู่ที่ 4 ผักผลไม้ที่มีวิตามิน และหมู่ที่ 5 ไขมัน คนมักจะท่องแล้วก็จบ ไม่ได้สังเกตว่า แต่ละมื้อกินครบไหม แล้วจะกินอาหารก่อนหรือหลังออกก�ำลัง กาย?           ตามหลักแล้วถ้าจะออกก�ำลังกาย เราต้องไม่กินอาหารมื้อหนักล่วงหน้า ประมาณ 1-2 ชั่วโมง แต่ถ้ากินอาหารมื้อ หนักไปแล้ว ห่างมาสัก 2-3 ชั่วโมง จึงสามารถออกก�ำลังเบาๆ ได้           ในทางตรงกันข้าม ถ้าออกก�ำลัง กายเสร็จแล้วไปกินมื้อหนักก็มีโอกาสที่เราจะ อ้วนสูงมาก เพราะฉะนั้นการออกก�ำลังกาย ในช่วงเช้าคือช่วงเวลาที่ดีที่สุด เพราะเป็นช่วง ที่ยังไม่ได้รับประทานอาหาร ไม่ว่ากระแสการออกก�ำลังกายหรือ การกินอาหารแบบคลีนๆ ที่ก�ำลังร้อนแรง ในขณะนี้จะเป็นเพียงเรื่องฮิตที่เกิดขึ้นเพียง ชั่วคราวหรือไม่ อย่างน้อยก็เป็นเรื่องน่ายินดี ที่คนไทยหันมาใส่ใจสุขภาพ และดูแลเรื่อง อาหารการกินเพิ่มมากขึ้น เอื้อเฟื้อข้อมูล : ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 8 Good Health
  • 9. THE BENEFITS OF A HEALTHY BREAKFAST อาหารเช้ามีประโยชน์ ช่วยแก้เครียด ชีวิตคนในเมืองมักจะไม่ได้ใส่ใจกับการกินอาหารเช้า เพราะความเร่งรีบ คุณเคยสังเกตตัวเองไหมว่า เมื่อไม่ได้กินอาหารเช้า ในวันนั้นคุณจะรู้สึกว่าตัวเองหงุดหงิดเป็นพิเศษ และอารมณ์จะอ่อนไหวง่าย LPN MAG 76 JULY – SEP 2014 9
  • 10.           นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบว่า คนที่ กินอาหารเช้าน้อยเท่าไรยิ่งเกิดความเครียด ได้มากเท่านั้น อีกทั้งอารมณ์จะอ่อนไหวง่าย หงุดหงิดง่าย ในท�ำนองเดียวกัน หากคุณกิน อาหารมื้อกลางวันที่ให้พลังงานน้อยก็จะมีผล เช่นเดียวกัน ซึ่งจากการศึกษาพบว่า อาหาร ที่กินเข้าไปมีผลต่ออารมณ์และความเครียด          จากการวิจัยที่แบ่งคนออกเป็น2 กลุ่ม กลุ่มแรกให้กินอาหารเช้าและกลางวันตาม ปกติ ส่วนอีกกลุ่มจะให้กินอาหารที่มีพลังงาน ต่อมื้อต�่ำ พบว่ามีความแตกต่างกันเล็กน้อย ในเรื่องอารมณ์ แต่กลุ่มที่ได้รับพลังงานต�่ำ จะเกิดความเครียดขึ้น มีความกระวนกระวาย และมีความอดทนน้อยลงในการท�ำงาน           ส่วนที่อังกฤษได้วิจัยพบว่า การกิน อาหารเช้าที่มีไขมันมากว่าจะท�ำให้สมอง ท�ำงานช้าลงมีความเฉื่อย ล้า ขาดความคิด สร้างสรรค์ และมีความเพ้อฝันมากขึ้น University of Sheffield ได้ตรวจสอบพบว่า ในกระบวนการย่อยไขมันจะไปลดความ กระฉับกระเฉงว่องไวและความละเอียดลออลง   นอกจากนี้ บทความดังกล่าว ยังได้เปรียบเทียบความส�ำคัญของอาหาร แต่ละมื้อว่า อาหารเช้าเปรียบเหมือน พระราชา อาหารกลางวันนั้นเปรียบเหมือน พระราชินี ส่วนอาหารมื้อค�่ำเปรียบเหมือน ยาจก ใครจะเน้นหนักมื้อไหนก็คิดดูเอาเอง เอื้อเฟื้อข้อมูล : ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 10 Good Health
  • 11. “ชมรมลุมพินี เดิน-วิ่ง เพื่อสุขภาพ” วิ่งเพื่อแม่ กิจกรรมวิ่งเพื่อแม่ภายใต้ชื่อ “12 สิงหา ฮาล์ฟ มาราธอน กรุงเทพ 2014” เกิดจากกลุ่มชมรม“ลุมพินีเดิน-วิ่ง เพื่อสุขภาพ” (Lumpini Jogging Club) ซึ่งเป็นสมาชิกในครอบครัวลุมพินีกว่า 440 คน จ�ำนวน 47 โครงการ เข้าร่วม กิจกรรมกับบริษัท เอ็น.ซี.ซี.แมนเนจเม้นท์ แอนด์ ดิเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด จัดขึ้น ณ สวนเบญจกิติ ศูนย์การประชุม แห่งชาติสิริกิติ์ โดยทางชมรมได้รับ รางวัลชนะเลิศ “ชมรมวิ่งที่ส่งสมาชิก เข้าร่วมแข่งขัน มากที่สุด” ติดต่อกันเป็น ปีที่ 6 ได้รับถ้วย พระราชทานสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ซึ่งนอกจากเป็นการแสดงความจงรักภักดี และเทิดพระเกียรติ ยังเป็นการส่งเสริม สุขภาพสานความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้น ของสมาชิกในครอบครัวให้มากยิ่งขึ้นด้วย LUMPINI JOGGING CLUB 11 LPN MAG 76 JULY – SEP 2014
  • 12. ณ โครงการ ลุมพินี เพลส นราธิวาส- เจ้าพระยา เมื่อต้นเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ได้มีการจัดกิจกรรมแข่งขันเทเบิลเทนนิส สัมพันธ์ ครั้งที่ 1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และสร้างความสัมพันธ์อันดีร่วมกัน ระหว่างสมาชิกลุมพินี โดยมีผู้มาเข้าร่วม กิจกรรมรวม 150 ท่าน ทั้งวัยท�ำงานและ วัยเกษียณ ท�ำให้เต็มไปด้วยบรรยากาศ แห่งมิตรภาพและความสุข เห็นไหมว่า การออกก�ำลังกายสร้างสัมพันธภาพได้เป็น อย่างดี ไม่ใช่แค่เพียงสุขภาพของเรา เท่านั้น กิจกรรมแข่งขันเทเบิล เทนนิสสัมพันธ์ ครั้งที่ 1 12 Good Health
  • 13. FoodiEat ชีวิตการกินดี เพราะมี ในแต่ละเดือนเราเอง คงจะจ�ำไม่ได้ว่ารับประทานอาหาร อะไรกันไปบ้าง ยิ่งจะให้มาค�ำนวน เรื่องแคลลอรีตลอดเวลาคงยิ่งยุ่ง ยากกว่าจะเสิร์ชค�ำนวณหา แคลลอรีได้ เพื่อนร่วมวงรับ ประทานอาหารคงจะแย่งจนหมด จานไปเสียแล้ว ถือเป็นข่าวดีที่ศูนย์เทค โน-โลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) และส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้ร่วมกันจัดท�ำแอพพลิเคชั่นชื่อ FoodiEat ขึ้นเพื่อติดตาม พฤติกรรมการรับประทาน อาหาร อีกทั้งยังได้ส�ำนักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุข ภาพ(สสส.) และสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลมาสนับสนุน เรื่องฐานข้อมูล แอพฯ นี้มีข้อมูล โภชนาการกว่า 1,000 รายการ ท�ำให้ค�ำนวนเรื่องปริมาณแคลลอรี อาหารการกินได้ง่ายขึ้น โดยคุณสามารถก�ำหนด ค่าแคลลอรีที่เหมาะกับตนเองได้ เพียงแค่ระบุเพศ อายุ น�้ำหนัก และ ส่วนสูง นอกจากนี้ แอพพลิเคชั่น FoodiEat ยังช่วยบันทึกอาหาร แนะน�ำการออกก�ำลังกาย และ วิเคราะห์พฤติกรรมการรับ ประทานอาหารให้กับคุณ ถือเป็น ตัวช่วยหนึ่งที่จะเตือนให้ทราบว่า รับประทานอะไรไปบ้าง เนื่องจาก การรับประทานอาหารแบบเดิมๆ ซ�้ำๆ จะท�ำให้ได้รับสารอาหารไม่ ครบถ้วน และท�ำให้เราอ้วนโดย ไม่รู้ตัว นอกจากนี้ FoodiEat สามารถค�ำนวณดัชนีมวลกาย (BMI) และปริมาณพลังงานที่ ร่างกายต้องใช้ในแต่ละวัน (BMR) รวมทั้งแจ้งข่าวสารเรื่องการดูแล สุขภาพ ส่วนคนชอบแชร์ แอพฯ นี้สามารถแชร์ข้อมูลอาหาร รูปภาพ และการออกก�ำลังกายผ่า นทางเฟซบุ๊กได้ด้วย ขณะนี้ FoodiEat ก�ำลัง อยู่ระหว่างการพัฒนาเวอร์ชั่นใหม่ โดยคาดว่าจะสามารถดาวน์โหลด ผ่านทาง App Store ได้ในเดือน ตุลาคมนี้ อย่าลืมโหลดมาใช้เพื่อ สุขภาพที่ดีของคุณนะคะ Health Tip 13 LPN MAG 76 JULY – SEP 2014
  • 14. ดูแลสุขภาพ ด้วยกีฬาไทยๆ ตะกร้อลอดห่วง Good Health 14 Vibrant Community คอลัมน์นักเขียนลุมพินี : ตู่ มะนาวตัด (สมาชิกครอบครัวลุมพินี คอนโดทาวน์ ชลบุรี-สุขุมวิท)
  • 15. ผมเชื่อว่า ตะกร้อลอดห่วง สามารถสร้างความสนุก และความสุขให้ผู้ชมได้ ไม่แพ้ฟุตบอลเลย คุณผู้อ่านที่มีอายุหน่อยคงทราบดี ว่าเมื่อก่อนตะกร้อลอดห่วงเป็นที่นิยมมาก ส�ำหรับตัวผมเองแล้ว ในอดีตผมเคยเข้า ร่วมแข่งขันตามงานประจ�ำปีและงาน ประเพณีส�ำคัญต่างๆ ในย่านภาคตะวันออก ร่วมกับเพื่อนจากหลากหลายอาชีพอยู่เป็น ประจ�ำ เก็บเกี่ยวประสบการณ์จนได้รับเชิญ ให้เป็นโค้ชและผู้ตัดสินตะกร้อให้สถาบัน การพลศึกษาวิทยาเขตชลบุรี และมีโอกาส ได้เป็นโค้ชฝึกสอนท่าเตะตะกร้อลอดห่วง ร่วมกับอาจารย์สมศักดิ์ ชูชื่น แห่งสโมสร การประปานครหลวง ที่ช่วยกันปลุกปั้น นักกีฬาตะกร้อจนได้เป็นตัวแทนทีมชาติ ไทยในกีฬาซีเกมส์ เช่น คุณเอกกวี รื่นพารา และคุณโกมินทร์ เนาว์นนท์ ส่วนทีมหญิง ก็คือคุณศรีรัตน์ ชูชื่น คุณจิราพร ชูชื่น และ อีกหลายๆ คน ช่วงหลังมานี้ กีฬาตะกร้อดูเหมือน จะซบเซาลงไปบ้าง แต่ก็ยังโชคดีที่มีการจัด แข่งขันตะกร้อลีกขึ้น ท�ำให้ตะกร้อลอดห่วง กลับมาคึกคักอีกครั้ง และในปี 2558 ก็เข้า สู่ประชาคมอาเซี่ยนแล้ว แต่ละชาติคงโชว์ ของดีประจ�ำชาติออกมา ส�ำหรับชาติไทย ผมก็เชื่อว่ากีฬาตะกร้อลอดห่วงคงเป็นหนึ่ง ในนั้น ผมพยายามจะปลูกฝังให้คนรุ่นใหม่ ตระหนักถึงคุณค่าของกีฬาตะกร้อไทย ซึ่งโชคดีนะครับที่ปัจจุบันมีช่องทางสื่อสาร อย่าง YouTube และ Facebook ช่วยให้ผม สามารถสาธิตท่าเล่นตะกร้อลอดห่วงกว่า 27 ท่ายาก ให้กับผู้ที่สนใจ ได้เข้ามาศึกษากัน นอกจากจะเป็นการได้ถ่ายทอด ศาสตร์และศิลป์ของกีฬาประเภทนี้แล้ว ก็ยังเป็นการปลูกฝังให้คนรุ่นใหม่ตระหนัก ถึงคุณค่าที่เราควรรักษาเอาไว้ให้ลูกหลาน ด้วย ที่เล่ามาทั้งหมดนี้ก็เพื่อหวังจะให้ได้ หันมาใส่ใจเรื่องการออกก�ำลังกายและถ้า หากสนใจที่จะเล่นตะกร้อด้วยแล้ว สามารถ เข้าไปคุยกันได้ที่www.facebook.com/ takrowlordhaung นะครับ ผมเชื่อว่า ตะกร้อลอดห่วงสามารถสร้างความสนุก และความสุขให้ผู้ชมได้ไม่แพ้ฟุตบอลเลย สิ่งที่ได้มันให้มากกว่าความสุขจากการได้ ส่งต่อให้เยาวชนมีสุขภาพแข็งแรงจากการ เล่นกีฬาไทยแท้ และทุกครั้งที่ได้เห็นต่าง ชาติมาถ่ายภาพเก็บความประทับใจด้วย สีหน้าตื่นเต้นและอึ้งทึ่งในความสามารถ ยิ่ง ตอกย�้ำชัดเจนว่านี่แหละคือความภูมิใจอัน ยิ่งใหญ่ ที่ได้สืบสานกีฬาไทย... คุณว่ามั้ย?” สมาชิกลุมพินีท่านใดที่สนใจจะ รวมกลุ่มเล่นตะกร้อ ไม่ว่าจะเล่นสนุกๆ หรือตั้งใจจะเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะสู่ การแข่งขัน คุณตู่ยินดีที่จะถ่ายทอดความ รู้ให้กับผู้ที่มีใจรักสุขภาพรักกีฬาไทยเสมอ โดยสามารถติดต่อผ่านทางส�ำนักงาน นิติบุคคลอาคารชุด ลุมพินี คอนโดทาวน์ ชลบุรี-สุขุมวิท LPN MAG 76 JULY – SEP 2014 15
  • 16. มีชาวคอนโดหลายท่านที่อยาก ปลูกผักเอาไว้รับประทานเองภายในบ้าน แต่ยังคิดไม่ตกเรื่องที่ว่าจะปลูกผักชนิดใด เราขอให้คุณเริ่มต้นง่ายๆ จากการส�ำรวจ ตัวเอง และสิ่งแวดล้อมรอบๆ ข้างของคุณ ให้คุณลองสังเกตตัวเองว่า… • คุณชอบรับประทานผักชนิดใด ปลูกผักที่ตัวเองชอบเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี • คุณมีงบประมาณเท่าไร • ทักษะการปลูกผักของคุณเป็นอย่างไร • พื้นที่ในการปลูกผักมีกว้างแค่ไหน ไม่จ�ำเป็นต้องปลูกแต่พื้นที่แนวราบ พื้นที่แนวตั้งก็สามารถปลูกผักได้ • มีเวลาดูแลผักที่คุณปลูกมากแค่ไหน • ขณะที่จะปลูกเป็นฤดูอะไร • แสงแดดที่ส่องมายังที่พักของคุณนั้น มีมากน้อยเพียงใด ขั้นต่อไปคือ ลองหาข้อมูลดูว่า พืชผักที่คุณปลูกนั้นเป็นพืชรากสั้น กลาง หรือยาว ค�ำแนะน�ำโดยส่วนใหญ่จะ แนะน�ำให้ชาวคอนโดปลูกพืชผักที่มีราก สั้น-กลาง อาทิ ผักกาดสีต่างๆ กะเพรา โหระพา ฯลฯ คุณสามารถเลือกเองได้ SMALL BUT GREEN เขียวได้...ไม่จ�ำกัด การปลูกพืชผักไว้ทานเองนั้น ถือว่ามีประโยชน์ต่อร่างกายและจิตใจ เป็นอย่างมาก นอกจากจะท�ำให้เราได้ ทานผักสดๆ ที่ปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ ยังมอบความสวยงามทางด้านภูมิทัศน์ ให้ห้องพัก เป็นกิจกรรมคลายเครียดยาม ว่าง และสามารถน�ำไปมอบให้เพื่อนบ้าน เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์กับคน รอบข้างได้อีกด้วย 16 idea Room Good Health
  • 18. สายๆ ของวันหยุด เราได้มีโอกาส เข้าไป Chitchat คุยกับบัณฑิตหนุ่มจบใหม่ที่ พ่วงท้ายต�ำแหน่งกรรมการเจ้าของร่วมด้าน กิจกรรมของทาง LPN คุณโอม-หะริน จงเจริญ รัตน์ ที่โครงการลุมพินี เพลส พระราม 4 - กล้วยน�้ำไท เห็นตี๋ๆ อารมณ์ดี หุ่นดีแบบนี้ เขา จะมีวิธีรักษาสุขภาพและดูแลตัวเองอย่างไรบ้าง “โอมว่า เราควรบาลานซ์สุขภาพกาย สุขภาพความคิด เเละสุขภาพจิตไปพร้อมๆ กัน เรื่องร่างกายโอมชอบตื่นเช้ามาฟิตเนส มัน ท�ำให้รู้สึกกระฉับกระเฉงและสดชื่นตลอดวัน หรือช่วงเย็นวันไหนรู้สึกเหนื่อยๆ ก็อดที่จะ กระโดดลงสระว่ายน�้ำที่นี่ไม่ได้จากนั้นก็ไปซาว น่าด้วยเลย อยากให้ทุกคนมาออกก�ำลังกายกัน เยอะๆ มาว่ายน�้ำกันที่ชั้น 6 ได้สุขภาพที่ดีแล้ว ยังได้พบเจอเพื่อนใหม่ๆ ด้วย” “เรื่องสุขภาพกาย อย่าลืมขอบคุณ ร่างกายด้วยการรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ หากทานไม่ครบก็อย่าลืมทานอาหารเสริม ด้วยนะครับ” ส�ำหรับสุขภาพความคิด คุณโอม ดูแลด้วยการอ่านหนังสือ “โอมชอบอ่านเรื่อง ประวัติคนสร้างชีวิตครับ อ่านเเล้วมีเเรงออก ไปสู้กับทุกๆ วัน ถ้าอยากประสบความส�ำเร็จ ต้องอ่านหนังสือครับ บางเล่มที่อ่านตอนนี้ก็ เป็นเล่มเดียวกันกับที่คุณพ่อก�ำลังอ่านอยู่ มัน ก็เหมือนเราโกงอายุไปกว่า30 ปี ได้รู้อะไรมาก เท่าๆ กับที่ผู้ใหญ่หรือผู้บริหารเขารู้กัน หรือ บางครั้งก็ลงไปห้องสมุดข้างล่างเพื่อหา หนังสือดีๆ มาอ่าน” ทิ้งท้ายในเรื่องการดูแลสุขภาพจิตใจ คุณโอมบอกว่า ต้องหาเวลาคุยกับตัวเองบ้าง นั่งสมาธิ ฝึกบริหารความคิด เหมือนที่มีคน เคยบอกว่า “ดวงจันทร์นั้นไกลหนักหนาเรายัง ศึกษา ดวงใจเราใกล้หนักหนาศึกษาหรือยัง” นอกจากหล่อแล้วยังมีสาระอีกด้วย ต้อ ขอบคุณคุณโอมที่สละเวลามา Chitchat กับ เรานะคะ Good Health 18 Chitchat กาย ความคิด และจิต 3 สิ่งส�ำคัญที่ควรดูแล
  • 19. LPN MAG 76 JULY – SEP 2014 19 LPN Green
  • 20. บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน) 1168/109 ชั้น 36 อาคารลุมพีนี ทาวเวอร์ ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กทม. 10120 โทรศัพท์ : 02-285-5011-6 แฟกซ์ : 02-285-5017 E-mail : lumpinimag@lpn.co.th Facebook/LumpiniMag Lumpini Instagram/LumpiniMag www.lpn.co.th “Man sacrifices his health in order to make money. Then he sacrifices money to recuperate his health. And then he is so anxious about the future that does not enjoy the present, the result being that he does not live in the present or the future. He lives as if he is never going to die, and then dies having never really lived.” Dalai Lama. มนุษย์เรานึ้ ยอมสูญเสียสุขภาพเพื่อท�ำให้ ได้เงินมา แล้วต้องยอมสูญเสียเงินตราเพื่อ ฟื้นฟูรักษาสุขภาพ แล้วก็เฝ้าเป็นกังวลกับ อนาคต จนไม่มีความรื่นรมย์กับปัจจุบัน ผล ที่เกิดขึ้นจริงๆ ก็คือ เขาไม่ได้อยู่กับปัจจุบัน หรือแม้กระทั่งอยู่กับอนาคต เขาด�ำเนินชีวิต เสมือนหนึ่งว่าเขาจะไม่มีวันตาย และแล้วเขา ก็ตายอย่างไม่เคยมีชีวิตอยู่จริง” ทะไล ลามะ เหตุขัดข้องที่น�ำจ่ายผู้รับไม่ได้ สิ่งตีพิมพ์ 1. จ่าหน้าไม่ชัดเจน 2. ไม่มีเลขที่บ้านตามจ่าหน้าซอง 3. ไม่ยอมรับ 4. ไม่มีผู้รับตามจ่าหน้าซอง 5. ไม่มารับภายในก�ำหนด 6. เลิกกิจการ 7. ย้ายไม่ทราบที่อยู่ใหม่ 8. อื่นๆ................................. ลงชื่อ.................................... ไม่ถึงมือผู้รับโปรดส่งคืน ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตพิเศษที่ 175/2557 ปณจ. ยานนาวา