SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Internet of Things (IoT)
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (อังกฤษ: Internet of Things) หรือ ไอโอที (IoT) หมายถึง
เครือข่ายของวัตถุ อุปกรณ์ พาหนะ สิ่งปลูกสร้าง และสิ่งของอื่นๆ ที่มีวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์ เซ็นเซอร์
และการเชื่อมต่อกับเครือข่าย ฝังตัวอยู่ และทาให้วัตถุเหล่านั้นสามารถเก็บบันทึกและแลกเปลี่ยนข้อมูลได้
[1] อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งทาให้วัตถุสามารถรับรู้สภาพแวดล้อมและถูกควบคุมได้จากระยะไกลผ่าน
โครงสร้างพื้นฐานเครือข่ายที่มีอยู่แล้ว[2] ทาให้เราสามารถผสานโลกกายภาพกับระบบคอมพิวเตอร์ได้แนบ
แน่นมากขึ้น ผลที่ตามมาคือประสิทธิภาพ ความแม่นยา และประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่เพิ่มมากขึ้น
[3][4][5][6][7][8] เมื่อ IoT ถูกเสริมด้วยเซ็นเซอร์และแอคชูเอเตอร์ซึ่งสามารถเปลี่ยนลักษณะทาง
กลได้ตามการกระตุ้น ก็จะกลายเป็นระบบที่ถูกจัดประเภทโดยทั่วไปว่าระบบไซเบอร์-กายภาพ (cyber-
physical system) ซึ่งรวมถึงเทคโนโลยีอย่าง กริดไฟฟ้าอัจริยะ (สมาร์ตกริด) บ้านอัจฉริยะ
(สมาร์ตโฮม) ระบบขนส่งอัจฉริยะ (อินเทลลิเจนต์ทรานสปอร์ต) และเมืองอัจฉริยะ (สมาร์ตซิตี้) วัตถุแต่ละ
ชิ้นสามารถถูกระบุได้โดยไม่ซ้ากันผ่านระบบคอมพิวเตอร์ฝังตัว และสามารถทางานร่วมกันได้บนโครงสร้าง
พื้นฐานอินเทอร์เน็ตที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน ผู้เชี่ยวชาญประเมินว่าเครือข่ายของสรรพสิ่งจะมีวัตถุเกือบ
50,000 ล้านชิ้นภายในปี 2020[9]
"สรรพสิ่ง" ในความหมายของ IoT สามารถหมายถึงอุปกรณ์ที่แตกต่างหลากหลาย เช่น อุปกรณ์วัดอัตราหัวใจแบบฝัง
ในร่างกาย แท็กไบโอชิปที่ติดกับปศุสัตว์ ยานยนต์ที่มีเซ็นเซอร์ในตัว อุปกรณ์วิเคราะห์ดีเอ็นเอในสิ่งแวดล้อมหรืออาหาร[10]
หรืออุปกรณ์ภาคสนามที่ช่วยในการทางานของนักผจญเพลิงในภารกิจค้นหาและช่วยเหลือ[11] อุปกรณ์เหล่านี้จะจัดเก็บ
ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ด้วยการใช้เทคโนโลยีหลากหลายชนิดและจากส่งต่อข้อมูลระหว่างอุปกรณ์อื่นๆ โดยอัตโนมัติ[12][13]
ตัวอย่างในตลาดขณะนี้เช่น เทอร์โมสตัตอัจฉริยะ และเครื่องซักผ้า-อบผ้าที่ต่อกับเครือข่ายไวไฟเพื่อให้สามารถดูสถานะจาก
ระยะไกลได้
แนวนิด Internet of Things นั้นถูกคิดขึ้นโดย Kevin Ashton ในปี 1999 ซึ่งเขาเริ่มต้นโครงการ
Auto-ID Center ที่มหาวิทยาลัย Massachusetts Institute of Technology หรือ MIT จาก
เทคโนโลยี RFID ที่จะทาให้เป็นมาตรฐานระดับโลกสาหรับ RFID Sensors ต่างๆที่จะเชื่อมต่อกันได้ ต่อมาในยุคหลังปี
2000 โลกมีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ออกมาเป็นจานวนมากและมีการใช้คาว่า Smart ซึ่งในที่นี้คือ smart device,
smart grid, smart home, smart network, smart intelligent transportation ต่างๆ
เหล่านี้ล้วนมีโครงสร้างพื้นฐานที่สามารถเชื่อมต่อกับโลกอินเตอร์เน็ตได้ ซึ่งการเชื่อมต่อเหล่านั้นเองก็เลยมาเป็นแนวคิดที่ว่า
อุปกรณ์เหล่านั้นก็ย่อมสามารถสื่อสารกันได้ด้วยเช่นกันโดยอาศัยตัว Sensor ในการสื่อสารถึงกัน นั่นแปลว่านอกจาก
Smart devices ต่างๆจะเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้แล้วมันยังสามารถเชื่อมต่อไปยังอุปกรณ์ตัวอื่นได้ด้วยโดย Kevin
นิยามมันไว้ตอนนั้นว่าเป็น “internet-like” หรือพูดง่ายๆก็คืออุปกณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถสื่อสารพูดคุยกันเองได้ ซึ่ง
A wireless sensor
network (WSN)
ตัวแปลสาคัญสาหรับ Internet of Things ที่ใช้ใน
การสื่อสารนั้นไม่เพียงแต่ Internet network เพียงเท่านั้น
แต่ยังมีตัวแปลอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องอีกนั่นคือ Sensor node
ต่างๆจานวนมากที่ทาให้เกิด wireless sensor
network (WSN) ให้กับอุปกรณ์ต่างๆสามารถเชื่อมต่อเข้า
มาได้ ซึ่งเจ้า WSNs นี่เองสามารถตรวจจับปรากฏการณ์ต่างๆ
(physical phenomena) ในเครือข่ายได้ด้วย
ยกตัวอย่างเช่น แสง อุณหภูมิ ความดัน เป็นต้น เพื่อส่งค่าไปยัง
อุปกรณ์ในระบบให้ทางานหรือสั่งงานอื่นๆต่อไป
Access Technology
การพัฒนา Internet of Things นั้น
นอกจากจะพัฒนาเทคโนโลยีในฝั่ง Hardware
ได้แก่ processors, radios และ sensors
ซึ่งจะถูกรวมเข้าด้วยกันเรียกว่า a single chip
หรือ system on a chip (SoC) แล้วก็ยัง
พัฒนา WSN ไปพร้อมๆกันด้วย และเมื่อพูดถึงการ
เชื่อมต่อปัจจุบันได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีสาหรับการ
เชื่อมต่อสาหรับ Internet of Things หรือ
Access technology มีอยู่ 3 ตัวได้แก่
Bluetooth 4.0
IEEE 802.15.4e
WLAN IEEE 802.11™ (Wi-Fi)
โดยในแต่ละ Access technologies นั้นมีการส่งข้อมูลที่แตกต่างกัน
Gateway Sensor Nodes
เมื่อมีโครงข่าย Sensor nodes แล้วก็จาเป็นจะต้องมี Gateway Sensor Nodes เพื่อจะเชื่อมต่อไปยัง
โลกอินเตอร์เน็ตด้วย โดยตัว Gateway นี้จะทาหน้าที่เชื่อมต่อไปยังเครือข่าย Internet ให้อุปกรณ์ทั้งหมดในโครงข่าย
Sensor nodes ทั้งหมดส่งข้อมูลเข้าสู่อินเตอร์เน็ตได้นั่นเอง และเจ้า Gateway ที่ว่านี้ก็จะอยู่ภายใต้ Local
network ซึ่งจะมีการกาหนดกันต่อไปว่า Gateway ภายใต้ Local network ที่ว่านั้นจะให้เชื่อมต่อไปยัง
Internet ได้ด้วยหรือไม่ถ้าไม่ได้อุปกรณ์ที่เชื่อมเข้ามาใน Gateway ก็อาจจะสื่อสารกันได้เฉพาะภายใน Local
network เองได้เท่านั้น
แบ่งกลุ่ม Internet of Things
ปัจจุบันมีการแบ่งกลุ่ม Internet of Things ออกตามตลาดการใช้งานเป็น 2 กลุ่มได้แก่
 Industrial IoT
คือแบ่งจาก local network ที่มีหลายเทคโนโลยีที่แตกต่างกันในโครงข่าย Sensor
nodes โดยตัวอุปกรณ์ IoT Device ในกลุ่มนี้จะเชื่อมต่อแบบ IP network เพื่อเข้าสู่
อินเตอร์เน็ต
 Commercial IoT
คือแบ่งจาก local communication ที่เป็น Bluetooth หรือ Ethernet
(wired or wireless) โดยตัวอุปกรณ์ IoT Device ในกลุ่มนี้จะสื่อสารภายในกลุ่ม
Sensor nodes เดียวกันเท่านั้นหรือเป็นแบบ local devices เพียงอย่างเดียวอาจไม่ได้เชื่อมสู่
อินเตอร์เน็ต
IPv6 คือส่วนสำคัญของ
Internet of Things
ตัวอุปกรณ์ IoT devices ต่างๆนั้นจะ
เป็นจะต้องมีหมายเลขระบุเพื่อให้ใช้ในการสื่อสาร
เปลี่ยนเสมือนที่อยู่บ้านของเรานั่นเอง และการที่จะ
ทาให้อุปกรณ์เหล่านั้นที่มีอยู่เป็นจานวนมาก(รวมถึง
อนาคตที่จะผลิตกันออกมา) จาเป็นจะต้องใช้ IP
Address vesion 6 หรือ IPv6 มากากับ
เพื่อให้ได้หมายเลขที่ไม่ซ้ากันและต้องใช้ได้ทั้ง
IoT network ที่เป็น LAN, PAN, และ
BAN: Body Area Network หรือการ
สื่อสารของตัว Sensor กับร่างกายมนุษย์
Internet network (protocols) ที่เป็น
IP, UDP, TCP, SSL, HTTP, HTTPS, และ
อื่นๆ
และที่กล่าวมาทั้งหมดคือส่วนสาคัญต่างๆของ
Internet of Things ที่กาลังเกิดขึ้นและเป็นเทรนด์ที่
กาลังมาแรงอยู่ในขณะนี้หวังว่าบทความนี้จะช่วยให้หลายคน
เข้าใจภาพของ IoT ได้ดีขึ้น สิ่งสาคัญคือศัพท์คานี้จึงไม่ได้
หมายถึง Smart device อย่าง นาฬิกาอัจฉริยะ อย่าง
Apple Watch หรือสายรัดข้อมือเพื่อสุขภาพเท่านั้น
แต่มันยังครอบคลุมไปถึงอุปกรณ์ต่างๆอีกหลากหลายล้านตัว
กว้างไกลไปยังหลากหลายอุตสาหกรรมอีกด้วย โดยใน
อนาคตคุณจะได้เห็น ไมโครเวฟคุยกับตู้เย็นให้สั่งอาหารมา
เติม เครื่องซักผ้าคุยกับทีวีบอกคุณว่าผ้าซักเสร็จแล้ว สายรัด
ข้อมือจะคุยกับรถพยาบาลแจ้งให้ไปรับตัวผู้ป่วยที่กาลังหัวใจ
วาย เหล่านี้คืออนาคตของ Internet of Things ที่
สิ่งต่างๆกาลังจะคุยกันได้

More Related Content

What's hot

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
moemon12
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
Aobinta In
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
actioncutpro
 
10 ระบบสารสนเทศ
10 ระบบสารสนเทศ10 ระบบสารสนเทศ
10 ระบบสารสนเทศ
teaw-sirinapa
 
ใบเสนอราคาย้ายแอร์
ใบเสนอราคาย้ายแอร์ใบเสนอราคาย้ายแอร์
ใบเสนอราคาย้ายแอร์
Pu Tua-Klom
 
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานครระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
Nus Venus
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
Piyanoot Ch
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศ
jihankanathip
 
การใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นการใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Jaturapad Pratoom
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
Kamonchapat Boonkua
 

What's hot (20)

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
 
1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์
1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์
1.3.8 : การสื่อสารบนสื่อสังคมออนไลน์
 
เอกสารแนะนำตนเอง
เอกสารแนะนำตนเองเอกสารแนะนำตนเอง
เอกสารแนะนำตนเอง
 
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุมแผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
 
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
10 ระบบสารสนเทศ
10 ระบบสารสนเทศ10 ระบบสารสนเทศ
10 ระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
ใบเสนอราคาย้ายแอร์
ใบเสนอราคาย้ายแอร์ใบเสนอราคาย้ายแอร์
ใบเสนอราคาย้ายแอร์
 
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานครระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
ระดับของสมรรถนะหลักของข้าราชการกรุงเทพมหานคร
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
การใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นการใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 

Similar to Internet of things (io t).pptx

Internet of things
Internet of thingsInternet of things
Internet of things
Janjira Yengyuso
 

Similar to Internet of things (io t).pptx (20)

Internet of things (Iot)
Internet of things (Iot)Internet of things (Iot)
Internet of things (Iot)
 
Internet of things
Internet of things Internet of things
Internet of things
 
นางสาวพรรณนิภา คุตนนท์ รุ่นที่ 5 เลขที่ 4 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
นางสาวพรรณนิภา คุตนนท์ รุ่นที่ 5 เลขที่ 4 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจนางสาวพรรณนิภา คุตนนท์ รุ่นที่ 5 เลขที่ 4 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
นางสาวพรรณนิภา คุตนนท์ รุ่นที่ 5 เลขที่ 4 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
 
internet of things
internet of thingsinternet of things
internet of things
 
Internet of things (io t)
Internet of things (io t)Internet of things (io t)
Internet of things (io t)
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Internet of Things (IoT)
Internet of Things (IoT) Internet of Things (IoT)
Internet of Things (IoT)
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Internet of things
Internet of things Internet of things
Internet of things
 
Internet of things (io t)
Internet of things (io t)Internet of things (io t)
Internet of things (io t)
 
Internet of Things
Internet of Things Internet of Things
Internet of Things
 
internet of things
internet of thingsinternet of things
internet of things
 
Internet of things
Internet of thingsInternet of things
Internet of things
 
Internet of Things (IoT)
Internet of Things (IoT)Internet of Things (IoT)
Internet of Things (IoT)
 
Internet of Things
Internet of Things Internet of Things
Internet of Things
 
Internet of things (io t)
Internet of things (io t)Internet of things (io t)
Internet of things (io t)
 
Internet of Things (IoT)
Internet of Things (IoT)Internet of Things (IoT)
Internet of Things (IoT)
 
Internet of Things (IoT)
Internet of Things (IoT)Internet of Things (IoT)
Internet of Things (IoT)
 
Internet of things
Internet of things Internet of things
Internet of things
 
Internet of things
Internet of thingsInternet of things
Internet of things
 

Internet of things (io t).pptx

  • 1. Internet of Things (IoT) อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (อังกฤษ: Internet of Things) หรือ ไอโอที (IoT) หมายถึง เครือข่ายของวัตถุ อุปกรณ์ พาหนะ สิ่งปลูกสร้าง และสิ่งของอื่นๆ ที่มีวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์ เซ็นเซอร์ และการเชื่อมต่อกับเครือข่าย ฝังตัวอยู่ และทาให้วัตถุเหล่านั้นสามารถเก็บบันทึกและแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ [1] อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งทาให้วัตถุสามารถรับรู้สภาพแวดล้อมและถูกควบคุมได้จากระยะไกลผ่าน โครงสร้างพื้นฐานเครือข่ายที่มีอยู่แล้ว[2] ทาให้เราสามารถผสานโลกกายภาพกับระบบคอมพิวเตอร์ได้แนบ แน่นมากขึ้น ผลที่ตามมาคือประสิทธิภาพ ความแม่นยา และประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่เพิ่มมากขึ้น [3][4][5][6][7][8] เมื่อ IoT ถูกเสริมด้วยเซ็นเซอร์และแอคชูเอเตอร์ซึ่งสามารถเปลี่ยนลักษณะทาง กลได้ตามการกระตุ้น ก็จะกลายเป็นระบบที่ถูกจัดประเภทโดยทั่วไปว่าระบบไซเบอร์-กายภาพ (cyber- physical system) ซึ่งรวมถึงเทคโนโลยีอย่าง กริดไฟฟ้าอัจริยะ (สมาร์ตกริด) บ้านอัจฉริยะ (สมาร์ตโฮม) ระบบขนส่งอัจฉริยะ (อินเทลลิเจนต์ทรานสปอร์ต) และเมืองอัจฉริยะ (สมาร์ตซิตี้) วัตถุแต่ละ ชิ้นสามารถถูกระบุได้โดยไม่ซ้ากันผ่านระบบคอมพิวเตอร์ฝังตัว และสามารถทางานร่วมกันได้บนโครงสร้าง พื้นฐานอินเทอร์เน็ตที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน ผู้เชี่ยวชาญประเมินว่าเครือข่ายของสรรพสิ่งจะมีวัตถุเกือบ 50,000 ล้านชิ้นภายในปี 2020[9]
  • 2. "สรรพสิ่ง" ในความหมายของ IoT สามารถหมายถึงอุปกรณ์ที่แตกต่างหลากหลาย เช่น อุปกรณ์วัดอัตราหัวใจแบบฝัง ในร่างกาย แท็กไบโอชิปที่ติดกับปศุสัตว์ ยานยนต์ที่มีเซ็นเซอร์ในตัว อุปกรณ์วิเคราะห์ดีเอ็นเอในสิ่งแวดล้อมหรืออาหาร[10] หรืออุปกรณ์ภาคสนามที่ช่วยในการทางานของนักผจญเพลิงในภารกิจค้นหาและช่วยเหลือ[11] อุปกรณ์เหล่านี้จะจัดเก็บ ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ด้วยการใช้เทคโนโลยีหลากหลายชนิดและจากส่งต่อข้อมูลระหว่างอุปกรณ์อื่นๆ โดยอัตโนมัติ[12][13] ตัวอย่างในตลาดขณะนี้เช่น เทอร์โมสตัตอัจฉริยะ และเครื่องซักผ้า-อบผ้าที่ต่อกับเครือข่ายไวไฟเพื่อให้สามารถดูสถานะจาก ระยะไกลได้ แนวนิด Internet of Things นั้นถูกคิดขึ้นโดย Kevin Ashton ในปี 1999 ซึ่งเขาเริ่มต้นโครงการ Auto-ID Center ที่มหาวิทยาลัย Massachusetts Institute of Technology หรือ MIT จาก เทคโนโลยี RFID ที่จะทาให้เป็นมาตรฐานระดับโลกสาหรับ RFID Sensors ต่างๆที่จะเชื่อมต่อกันได้ ต่อมาในยุคหลังปี 2000 โลกมีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ออกมาเป็นจานวนมากและมีการใช้คาว่า Smart ซึ่งในที่นี้คือ smart device, smart grid, smart home, smart network, smart intelligent transportation ต่างๆ เหล่านี้ล้วนมีโครงสร้างพื้นฐานที่สามารถเชื่อมต่อกับโลกอินเตอร์เน็ตได้ ซึ่งการเชื่อมต่อเหล่านั้นเองก็เลยมาเป็นแนวคิดที่ว่า อุปกรณ์เหล่านั้นก็ย่อมสามารถสื่อสารกันได้ด้วยเช่นกันโดยอาศัยตัว Sensor ในการสื่อสารถึงกัน นั่นแปลว่านอกจาก Smart devices ต่างๆจะเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้แล้วมันยังสามารถเชื่อมต่อไปยังอุปกรณ์ตัวอื่นได้ด้วยโดย Kevin นิยามมันไว้ตอนนั้นว่าเป็น “internet-like” หรือพูดง่ายๆก็คืออุปกณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถสื่อสารพูดคุยกันเองได้ ซึ่ง
  • 3. A wireless sensor network (WSN) ตัวแปลสาคัญสาหรับ Internet of Things ที่ใช้ใน การสื่อสารนั้นไม่เพียงแต่ Internet network เพียงเท่านั้น แต่ยังมีตัวแปลอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องอีกนั่นคือ Sensor node ต่างๆจานวนมากที่ทาให้เกิด wireless sensor network (WSN) ให้กับอุปกรณ์ต่างๆสามารถเชื่อมต่อเข้า มาได้ ซึ่งเจ้า WSNs นี่เองสามารถตรวจจับปรากฏการณ์ต่างๆ (physical phenomena) ในเครือข่ายได้ด้วย ยกตัวอย่างเช่น แสง อุณหภูมิ ความดัน เป็นต้น เพื่อส่งค่าไปยัง อุปกรณ์ในระบบให้ทางานหรือสั่งงานอื่นๆต่อไป
  • 4. Access Technology การพัฒนา Internet of Things นั้น นอกจากจะพัฒนาเทคโนโลยีในฝั่ง Hardware ได้แก่ processors, radios และ sensors ซึ่งจะถูกรวมเข้าด้วยกันเรียกว่า a single chip หรือ system on a chip (SoC) แล้วก็ยัง พัฒนา WSN ไปพร้อมๆกันด้วย และเมื่อพูดถึงการ เชื่อมต่อปัจจุบันได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีสาหรับการ เชื่อมต่อสาหรับ Internet of Things หรือ Access technology มีอยู่ 3 ตัวได้แก่
  • 5. Bluetooth 4.0 IEEE 802.15.4e WLAN IEEE 802.11™ (Wi-Fi) โดยในแต่ละ Access technologies นั้นมีการส่งข้อมูลที่แตกต่างกัน
  • 6. Gateway Sensor Nodes เมื่อมีโครงข่าย Sensor nodes แล้วก็จาเป็นจะต้องมี Gateway Sensor Nodes เพื่อจะเชื่อมต่อไปยัง โลกอินเตอร์เน็ตด้วย โดยตัว Gateway นี้จะทาหน้าที่เชื่อมต่อไปยังเครือข่าย Internet ให้อุปกรณ์ทั้งหมดในโครงข่าย Sensor nodes ทั้งหมดส่งข้อมูลเข้าสู่อินเตอร์เน็ตได้นั่นเอง และเจ้า Gateway ที่ว่านี้ก็จะอยู่ภายใต้ Local network ซึ่งจะมีการกาหนดกันต่อไปว่า Gateway ภายใต้ Local network ที่ว่านั้นจะให้เชื่อมต่อไปยัง Internet ได้ด้วยหรือไม่ถ้าไม่ได้อุปกรณ์ที่เชื่อมเข้ามาใน Gateway ก็อาจจะสื่อสารกันได้เฉพาะภายใน Local network เองได้เท่านั้น
  • 7. แบ่งกลุ่ม Internet of Things ปัจจุบันมีการแบ่งกลุ่ม Internet of Things ออกตามตลาดการใช้งานเป็น 2 กลุ่มได้แก่  Industrial IoT คือแบ่งจาก local network ที่มีหลายเทคโนโลยีที่แตกต่างกันในโครงข่าย Sensor nodes โดยตัวอุปกรณ์ IoT Device ในกลุ่มนี้จะเชื่อมต่อแบบ IP network เพื่อเข้าสู่ อินเตอร์เน็ต  Commercial IoT คือแบ่งจาก local communication ที่เป็น Bluetooth หรือ Ethernet (wired or wireless) โดยตัวอุปกรณ์ IoT Device ในกลุ่มนี้จะสื่อสารภายในกลุ่ม Sensor nodes เดียวกันเท่านั้นหรือเป็นแบบ local devices เพียงอย่างเดียวอาจไม่ได้เชื่อมสู่ อินเตอร์เน็ต
  • 8. IPv6 คือส่วนสำคัญของ Internet of Things ตัวอุปกรณ์ IoT devices ต่างๆนั้นจะ เป็นจะต้องมีหมายเลขระบุเพื่อให้ใช้ในการสื่อสาร เปลี่ยนเสมือนที่อยู่บ้านของเรานั่นเอง และการที่จะ ทาให้อุปกรณ์เหล่านั้นที่มีอยู่เป็นจานวนมาก(รวมถึง อนาคตที่จะผลิตกันออกมา) จาเป็นจะต้องใช้ IP Address vesion 6 หรือ IPv6 มากากับ เพื่อให้ได้หมายเลขที่ไม่ซ้ากันและต้องใช้ได้ทั้ง IoT network ที่เป็น LAN, PAN, และ BAN: Body Area Network หรือการ สื่อสารของตัว Sensor กับร่างกายมนุษย์
  • 9. Internet network (protocols) ที่เป็น IP, UDP, TCP, SSL, HTTP, HTTPS, และ อื่นๆ และที่กล่าวมาทั้งหมดคือส่วนสาคัญต่างๆของ Internet of Things ที่กาลังเกิดขึ้นและเป็นเทรนด์ที่ กาลังมาแรงอยู่ในขณะนี้หวังว่าบทความนี้จะช่วยให้หลายคน เข้าใจภาพของ IoT ได้ดีขึ้น สิ่งสาคัญคือศัพท์คานี้จึงไม่ได้ หมายถึง Smart device อย่าง นาฬิกาอัจฉริยะ อย่าง Apple Watch หรือสายรัดข้อมือเพื่อสุขภาพเท่านั้น แต่มันยังครอบคลุมไปถึงอุปกรณ์ต่างๆอีกหลากหลายล้านตัว กว้างไกลไปยังหลากหลายอุตสาหกรรมอีกด้วย โดยใน อนาคตคุณจะได้เห็น ไมโครเวฟคุยกับตู้เย็นให้สั่งอาหารมา เติม เครื่องซักผ้าคุยกับทีวีบอกคุณว่าผ้าซักเสร็จแล้ว สายรัด ข้อมือจะคุยกับรถพยาบาลแจ้งให้ไปรับตัวผู้ป่วยที่กาลังหัวใจ วาย เหล่านี้คืออนาคตของ Internet of Things ที่ สิ่งต่างๆกาลังจะคุยกันได้