SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
สถานการณ์ที่ 4 ทาความสะอาด
ในชั่วโมงเรียนวิชา ก.พ.อ. ของนักเรียนชั้น ป.3 ครูต้องการสอนเรื่องการทาความสะอาดบ้านเรือน จึงให้
นักเรียนไปทาความสะอาดห้องพักครูสัปดาห์ละครั้งโดยที่ครูไม่ได้บอกวิธีการ แต่ครูมีเงื่อนไขว่าจะให้คะแนน
เมื่อนักเรียนทาความสะอาดห้องได้สะอาดและทันเวลาที่กาหนด พบว่า
ครั้งแรก นักเรียนต่างคนต่างปัดกวาด เช็ดถู ไปตามเรื่องและแต่ใครจะทาอะไร ปรากฎว่ายังไม่ค่อย
สะอาด และใช้เวลามากทั้งยังอลหม่าน ฝุ่นฟุ้งกระจายไปหมด ในระหว่างที่นักเรียนกาลังทาความสะอาดอยู่นั้น
ครูก็คอยสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนปรากฎว่า นักเรียนต่างคนต่างทา ในขณะที่คนหนึ่งกาลังปัดหยากไย่บน
เพดานอยู่นักเรียนอีกกลุ่มถูพื้น ไปพร้อมๆ ทาให้ไม่สะอาดสักที
ครั้งที่สอง จากที่นักเรียนได้ลองทาในครั้งแรก ปรากฎว่าไม่สะอาดและไม่ทันเวลาตามที่กาหนด ในครั้ง
นี้นักเรียนเริ่มมีการตกลงกัน ว่า ลองเปลี่ยนวิธีทาความสะอาดใหม่ โดยมีการแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบ และมีการ
ลาดับขั้นตอนการทางานโดยเริ่มปัดฝุ่นจากเพดานก่อน แล้วจึงทาความสะอาดพื้นห้อง ผลปรากฏว่า นักเรียน
สามารถทาความสะอาดห้องได้เร็วขึ้น และสะอาดเรียบร้อยกว่าเดิม
ครั้งที่สาม นักเรียนพึงพอใจกับผลงานที่ทาในครั้งที่ 2 ครั้งต่อๆมา นักเรียนก็เลือกวิธีดังกล่าว แต่ในครั้ง
นี้ผลปรากฏว่า ทาได้รวดเร็วและสะอาดกว่าเดิม นอกจากนี้แล้วเมื่อได้รับมอบหมายจากครูให้ทาความสะอาด
สถานที่อื่นๆ นักเรียนก็สามารถทาได้เป็นอย่างดี
สถานการณ์ที่ 4 ทาความสะอาด
สิ่งเร้า = วิธีการการทาความสะอาด
การตอบสนอง = ห้องเรียนสะอาด
การเสริมแรง = คะแนน
จากสถานการณ์
สถานการณ์ดังกล่าวอยู่ในขอบข่ายของ Operant Conditioning Theory
ซึ่งพฤติกรรมโอเปอร์แรนต์ เป็นพฤติกรรมที่บุคคลหรือสัตว์แสดงพฤติกรรม
ตอบสนองออกมา (Emitted) โดยปราศจากสิ่งเร้าที่แน่นอน และพฤติกรรมนี้
มีผลต่อสิ่งแวดล้อม
ภารกิจที่ 1 จงวิเคราะห์ว่า สถานการณ์ที่ท่านอ่านนี้ อยู่ในขอบข่าย
ของทฤษฎีใดในกลุ่มพฤติกรรมนิยม อธิบายพร้อมทั้งให้เหตุผล
ประกอบมาให้ชัดเจน
แนวคิดของธอร์นไดค์
การเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก
กฎแห่งการเรียนรู้
กฎแห่งผล
นักเรียนลองเปลี่ยนวิธีทา
ความสะอาด แล้วได้ผลที่
น่าพึงพอใจ คือ สะอาด
และรวดเร็วกว่าเดิม
กฎแห่งความพร้อม
นักเรียนเข้าใจวิธีการทา
ความสะอาดตรงกัน
กฎแห่งการฝึกหัด
นักเรียนนาวิธีทาความ
สะอาดนี้มาใช้ในครั้งต่อ ๆ
มา
กฎแห่งการใช้
เมื่อได้รับมอบหมายจาก
ครูให้ทาความสะอาด
สถานที่อื่นๆ นักเรียนก็
สามารถทาได้เป็นอย่างดี
ข้อดี
- ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ด้วยตัวเอง
- ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้กับกลุ่มผู้เรียนด้วยกัน เกิดการปฏิสัมพันธ์กัน
ข้อจากัด
- ใช้ระยะเวลานานในการเกิดการเรียนรู้ (ลองผิดลองถูก)
- ถ้าผู้เรียนไม่เกิดการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ก็ไม่สามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้
2. ให้วิเคราะห์ว่าทฤษฎีที่เลือกมีข้อดี ข้อจากัด อย่างไร และมี
แนวทางในการนาทฤษฎีดังกล่าวไปใช้ในการเรียนการสอน
อย่างไร อธิบายพร้อมแสดงเหตุผลประกอบมาให้ชัดเจน
1. การสอนในชั้นเรียนต้องกาหนดจุดมุ่งหมายให้ชัดเจน
2. การตั้งจุดมุ่งหมายให้ชัดเจนก็หมายถึงการตั้งจุดมุ่งหมายที่สังเกตการตอบสนองได้
3. ครูจะต้องจัดแบ่งเนื้อหาออกเป็นหน่วย ๆ ให้เขาเรียนทีละหน่วย เพื่อที่ผู้เรียนจะได้เกิด
ความรู้สึกพอใจในผลที่เขาเรียนในแต่ละหน่วยนั้น โดยการสอนแต่ละหน่วยก็ต้องเริ่มจาก
สิ่งที่ง่ายไปหาสิ่งที่ยากเสมอ
4. สร้างแรงจูงใจให้กับผู้เรียน เพราะจะทาให้ผู้เรียนเกิดความพอใจเมื่อเขาได้รับสิ่งที่
ต้องการหรือรางวัล ในขั้นแรกครูต้องสร้างแรงจูงใจภายนอกให้กับผู้เรียน ให้ผู้เรียนรู้ผลการ
เรียน ผู้เรียนจะได้ทราบว่าการกระทานั้นถูกต้องหรือไม่ ถ้าการกระทานั้นผิดหรือไม่เป็นที่
พอใจเขาก็จะได้รับการ แก้ไขปรับปรุงให้ถูกต้อง เพื่อที่จะได้รับสิ่งที่เขาพอใจต่อไป
5. ในการเรียนการสอน ครูจะต้องสอนให้นักเรียนสามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตจริง
ได้อย่างสมบูรณ์
การนาหลักการทฤษฎีการเรียนรู้ของ ธอร์นไดด์ ไปใช้ในการเรียน
การสอน
Thank you!
นางสาวบุณย์ศศิร์ เลิศเสนา 565050022-6
นางสาวจุฑามาศ นาดี 565050211-3
นางสาวกนกพร คาภิสาร 565050016-1
สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

More Related Content

More from Bunsasi

Analize ICT 2020 Conceptual Framework
Analize ICT 2020 Conceptual Framework Analize ICT 2020 Conceptual Framework
Analize ICT 2020 Conceptual Framework
Bunsasi
 
ICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framwork
Bunsasi
 
A tutor map
A tutor mapA tutor map
A tutor map
Bunsasi
 
Integrative
IntegrativeIntegrative
Integrative
Bunsasi
 
Active learning
Active learningActive learning
Active learning
Bunsasi
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
Bunsasi
 
Chapter 05
Chapter 05Chapter 05
Chapter 05
Bunsasi
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
Bunsasi
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
Bunsasi
 

More from Bunsasi (10)

Analize ICT 2020 Conceptual Framework
Analize ICT 2020 Conceptual Framework Analize ICT 2020 Conceptual Framework
Analize ICT 2020 Conceptual Framework
 
ICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framwork
 
A tutor map
A tutor mapA tutor map
A tutor map
 
Integrative
IntegrativeIntegrative
Integrative
 
Active learning
Active learningActive learning
Active learning
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Chapter 05
Chapter 05Chapter 05
Chapter 05
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
02
0202
02
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 

สถานการณ์ที่ 4

  • 2. ในชั่วโมงเรียนวิชา ก.พ.อ. ของนักเรียนชั้น ป.3 ครูต้องการสอนเรื่องการทาความสะอาดบ้านเรือน จึงให้ นักเรียนไปทาความสะอาดห้องพักครูสัปดาห์ละครั้งโดยที่ครูไม่ได้บอกวิธีการ แต่ครูมีเงื่อนไขว่าจะให้คะแนน เมื่อนักเรียนทาความสะอาดห้องได้สะอาดและทันเวลาที่กาหนด พบว่า ครั้งแรก นักเรียนต่างคนต่างปัดกวาด เช็ดถู ไปตามเรื่องและแต่ใครจะทาอะไร ปรากฎว่ายังไม่ค่อย สะอาด และใช้เวลามากทั้งยังอลหม่าน ฝุ่นฟุ้งกระจายไปหมด ในระหว่างที่นักเรียนกาลังทาความสะอาดอยู่นั้น ครูก็คอยสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนปรากฎว่า นักเรียนต่างคนต่างทา ในขณะที่คนหนึ่งกาลังปัดหยากไย่บน เพดานอยู่นักเรียนอีกกลุ่มถูพื้น ไปพร้อมๆ ทาให้ไม่สะอาดสักที ครั้งที่สอง จากที่นักเรียนได้ลองทาในครั้งแรก ปรากฎว่าไม่สะอาดและไม่ทันเวลาตามที่กาหนด ในครั้ง นี้นักเรียนเริ่มมีการตกลงกัน ว่า ลองเปลี่ยนวิธีทาความสะอาดใหม่ โดยมีการแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบ และมีการ ลาดับขั้นตอนการทางานโดยเริ่มปัดฝุ่นจากเพดานก่อน แล้วจึงทาความสะอาดพื้นห้อง ผลปรากฏว่า นักเรียน สามารถทาความสะอาดห้องได้เร็วขึ้น และสะอาดเรียบร้อยกว่าเดิม ครั้งที่สาม นักเรียนพึงพอใจกับผลงานที่ทาในครั้งที่ 2 ครั้งต่อๆมา นักเรียนก็เลือกวิธีดังกล่าว แต่ในครั้ง นี้ผลปรากฏว่า ทาได้รวดเร็วและสะอาดกว่าเดิม นอกจากนี้แล้วเมื่อได้รับมอบหมายจากครูให้ทาความสะอาด สถานที่อื่นๆ นักเรียนก็สามารถทาได้เป็นอย่างดี สถานการณ์ที่ 4 ทาความสะอาด
  • 3. สิ่งเร้า = วิธีการการทาความสะอาด การตอบสนอง = ห้องเรียนสะอาด การเสริมแรง = คะแนน จากสถานการณ์
  • 4. สถานการณ์ดังกล่าวอยู่ในขอบข่ายของ Operant Conditioning Theory ซึ่งพฤติกรรมโอเปอร์แรนต์ เป็นพฤติกรรมที่บุคคลหรือสัตว์แสดงพฤติกรรม ตอบสนองออกมา (Emitted) โดยปราศจากสิ่งเร้าที่แน่นอน และพฤติกรรมนี้ มีผลต่อสิ่งแวดล้อม ภารกิจที่ 1 จงวิเคราะห์ว่า สถานการณ์ที่ท่านอ่านนี้ อยู่ในขอบข่าย ของทฤษฎีใดในกลุ่มพฤติกรรมนิยม อธิบายพร้อมทั้งให้เหตุผล ประกอบมาให้ชัดเจน
  • 5. แนวคิดของธอร์นไดค์ การเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก กฎแห่งการเรียนรู้ กฎแห่งผล นักเรียนลองเปลี่ยนวิธีทา ความสะอาด แล้วได้ผลที่ น่าพึงพอใจ คือ สะอาด และรวดเร็วกว่าเดิม กฎแห่งความพร้อม นักเรียนเข้าใจวิธีการทา ความสะอาดตรงกัน กฎแห่งการฝึกหัด นักเรียนนาวิธีทาความ สะอาดนี้มาใช้ในครั้งต่อ ๆ มา กฎแห่งการใช้ เมื่อได้รับมอบหมายจาก ครูให้ทาความสะอาด สถานที่อื่นๆ นักเรียนก็ สามารถทาได้เป็นอย่างดี
  • 6. ข้อดี - ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ด้วยตัวเอง - ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้กับกลุ่มผู้เรียนด้วยกัน เกิดการปฏิสัมพันธ์กัน ข้อจากัด - ใช้ระยะเวลานานในการเกิดการเรียนรู้ (ลองผิดลองถูก) - ถ้าผู้เรียนไม่เกิดการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ก็ไม่สามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ 2. ให้วิเคราะห์ว่าทฤษฎีที่เลือกมีข้อดี ข้อจากัด อย่างไร และมี แนวทางในการนาทฤษฎีดังกล่าวไปใช้ในการเรียนการสอน อย่างไร อธิบายพร้อมแสดงเหตุผลประกอบมาให้ชัดเจน
  • 7. 1. การสอนในชั้นเรียนต้องกาหนดจุดมุ่งหมายให้ชัดเจน 2. การตั้งจุดมุ่งหมายให้ชัดเจนก็หมายถึงการตั้งจุดมุ่งหมายที่สังเกตการตอบสนองได้ 3. ครูจะต้องจัดแบ่งเนื้อหาออกเป็นหน่วย ๆ ให้เขาเรียนทีละหน่วย เพื่อที่ผู้เรียนจะได้เกิด ความรู้สึกพอใจในผลที่เขาเรียนในแต่ละหน่วยนั้น โดยการสอนแต่ละหน่วยก็ต้องเริ่มจาก สิ่งที่ง่ายไปหาสิ่งที่ยากเสมอ 4. สร้างแรงจูงใจให้กับผู้เรียน เพราะจะทาให้ผู้เรียนเกิดความพอใจเมื่อเขาได้รับสิ่งที่ ต้องการหรือรางวัล ในขั้นแรกครูต้องสร้างแรงจูงใจภายนอกให้กับผู้เรียน ให้ผู้เรียนรู้ผลการ เรียน ผู้เรียนจะได้ทราบว่าการกระทานั้นถูกต้องหรือไม่ ถ้าการกระทานั้นผิดหรือไม่เป็นที่ พอใจเขาก็จะได้รับการ แก้ไขปรับปรุงให้ถูกต้อง เพื่อที่จะได้รับสิ่งที่เขาพอใจต่อไป 5. ในการเรียนการสอน ครูจะต้องสอนให้นักเรียนสามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตจริง ได้อย่างสมบูรณ์ การนาหลักการทฤษฎีการเรียนรู้ของ ธอร์นไดด์ ไปใช้ในการเรียน การสอน
  • 8. Thank you! นางสาวบุณย์ศศิร์ เลิศเสนา 565050022-6 นางสาวจุฑามาศ นาดี 565050211-3 นางสาวกนกพร คาภิสาร 565050016-1 สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น