SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
ทส..33220033 ววิิชชาา ปฏฏิิบบัตัติิ 
ฐฐาานขข้อ้อมมููล 
IINNTT 33220033 DDaattaabbaassee 
SSyysstteemm LLaabboorraattoorryy 
DEVELOPMENT BY 
A.PORRAMIN PECHMANEE
CCHHAARRPPTTEERR 11 
ฐฐาานขข้้อมมูลูลแแลละะ SSQQLL 
((DDaattaabbaassee && SSQQLL)) 
DEVELOPMENT BY 
A.PORRAMIN PECHMANEE
รระะบบฐฐาานขข้้อมมูลูล ((DDaattaabbaassee 
SSyysstteemm)) 
ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง 
โครงสร้างสารสนเทศที่ 
ประกอบด้วยรายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน 
ทจี่ะนำามาใช้ในระบบต่าง ๆ มาใช้ 
ร่วมกัน 
ระบบฐานข้อมูล จึงนับว่าได้เป็นการจัดเก็บ 
ข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยผู้ใช้ 
สามารถจัดการกับข้อมูลได้ในลักษณะต่าง ๆ ทงั้ 
การเพมิ่ การแก้ไข การลบ ตลอดจน 
การเรียกดูข้อมูล ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการประยุกต์ 
นำาเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย
รระะบบฐฐาานขข้อ้อมมูลูล ((DDaattaabbaassee 
SSyysstteemm)) 
ปรระะเเภภทของฐฐาานขข้้อมมูลูลแแบบ่ง่ง 33 
ปรระะเเภภทไไดด้แ้แกก่่ 
 โครงสร้างแบบตามลำาดับชั้น 
(Hierarchical Model) 
 โครงสร้างแบบเครือข่าย 
(Network Model) 
 โครงสร้างแบบเชิงสัมพันธ์ 
(Relational Model)
รระะบบฐฐาานขข้อ้อมมูลูล ((DDaattaabbaassee 
SSyysstteemm)) 
 โครงสร้างแบบตามลำาดับชั้น 
(Hierarchical Model) 
คณะ 
สาขาวิชา 1 สาขาวิชา n 
ระดับ 
รูทโหนด 
(root node) 
โหนดพ่อแม่ 
(parent node) 
โหนดลูก 
(Child node) 
วิชาเฉพาะ ว1ิชาเฉพาะว 2ิชาเฉพาะ nวิชาเฉพาะว 1ิชาเฉพาะ n 
รูปที่ 1_1 โครงสร้างแบบตามลำาดับชั้น (Hierarchical Model)
รระะบบฐฐาานขข้อ้อมมูลูล ((DDaattaabbaassee 
SSyysstteemm)) 
 โครงสร้างแบบเครือข่าย 
(Network Modeสl)าขาวิชา 
วิชาเฉพาะ 2 วิชาเฉพาะ n 
วิชาเฉพาะ 1 
นักศึกษา 1 นักศึกษา 2วิชาเฉพาะ 3นักศึกษา 4 นักศึกษา n 
……. 
……. 
รูปที่1_2 โครงสร้างแบบเครือข่าย (Network Model)
รระะบบฐฐาานขข้อ้อมมูลูล ((DDaattaabbaassee 
SSyysstteemm)) 
 โครงสร้างแบบเชิงสัมพันธ์ 
(Relational Model) 
รูปที่ 1_3 โครงสร้างแบบแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Model)
องคค์์ปรระะกอบของฐฐาานขข้้อมมูลูล 
องค์ประกอบฐานข้อมูลโดยพิจารณา 
จากการสร้างฐานข้อมูล 
1) เอนติตี้ (Entity) เป็นเรื่องเกี่ยวกับ 
บุคคล สถานที่ สิ่งของ 
หรือเหตุการณ์ที่ต้องการเก็บข้อมูล 
2) ลักษณะเฉพาะของเอนติตี้ 
(Data items หรือ Attribute) 
คือลักษณะของเอนติตี้ที่ต้องการเก็บข้อมูล 
เช่น เอนติตี้ของนักศึกษาประกอบด้วย 
attribute คือ รหัส 
นักศึกษา,ชื่อ,สกุล,คณะ,กลุ่มฯลฯ
องคค์์ปรระะกอบของฐฐาานขข้อ้อมมูลูล 
4) แฟ้มข้อมูล (File) ประกอบด้วย 
เรคคอร์ดที่สัมพันธ์กันหลาย ๆ อนัมารวมกัน 
เช่น แฟ้มข้อมูลพนักงาน จะประกอบด้วย 
เรคคอร์ดของพนักงานแต่ละคน 
5) ฐานข้อมูล (Database) ประกอบ 
ด้วยแฟ้มข้อมูลหลาย ๆ แฟ้มที่มีความ 
สัมพันธ์กันมารวมกัน
Entity นักศึกษา 
Attribute / 
Data Item 
รหัสนักศกึษา, ชื่อ – สกุล, คณะ, กลุ่ม, ที่ 
อยู่, โทรศัพท์ 
แฟ้มข้อมูลนักศึกษา 
รหัส 
นักศึกษ 
า 
ชื่อ – สกุล คณะ กล 
ุ่ 
ม 
ที่อยู่ โทรศัพท์ 
461110 
01 
น.ส.หนูนุ้ย 
คุยดีจัง 
วิทยาการ 
จัดการ 
Z 11 ถ.ลูกรัง 
ต.บ่อยาง 
อ.เมือง 
จ.สงขลา 
074- 
111111 
461110 
02 
นายเท่ง 
เก่งจริง 
วิทยาการ 
จัดการ 
Z 1 หมู่ 5 ต.เขา 
รูปช้าง อ.เมือง 
จ.สงขลา 
09- 
999999 
9 
461110 
น.ส.เน่งน้อย 
วิทยาการ 
Z 50 หมู่ 1 
074- 
องคค์์ปรระะกอบของฐฐาานขข้อ้อมมูลูล
ฐฐาานขข้อ้อมมูลูลเเชชิงิงสสััมพพัันธธ์์ 
((RReellaattiioonnaall ddaattaabbaassee)) 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ นนั้จะอยู่ในรูปแบบ 
ของตาราง 2 มิติประกอบ 
ด้วย แถว (ROW) และ คอลัมน์ (COLUMN) 
แถว 
(ROW) 
คอลัมน์ (COLUMN)
ฐฐาานขข้อ้อมมููลเเชชิิงสสัมัมพพัันธธ์์ 
((RReellaattiioonnaall ddaattaabbaassee)) 
ฐานข้อมูลเชิงสมัพันธ์ ใช้ DBMS เป็นพื้น 
ฐานของโมเดลเชิงสัมพันธ์ เรียกว่า “ระบบจัการ 
ฐานข้อมูลเชิงสมัพันธ์ (Relational Database 
Management System : RDBMS) เรียกสั้น ๆ 
ว่า (Relation) ก็คืฮแฟ้มข้อมูล 
หรือ ไฟล์ ( File ) ในระบบการประมวลผล 
ข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล ( File Processing 
System) ดังนนั้ สามารถเปรียบเทียบความ 
หมายการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ กับ การ 
ประมวลผลที่คนุ้เคยได้ดังนี้
ฐฐาานขข้อ้อมมููลเเชชิิงสสัมัมพพัันธธ์์ 
((RReellaattiioonnaall ddaattaabbaassee)) 
รีเลชนั่ (Relation) เทเบิล (Table) : ตาราง 
ข้อมูล(Table) 
ทูเพิล(Tuple) แถว(Row) : แถว(Row) หรือ เร 
คอร์ด (Record) 
แอททริบิวต์(Attribute) คอลัมน์(Column) : 
คอลัมน์(Column) หรือ ฟิลด์ Field) 
คาร์ดินาลลิตี้(Cardinality) : จำานวน 
แถว(Number Of Rows)
ฐฐาานขข้อ้อมมููลเเชชิิงสสัมัมพพัันธธ์์ 
((RReellaattiioonnaall ddaattaabbaassee))
ฐฐาานขข้อ้อมมููลเเชชิิงสสัมัมพพัันธธ์์ 
((RReellaattiioonnaall ddaattaabbaassee))
คววาามสสัมัมพพัันธธ์์ของ 
ขข้อ้อมมููล
ความสัมพันธ์ของข้อมูลแบ่งเป็น 3 
ประเภท คือ ซึ่งในการออกแบบ 
ฐานข้อมูลที่มีโครงสร้างเชิงสัมพันธ์ หรือ 
(Relation database) ก็คือการออกแบบ 
เทเบิลเพื่อเก็บข้อมูลกลุ่มต่าง ๆ โดยจะ 
ต้องสามารถกำาหนดความสัมพันธ์ให้ 
ระหว่างกลุ่มข้อมูลเหล่านนั้ 
1) ความสัมพันธ์แบบ 1:1 
(One to One ) 
2) ความสัมพันธ์แบบ 1:N 
(One to Many) 
3) ความสัมพันธ์แบบ M:N
คววาามสสัมัมพพัันธธ์์ของ 
ขข้อ้อมมููล 
วามสัมพันธ์แบบ 1:1 (One to One ) 
สัมพันธ์แบบ 1:1 (One to One) คือความสัมพันธ์ขอษณะ 1 ต่อ 1 หรือข้อมูลตัวหนงึ่ จะมีความสัมพันธ์กัเพียงค่าเดียวเท่านั้น 
นักศึกษา บัตรประจำาตัว 
นักศึกษา
คววาามสสัมัมพพัันธธ์์ของ 
ขข้อ้อมมููล
วามสัมพันธ์แบบ 1:N (One to Many) 
ความสัมพันธ์แบบ 1:N (One to Many) 
คือ ความสัมพันธ์ซึ่งข้อมูลตัวหนึ่งมีความ 
สัมพันธ์กับข้อมูลตัวอื่นได้หลายอย่าง 
ชื่อลูกค้า บัญชี 
ธนาคาร
คววาามสสัมัมพพัันธธ์์ของ 
ขข้อ้อมมููล
วามสัมพันธ์แบบ M:N (Many to Many) 
ความสัมพันธ์แบบ M:N (Many to 
Many) คือ ความสมัพันธ์ซึ่งข้อมูลตัวหนึ่งมี 
หลายค่า และมีความสัมพันธ์กับข้อมูลตัวอื่นได้ 
หลายอย่าง เช่น มีวิชาที่เปิดสอนหลายวิชา 
แต่ละวิชามีนักศึกษาหลายคน 
วิชาระบบ 
วิชา 
สารสนเทศ 
เศรษฐศาส 
ตร์ 
ใน 1 คอร์ดเปิดสอนได้หลายวิชา 
วิชาการ 
จัดการ 
สมชาย สมปอง สมศักดิ์สมทรง สมทรง 
แต่ละรายวิชา น.ศ. สามารถลงได้หลายคน 
นศ.หลายคน ลงได้หลา
รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY 
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการฐาน 
ข้อมูล เช่นการอ้างอิง 
การค้นหา การแก้ไขข้อมูลในแถวใด ๆ หรือการ 
กำาหนดความสัมพันธ์ระหว่าง เทเบิล ประเภท 
ของคีย์ อาจแบ่งเป็น 5 ประเภทหลัก คือ 
1) คีย์หลัก (Primary Key) 
2) คีย์ลำาดับรอง (Secondary 
Key) 
3) คีย์คแู่ข่ง (Candidate 
Key) 
4) คีย์รวม (Compound
ปรรระะะะเเเภเภภททขขอองงคคคีียยียีย์์ ์์KKEEYY 
1.คีย์หลัก (Primary Key) 
เป็นแอททริบิวต์ที่มีคุณสมบัติของข้อมูลที่ 
เป็นค่าเอกลักษณ์หรือมีค่าที่ไม่ซำ้าซ้อนกัน 
คุณสมบัติดังกล่าวจะสามารถระบุว่าข้อมูลนั้น 
เป็นข้อมูลของทูเพิล/เรคอร์ดใด แอททริบิวต์ที่ 
มีคุณสมบัติเป็นคีย์หลักอาจ ประกอบด้วย 
หลายแอททริบิวต์/คอลัมน์/ฟิลด์รวมกัน 
เพื่อที่จะกำาหนดค่าที่เป็นเอกลักษณ์ได้ คีย์หลัก 
ที่ประกอบด้วยหลายแอททริบิวต์นี้เรียกว่า คีย์ 
ผสม(Composite Key) นั้นคือเมื่อแอททริ 
บิวต์แต่ละตัวประกอบกันจึงจะให้ค่าที่เป็น
Attribute ใดคือ คีย์หลัก 
(Primary Key) ?? 
รหัสหลักสูตร 
รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY
รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY 
ย์ลำาดับรอง (Secondary Key) 
หรือ บางครั้งเรียกว่า อินเด็กซ์ (Index) 
ดัชนี ซึ่งนอกจากกำาหนดคีย์หลักให้กับแต่ละ 
เทเบิล ยังสามารถใช้ อินเด็กซ์ เป็นคีย์ช่วย 
ในการค้นหาหรือจัดเรียกกลุ่มแถวที่มีจำานวน 
มาก ๆ ไ ด้ อย่างรวดเร็ว เช่น การค้นหาชอื่และ 
นามสกุลของพนักงานในเทเบิลพนักงานเป็น 
คีย์หลักอยู่แล้ว
รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY 
พนักงาน 
รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ 
1001 Michael Suyana Conventry Hourse London 02-735-8564 
1002 Laura Callahan 4726 Ave.N.E Seattle 02-856-9874 
1003 Robert King Edgeham Hollow London 02-896-9632 
1004 Anne Dodsworth 7 Hondstood RD. London 01-589-3658 
INDEX 
ชื่อ นามสกุล 
Anne Dodsworth 
Laura Callahan 
Michael Suyana 
Robert King
รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY 
คีย์คแู่ข่ง (Candidate Key) 
เป็น คีย์ที่มีคุณสมัติที่สามารถเป็นแทน คีย์ 
หลักได้ ถ้าจากข้อมูลในตาราง พนักงานถ้า 
มั่นใจว่า ชอื่พนักงาน ไม่มีชอื่ซำ้าสามารถ 
สามารถ 
นำาcolumn ชอื่ มาเป็น Secondary คีย์ได้ 
พนักงาน 
รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ 
1001 Michael Suyana Conventry Hourse London 02-735-8564 
1002 Laura Callahan 4726 Ave.N.E Seattle 02-856-9874 
1003 Robert King Edgeham Hollow London 02-896-9632 
1004 Anne Dodsworth 7 Hondstood RD. London 01-589-3658 
Candidate Key
รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY 
คีย์รวม (Compound Key) 
เป็น คีย์ที่เกิดจากการนำาคอลัมน์หลาย ๆ 
คอลัมน์มารวมกัน เพื่อให้คุณสมบัติเป็นคีย์หลัก 
คือ ไม่มีข้อมลูซำ้ากัน และไม่มีค่าว่าง 
(NULL) เนื่องจากการบางครั้งการสร้างคีย์หลัก 
จากคอลัมน์เดียวเดียว 
อาจมีโอกาสที่จะเกิดข้อมูลซำ้ากันได้
รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY 
ย์รวม (Compound Key) 
พนักงาน 
ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ 
Michael Suyana Conventry Hourse London 02-735-8564 
Laura Callahan 4726 Ave.N.E Seattle 02-856-9874 
Robert King Edgeham Hollow London 02-896-9632 
Anne Dodsworth 7 Hondstood RD. London 01-589-3658 
(หากไม่มี รหัสพนักงาน) อาจใช้คอลัมน์ ชื่อและนามสกุลรวมกันเป็น Primary สมมุติฐานว่าจะไม่มีคนใช้ชื่อ และ นามสกุลเดียวกันเรียกว่า Compound Key
รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY 
คีย์นอก (Foreign Key) 
เป็นแอททริบิวต์ในรีเลชั่นหนึ่งที่ใช้ใน 
การอ้างอิงถึง แอททริบิวต์เดียวกันในอีกรี 
เลชั่นหนงึ่ โดยที่แอททริบิวต์นี้จะมีคุณสมบัติ 
เป็นคีย์หลักในรีเลชนั่ที่ถูกอ้างอิงถึง การที่มี 
แอททริบิวต์นี้ปรากฎอยู่ในรีเลชั่นทั้งสองก็เพื่อ 
ประโยชน์ในการเชื่อมโยงข้อมูลซึ่งกันและกัน 
นั่นเอง
รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY 
Attribute ใดคือ คีย์นอก 
(Foreign Key) ?? 
รหัสนักศึกษา
กฎทใี่ชช้จ้จััดเเกก็บ็บใในนฐฐาานขข้อ้อมมูลูล 
เเชชิิงสสัมัมพพันันธธ์์ 
ในการจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลเชิง 
สัมพันธน์ั้น มีข้อกำาหนด 
เพื่อสร้างความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูล 
(Integrity) ในฐานข้อมูลดังนี้
กฎทใี่ชช้จ้จััดเเกก็บ็บใในนฐฐาานขข้อ้อมมูลูล 
เเชชิิงสสัมัมพพันันธธ์์ 
กฎข้อที่ 1 ทุกเทเบิลต้องมีคีย์ 
หลัก (Primary Key) Phone Book 
NAME TELEPHONE 
Anna 02-456-6985 
Laura 02-865-7456 
Michael 02-856-6321 
Anna 02-549-9856 
Phone Book 
ID NAME TELEPHONE 
1001 Anna 02-456-6985 
1002 Laura 02-865-7456 
1003 Michael 02-856-6321 
1004 Anna 02-549-9856
กฎทใี่ชช้จ้จััดเเกก็บ็บใในนฐฐาานขข้อ้อมมูลูล 
เเชชิิงสสัมัมพพันันธธ์์ 
กฎข้อที่ 2 
ในการสร้างความสมัพันธ์ระหว่างเทเบิล 2 
เทเบิลในฐานข้อมูล 
เชิงสมัพันธ์สามารถกำาหนด (Foreign Key) ซึ่ง 
อาจจะมีค่า NULL (ไม่มีข้อมูล) หรือมีค่าตรงกับ 
คีย์หลักในอีกเทเบิลหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กันด้วย
กฎทใี่ชช้จ้จััดเเกก็บ็บใในนฐฐาานขข้อ้อมมูลูล 
เเชชิิงสสัมัมพพันันธธ์์ 
Employee 
EMP_ID NAME TELEPHONE DEP_NO 
1001 Anna 02-456-6985 100 
1002 Laura 02-865-7456 300 
1003 Michael 02-856-6321 NULL 
1004 Anna 02-549-9856 200 
Department 
DEP_NO DEP_NAME 
100 Accounting 
200 Marking 
300 Computer 
400 Sale
ภภาาษษาา 
SSQQLL 
ภาษา SQL (Structured Query Language) หรือ 
ภาษาในการสอบถามข้อมูล เป็นภาษาทางด้านฐานข้อมูล ที่ 
สามารถสร้างและปฎิบัติการกับฐานข้อมูลแบบ 
สัมพันธ์(relational database)โดยเฉพาะ และ เป็นภาษาที่มี 
ลักษณะคล้ายกับภาษาอังกฤษ ภาษา SQLถูกพัฒนาขึ้นจาก 
แนวคิดของ relational calculus และ relational algebra 
เป็นหลัก ภาษา SQL เริ่มพัฒนาครั้งแรกโดย almaden 
research center ของบริษัท IBM โดยมีชื่อเริ่มแรกว่า “ซี 
เควล” (Sequel) ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น“เอสคิวแอล” (SQL) 
หลังจากนั้นภาษา SQLได้ถูกนำามาพัฒนาโดยผู้ผลิตซอฟแวร์ 
ด้านระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จนเป็นที่นิยมกัน 
อย่างแพร่หลาย 
ในปัจจุบัน โดยผู้ผลิตแต่ละรายก็พยายามที่จะพัฒนา
ปรระะเเภภทของคคำาำาสสั่งั่งใในนภภาาษษาา 
SSQQLL 
ษา SQL ประกอบด้วยชุดคำาสั่งหลัก ๆ 3 ประเภทด้วยกัน Data Definition Language(DDL) 
เป็นคำาสั่งจัดการกับไฟล์ในฐานข้อมูล ได้แก่ 
CREATE, ALTER, DROP 
 Data Manipulate Language (DML) 
เป็นคำาสั่งจัดการข้อมูล ได้แก่ INSERT, 
UPDATE, DELETE, ROLLBACK, 
COMMIT 
 Data Control Language (DML) 
เป็นคำาสั่งจัดการข้อมูล ได้แก่
ปรระะเเภภทของคคำาำาสสั่งั่งใในนภภาาษษาา 
SSQQLL 
 Query 
เป็นคำาสั่งการเรัยกดูข้อมูล คือ SELECT 
 Data Control 
เป็นคำาสั่งจัดการความปลอดภัย
ปรระะเเภภทของคคำำำำสสั่งั่งใในนภภำำษษำำ 
SSQQLL SQL 
มำตรฐำน 
Oracle Access DB2 
character (n) 
: n คือ จำำนวน 
ของ 
ตัวอักษร 
char(n) 
: จำำกัดควำม 
ยำวสูงสุด 
ไม่เกิน 255 
ตัวอักษร 
text 
: จำำกัดควำม 
ยำวสูงสุด 
ไม่เกิน 255 
ตัวอักษร 
character 
(n) 
: จำำกัดควำม 
ยำวสูงสุดไม่ 
เกิน 255 
ตัวอักษร 
Character 
varying (n) 
: จัดเก็บจำำนวน 
ตัวอักษร 
ได้ถึง n ตัว 
แต่ขนำด 
จริงจะปรับ 
varchar2 
(n) 
: ในกำรจัดเก็บ 
สำมำรถปรับ 
ควำมยำวได้ 
ตำมข้อมูล โดย 
กำำหนดไว้ได้ 
text 
: สำมำรถปรับ 
ควำมยำวได้ 
สูงสุด 255 ตัว 
อักษร 
หรือ MEMO 
สำมำรถปรับ 
varchar(n 
) 
ควำมหมำย 
เดียวกับ 
varchar2 
(n)
SQL มำตรฐำน Oracle Access DB2 
float (p) 
number 
: p คือจำำนวนหลัก 
: แทนค่ำข้อมูลที่ 
ทั้งหมดของข้อมูล 
เป็นตัวเลข 
ตัวเลข 
Single หรือ 
long 
: ขึ้นอยู่กับช่วง 
ของค่ำ 
ข้อมูล 
float 
: ควำมหมำย 
เดียวกบั 
number ใน 
Oracle 
Decimal (p,s) 
: ตัวเลขจำำนวนจริง 
มี 
ทั้งหมด p หลัก 
และเป็นทศนิยม s 
หลัก 
varchar2 (n) 
: ตัวเลขจำำนวนจริง 
มีทงั้หมด p หลัก 
และเป็นทศนิยม s 
หลัก โดย p มคี่ำ 
ตั้งแต่ 1 ถึง 38 
และ S มีค่ำตั้งแต่ 
– 84 
ถึง 127 
Integer หรือ 
long integer 
: ขึ้นอยู่กับช่วง 
ค่ำของข้อมูล 
varchar(n) 
ควำมหมำย 
เดียวกับ 
number 
(p,s) ใน 
Oracle 
date 
: วันที่และเวลำ มี 
ค่ำได้ตั้งแต่ 1 มค.
ฐฐำำน 
ขข้อ้อมมูลูล 
 Normalization 
 Data Dictionary 
 TABLE
 Normalization 
Customer 
Cid 
cname 
address 
telephone 
credit_lim 
curr_bal 
Product_tbl 
pid 
pname 
unitprice 
onhand 
reorder_pt 
reorder_qty 
order_tbl 
oid 
pid 
qty 
discoun 
cid 
eid 
employee_tbl 
eid 
ename 
salary 
address 
telephone 
ฐฐำำน 
ขข้อ้อมมูลูล
 DDaattaa DDiiccttiioonnaarryy 
ชื่อเทเบิล ชื่อคอลัมน์ ประเภทข้อมูล ควำมหมำย อ้ำงถึง 
Customer_tbl cid char(6) รหัสลูกค้ำ 
cname varchar2 (40) ชื่อลูกค้ำ 
address varchar2 (30) เบอร์โทรศัพท์ 
telephone varchar2 (10) 
credit_lim number วงเงินกำรให้สินเชื่อ (บำท) 
curr_bal number ยอดสินเชื่อคงเหลือ (บำท) 
order_tbl oid char(6) รหัสใบสั่งซื้อสินค้ำ 
pid (*) char(6) รหัสสินค้ำ product_tbl 
qty number จำำนวนสินค้ำที่สั่งซื้อ 
discount number(5,2) ส่วนลด(%) 
cid (*) char(6) รหัสลูกค้ำ customer_tbl 
eid (*) char(6) รหัสพนักงำนขำย employee_tbl 
ฐฐำำน 
ขข้อ้อมมูลูล
ฐฐำำน 
ขข้อ้อมมูลูล 
TABLE 
รหัสพนกังำน ชอื่นำมสกุล ทอี่ยู่เบอรโ์ทรศัพท์ 
1001 Michael Suyana Conventry Hourse London 02-735-8564 
1002 Laura Callahan 4726 Ave.N.E Seattle 02-856-9874 
1003 Robert King Edgeham Hollow London 02-896-9632 
1004 Anne Dodsworth 7 Hondstood RD. London 01-589-3658
AAssssiiggnnmm 
eenntt 11 
จำกภำพจงหำและอธิบำยคำำต่อไปนี้ 
พร้อมยกตัวอย่ำงโดยอิงจำกภำพ รีเลชั่น 
(Relation) 
ทูเพิล (Tuple) 
แอททริบิวต์ (Attribute) 
คำร์ดินำลลิตี้ (Cardinality) 
ดีกรี (Degree) 
โดเมน (Domain)
AAssssiiggnnmm 
eenntt 11 
จงใช้โปรแกรม EXCEL ออกแบบตำรำง 
ฐำนข้อมูล อันประกอบไป 
ด้วย ข้อมูลดังนี้ ID หลัก, ชอื่-นำมสกุล, 
เพศ, อำยุ, ที่อยู่, วันเดือนปีเกิด, 
สำำเร็จกำรศึกษำจำก, งำนอดิเรก, โดย 
อำศัยข้อมูลจำกเพื่อนในห้อง 10 
คน
TTHHEE EENNDD

More Related Content

Viewers also liked

Cal Staggers Cool Boats
Cal Staggers Cool BoatsCal Staggers Cool Boats
Cal Staggers Cool BoatsCal Staggers
 
History of social media infographic
History of social media infographicHistory of social media infographic
History of social media infographicDigital Marketing
 
Let us c++ yeshwant kanetkar
Let us c++ yeshwant kanetkarLet us c++ yeshwant kanetkar
Let us c++ yeshwant kanetkarYash Kapoor
 
Newsletter_2
Newsletter_2Newsletter_2
Newsletter_2pnetwork
 
GDG Montréal - Account Manager Basics and Use Case
GDG Montréal - Account Manager Basics and Use CaseGDG Montréal - Account Manager Basics and Use Case
GDG Montréal - Account Manager Basics and Use CaseSidereo
 
Louise lloydreductioninfatals
Louise lloydreductioninfatalsLouise lloydreductioninfatals
Louise lloydreductioninfatalsBusra Baykal
 
Membuat archieve outlook 2010
Membuat archieve outlook 2010Membuat archieve outlook 2010
Membuat archieve outlook 2010Fakhrul Othman
 
06 safety ethiopia
06 safety ethiopia06 safety ethiopia
06 safety ethiopiaBusra Baykal
 
Nomina 2014 (2)
Nomina 2014 (2)Nomina 2014 (2)
Nomina 2014 (2)lilian7425
 
Cocktail non-veg-choice-menu-standard
Cocktail non-veg-choice-menu-standardCocktail non-veg-choice-menu-standard
Cocktail non-veg-choice-menu-standarddiligentinfosystems
 

Viewers also liked (12)

Cal Staggers Cool Boats
Cal Staggers Cool BoatsCal Staggers Cool Boats
Cal Staggers Cool Boats
 
History of social media infographic
History of social media infographicHistory of social media infographic
History of social media infographic
 
Let us c++ yeshwant kanetkar
Let us c++ yeshwant kanetkarLet us c++ yeshwant kanetkar
Let us c++ yeshwant kanetkar
 
Newsletter_2
Newsletter_2Newsletter_2
Newsletter_2
 
GDG Montréal - Account Manager Basics and Use Case
GDG Montréal - Account Manager Basics and Use CaseGDG Montréal - Account Manager Basics and Use Case
GDG Montréal - Account Manager Basics and Use Case
 
Louise lloydreductioninfatals
Louise lloydreductioninfatalsLouise lloydreductioninfatals
Louise lloydreductioninfatals
 
Membuat archieve outlook 2010
Membuat archieve outlook 2010Membuat archieve outlook 2010
Membuat archieve outlook 2010
 
06 safety ethiopia
06 safety ethiopia06 safety ethiopia
06 safety ethiopia
 
Kenali cpu
Kenali cpuKenali cpu
Kenali cpu
 
Membaikpulih pc
Membaikpulih pcMembaikpulih pc
Membaikpulih pc
 
Nomina 2014 (2)
Nomina 2014 (2)Nomina 2014 (2)
Nomina 2014 (2)
 
Cocktail non-veg-choice-menu-standard
Cocktail non-veg-choice-menu-standardCocktail non-veg-choice-menu-standard
Cocktail non-veg-choice-menu-standard
 

Similar to Int3204 charapter1

ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลOrapan Chamnan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน Kittipong Joy
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nunzaza
 
งาน #1 กลุ่มที่ 4
งาน #1 กลุ่มที่ 4 งาน #1 กลุ่มที่ 4
งาน #1 กลุ่มที่ 4 Natthapong Khunthong
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
Chapter8การออกแบบข้อมูล
Chapter8การออกแบบข้อมูลChapter8การออกแบบข้อมูล
Chapter8การออกแบบข้อมูลsaisuneesaibit
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1sirada nilbut
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารmiwmilk
 

Similar to Int3204 charapter1 (20)

ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
Mai
MaiMai
Mai
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
งาน #1 กลุ่มที่ 4
งาน #1 กลุ่มที่ 4 งาน #1 กลุ่มที่ 4
งาน #1 กลุ่มที่ 4
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Chapter8การออกแบบข้อมูล
Chapter8การออกแบบข้อมูลChapter8การออกแบบข้อมูล
Chapter8การออกแบบข้อมูล
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
56785774
5678577456785774
56785774
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
Entity relationship model
Entity relationship modelEntity relationship model
Entity relationship model
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Presentation thesis
Presentation thesisPresentation thesis
Presentation thesis
 
Tip.search
Tip.searchTip.search
Tip.search
 

Int3204 charapter1

  • 1. ทส..33220033 ววิิชชาา ปฏฏิิบบัตัติิ ฐฐาานขข้อ้อมมููล IINNTT 33220033 DDaattaabbaassee SSyysstteemm LLaabboorraattoorryy DEVELOPMENT BY A.PORRAMIN PECHMANEE
  • 2. CCHHAARRPPTTEERR 11 ฐฐาานขข้้อมมูลูลแแลละะ SSQQLL ((DDaattaabbaassee && SSQQLL)) DEVELOPMENT BY A.PORRAMIN PECHMANEE
  • 3. รระะบบฐฐาานขข้้อมมูลูล ((DDaattaabbaassee SSyysstteemm)) ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ ประกอบด้วยรายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ทจี่ะนำามาใช้ในระบบต่าง ๆ มาใช้ ร่วมกัน ระบบฐานข้อมูล จึงนับว่าได้เป็นการจัดเก็บ ข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยผู้ใช้ สามารถจัดการกับข้อมูลได้ในลักษณะต่าง ๆ ทงั้ การเพมิ่ การแก้ไข การลบ ตลอดจน การเรียกดูข้อมูล ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการประยุกต์ นำาเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย
  • 4. รระะบบฐฐาานขข้อ้อมมูลูล ((DDaattaabbaassee SSyysstteemm)) ปรระะเเภภทของฐฐาานขข้้อมมูลูลแแบบ่ง่ง 33 ปรระะเเภภทไไดด้แ้แกก่่  โครงสร้างแบบตามลำาดับชั้น (Hierarchical Model)  โครงสร้างแบบเครือข่าย (Network Model)  โครงสร้างแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Model)
  • 5. รระะบบฐฐาานขข้อ้อมมูลูล ((DDaattaabbaassee SSyysstteemm))  โครงสร้างแบบตามลำาดับชั้น (Hierarchical Model) คณะ สาขาวิชา 1 สาขาวิชา n ระดับ รูทโหนด (root node) โหนดพ่อแม่ (parent node) โหนดลูก (Child node) วิชาเฉพาะ ว1ิชาเฉพาะว 2ิชาเฉพาะ nวิชาเฉพาะว 1ิชาเฉพาะ n รูปที่ 1_1 โครงสร้างแบบตามลำาดับชั้น (Hierarchical Model)
  • 6. รระะบบฐฐาานขข้อ้อมมูลูล ((DDaattaabbaassee SSyysstteemm))  โครงสร้างแบบเครือข่าย (Network Modeสl)าขาวิชา วิชาเฉพาะ 2 วิชาเฉพาะ n วิชาเฉพาะ 1 นักศึกษา 1 นักศึกษา 2วิชาเฉพาะ 3นักศึกษา 4 นักศึกษา n ……. ……. รูปที่1_2 โครงสร้างแบบเครือข่าย (Network Model)
  • 7. รระะบบฐฐาานขข้อ้อมมูลูล ((DDaattaabbaassee SSyysstteemm))  โครงสร้างแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Model) รูปที่ 1_3 โครงสร้างแบบแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Model)
  • 8. องคค์์ปรระะกอบของฐฐาานขข้้อมมูลูล องค์ประกอบฐานข้อมูลโดยพิจารณา จากการสร้างฐานข้อมูล 1) เอนติตี้ (Entity) เป็นเรื่องเกี่ยวกับ บุคคล สถานที่ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ที่ต้องการเก็บข้อมูล 2) ลักษณะเฉพาะของเอนติตี้ (Data items หรือ Attribute) คือลักษณะของเอนติตี้ที่ต้องการเก็บข้อมูล เช่น เอนติตี้ของนักศึกษาประกอบด้วย attribute คือ รหัส นักศึกษา,ชื่อ,สกุล,คณะ,กลุ่มฯลฯ
  • 9. องคค์์ปรระะกอบของฐฐาานขข้อ้อมมูลูล 4) แฟ้มข้อมูล (File) ประกอบด้วย เรคคอร์ดที่สัมพันธ์กันหลาย ๆ อนัมารวมกัน เช่น แฟ้มข้อมูลพนักงาน จะประกอบด้วย เรคคอร์ดของพนักงานแต่ละคน 5) ฐานข้อมูล (Database) ประกอบ ด้วยแฟ้มข้อมูลหลาย ๆ แฟ้มที่มีความ สัมพันธ์กันมารวมกัน
  • 10. Entity นักศึกษา Attribute / Data Item รหัสนักศกึษา, ชื่อ – สกุล, คณะ, กลุ่ม, ที่ อยู่, โทรศัพท์ แฟ้มข้อมูลนักศึกษา รหัส นักศึกษ า ชื่อ – สกุล คณะ กล ุ่ ม ที่อยู่ โทรศัพท์ 461110 01 น.ส.หนูนุ้ย คุยดีจัง วิทยาการ จัดการ Z 11 ถ.ลูกรัง ต.บ่อยาง อ.เมือง จ.สงขลา 074- 111111 461110 02 นายเท่ง เก่งจริง วิทยาการ จัดการ Z 1 หมู่ 5 ต.เขา รูปช้าง อ.เมือง จ.สงขลา 09- 999999 9 461110 น.ส.เน่งน้อย วิทยาการ Z 50 หมู่ 1 074- องคค์์ปรระะกอบของฐฐาานขข้อ้อมมูลูล
  • 11. ฐฐาานขข้อ้อมมูลูลเเชชิงิงสสััมพพัันธธ์์ ((RReellaattiioonnaall ddaattaabbaassee)) ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ นนั้จะอยู่ในรูปแบบ ของตาราง 2 มิติประกอบ ด้วย แถว (ROW) และ คอลัมน์ (COLUMN) แถว (ROW) คอลัมน์ (COLUMN)
  • 12. ฐฐาานขข้อ้อมมููลเเชชิิงสสัมัมพพัันธธ์์ ((RReellaattiioonnaall ddaattaabbaassee)) ฐานข้อมูลเชิงสมัพันธ์ ใช้ DBMS เป็นพื้น ฐานของโมเดลเชิงสัมพันธ์ เรียกว่า “ระบบจัการ ฐานข้อมูลเชิงสมัพันธ์ (Relational Database Management System : RDBMS) เรียกสั้น ๆ ว่า (Relation) ก็คืฮแฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( File ) ในระบบการประมวลผล ข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล ( File Processing System) ดังนนั้ สามารถเปรียบเทียบความ หมายการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ กับ การ ประมวลผลที่คนุ้เคยได้ดังนี้
  • 13. ฐฐาานขข้อ้อมมููลเเชชิิงสสัมัมพพัันธธ์์ ((RReellaattiioonnaall ddaattaabbaassee)) รีเลชนั่ (Relation) เทเบิล (Table) : ตาราง ข้อมูล(Table) ทูเพิล(Tuple) แถว(Row) : แถว(Row) หรือ เร คอร์ด (Record) แอททริบิวต์(Attribute) คอลัมน์(Column) : คอลัมน์(Column) หรือ ฟิลด์ Field) คาร์ดินาลลิตี้(Cardinality) : จำานวน แถว(Number Of Rows)
  • 16. คววาามสสัมัมพพัันธธ์์ของ ขข้อ้อมมููล ความสัมพันธ์ของข้อมูลแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ ซึ่งในการออกแบบ ฐานข้อมูลที่มีโครงสร้างเชิงสัมพันธ์ หรือ (Relation database) ก็คือการออกแบบ เทเบิลเพื่อเก็บข้อมูลกลุ่มต่าง ๆ โดยจะ ต้องสามารถกำาหนดความสัมพันธ์ให้ ระหว่างกลุ่มข้อมูลเหล่านนั้ 1) ความสัมพันธ์แบบ 1:1 (One to One ) 2) ความสัมพันธ์แบบ 1:N (One to Many) 3) ความสัมพันธ์แบบ M:N
  • 17. คววาามสสัมัมพพัันธธ์์ของ ขข้อ้อมมููล วามสัมพันธ์แบบ 1:1 (One to One ) สัมพันธ์แบบ 1:1 (One to One) คือความสัมพันธ์ขอษณะ 1 ต่อ 1 หรือข้อมูลตัวหนงึ่ จะมีความสัมพันธ์กัเพียงค่าเดียวเท่านั้น นักศึกษา บัตรประจำาตัว นักศึกษา
  • 18. คววาามสสัมัมพพัันธธ์์ของ ขข้อ้อมมููล วามสัมพันธ์แบบ 1:N (One to Many) ความสัมพันธ์แบบ 1:N (One to Many) คือ ความสัมพันธ์ซึ่งข้อมูลตัวหนึ่งมีความ สัมพันธ์กับข้อมูลตัวอื่นได้หลายอย่าง ชื่อลูกค้า บัญชี ธนาคาร
  • 19. คววาามสสัมัมพพัันธธ์์ของ ขข้อ้อมมููล วามสัมพันธ์แบบ M:N (Many to Many) ความสัมพันธ์แบบ M:N (Many to Many) คือ ความสมัพันธ์ซึ่งข้อมูลตัวหนึ่งมี หลายค่า และมีความสัมพันธ์กับข้อมูลตัวอื่นได้ หลายอย่าง เช่น มีวิชาที่เปิดสอนหลายวิชา แต่ละวิชามีนักศึกษาหลายคน วิชาระบบ วิชา สารสนเทศ เศรษฐศาส ตร์ ใน 1 คอร์ดเปิดสอนได้หลายวิชา วิชาการ จัดการ สมชาย สมปอง สมศักดิ์สมทรง สมทรง แต่ละรายวิชา น.ศ. สามารถลงได้หลายคน นศ.หลายคน ลงได้หลา
  • 20. รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการฐาน ข้อมูล เช่นการอ้างอิง การค้นหา การแก้ไขข้อมูลในแถวใด ๆ หรือการ กำาหนดความสัมพันธ์ระหว่าง เทเบิล ประเภท ของคีย์ อาจแบ่งเป็น 5 ประเภทหลัก คือ 1) คีย์หลัก (Primary Key) 2) คีย์ลำาดับรอง (Secondary Key) 3) คีย์คแู่ข่ง (Candidate Key) 4) คีย์รวม (Compound
  • 21. ปรรระะะะเเเภเภภททขขอองงคคคีียยียีย์์ ์์KKEEYY 1.คีย์หลัก (Primary Key) เป็นแอททริบิวต์ที่มีคุณสมบัติของข้อมูลที่ เป็นค่าเอกลักษณ์หรือมีค่าที่ไม่ซำ้าซ้อนกัน คุณสมบัติดังกล่าวจะสามารถระบุว่าข้อมูลนั้น เป็นข้อมูลของทูเพิล/เรคอร์ดใด แอททริบิวต์ที่ มีคุณสมบัติเป็นคีย์หลักอาจ ประกอบด้วย หลายแอททริบิวต์/คอลัมน์/ฟิลด์รวมกัน เพื่อที่จะกำาหนดค่าที่เป็นเอกลักษณ์ได้ คีย์หลัก ที่ประกอบด้วยหลายแอททริบิวต์นี้เรียกว่า คีย์ ผสม(Composite Key) นั้นคือเมื่อแอททริ บิวต์แต่ละตัวประกอบกันจึงจะให้ค่าที่เป็น
  • 22. Attribute ใดคือ คีย์หลัก (Primary Key) ?? รหัสหลักสูตร รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY
  • 23. รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY ย์ลำาดับรอง (Secondary Key) หรือ บางครั้งเรียกว่า อินเด็กซ์ (Index) ดัชนี ซึ่งนอกจากกำาหนดคีย์หลักให้กับแต่ละ เทเบิล ยังสามารถใช้ อินเด็กซ์ เป็นคีย์ช่วย ในการค้นหาหรือจัดเรียกกลุ่มแถวที่มีจำานวน มาก ๆ ไ ด้ อย่างรวดเร็ว เช่น การค้นหาชอื่และ นามสกุลของพนักงานในเทเบิลพนักงานเป็น คีย์หลักอยู่แล้ว
  • 24. รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY พนักงาน รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ 1001 Michael Suyana Conventry Hourse London 02-735-8564 1002 Laura Callahan 4726 Ave.N.E Seattle 02-856-9874 1003 Robert King Edgeham Hollow London 02-896-9632 1004 Anne Dodsworth 7 Hondstood RD. London 01-589-3658 INDEX ชื่อ นามสกุล Anne Dodsworth Laura Callahan Michael Suyana Robert King
  • 25. รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY คีย์คแู่ข่ง (Candidate Key) เป็น คีย์ที่มีคุณสมัติที่สามารถเป็นแทน คีย์ หลักได้ ถ้าจากข้อมูลในตาราง พนักงานถ้า มั่นใจว่า ชอื่พนักงาน ไม่มีชอื่ซำ้าสามารถ สามารถ นำาcolumn ชอื่ มาเป็น Secondary คีย์ได้ พนักงาน รหัสพนักงาน ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ 1001 Michael Suyana Conventry Hourse London 02-735-8564 1002 Laura Callahan 4726 Ave.N.E Seattle 02-856-9874 1003 Robert King Edgeham Hollow London 02-896-9632 1004 Anne Dodsworth 7 Hondstood RD. London 01-589-3658 Candidate Key
  • 26. รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY คีย์รวม (Compound Key) เป็น คีย์ที่เกิดจากการนำาคอลัมน์หลาย ๆ คอลัมน์มารวมกัน เพื่อให้คุณสมบัติเป็นคีย์หลัก คือ ไม่มีข้อมลูซำ้ากัน และไม่มีค่าว่าง (NULL) เนื่องจากการบางครั้งการสร้างคีย์หลัก จากคอลัมน์เดียวเดียว อาจมีโอกาสที่จะเกิดข้อมูลซำ้ากันได้
  • 27. รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY ย์รวม (Compound Key) พนักงาน ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ Michael Suyana Conventry Hourse London 02-735-8564 Laura Callahan 4726 Ave.N.E Seattle 02-856-9874 Robert King Edgeham Hollow London 02-896-9632 Anne Dodsworth 7 Hondstood RD. London 01-589-3658 (หากไม่มี รหัสพนักงาน) อาจใช้คอลัมน์ ชื่อและนามสกุลรวมกันเป็น Primary สมมุติฐานว่าจะไม่มีคนใช้ชื่อ และ นามสกุลเดียวกันเรียกว่า Compound Key
  • 28. รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY คีย์นอก (Foreign Key) เป็นแอททริบิวต์ในรีเลชั่นหนึ่งที่ใช้ใน การอ้างอิงถึง แอททริบิวต์เดียวกันในอีกรี เลชั่นหนงึ่ โดยที่แอททริบิวต์นี้จะมีคุณสมบัติ เป็นคีย์หลักในรีเลชนั่ที่ถูกอ้างอิงถึง การที่มี แอททริบิวต์นี้ปรากฎอยู่ในรีเลชั่นทั้งสองก็เพื่อ ประโยชน์ในการเชื่อมโยงข้อมูลซึ่งกันและกัน นั่นเอง
  • 29. รระะเเภภทของคคีียย์์ KKEEYY Attribute ใดคือ คีย์นอก (Foreign Key) ?? รหัสนักศึกษา
  • 30. กฎทใี่ชช้จ้จััดเเกก็บ็บใในนฐฐาานขข้อ้อมมูลูล เเชชิิงสสัมัมพพันันธธ์์ ในการจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลเชิง สัมพันธน์ั้น มีข้อกำาหนด เพื่อสร้างความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูล (Integrity) ในฐานข้อมูลดังนี้
  • 31. กฎทใี่ชช้จ้จััดเเกก็บ็บใในนฐฐาานขข้อ้อมมูลูล เเชชิิงสสัมัมพพันันธธ์์ กฎข้อที่ 1 ทุกเทเบิลต้องมีคีย์ หลัก (Primary Key) Phone Book NAME TELEPHONE Anna 02-456-6985 Laura 02-865-7456 Michael 02-856-6321 Anna 02-549-9856 Phone Book ID NAME TELEPHONE 1001 Anna 02-456-6985 1002 Laura 02-865-7456 1003 Michael 02-856-6321 1004 Anna 02-549-9856
  • 32. กฎทใี่ชช้จ้จััดเเกก็บ็บใในนฐฐาานขข้อ้อมมูลูล เเชชิิงสสัมัมพพันันธธ์์ กฎข้อที่ 2 ในการสร้างความสมัพันธ์ระหว่างเทเบิล 2 เทเบิลในฐานข้อมูล เชิงสมัพันธ์สามารถกำาหนด (Foreign Key) ซึ่ง อาจจะมีค่า NULL (ไม่มีข้อมูล) หรือมีค่าตรงกับ คีย์หลักในอีกเทเบิลหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กันด้วย
  • 33. กฎทใี่ชช้จ้จััดเเกก็บ็บใในนฐฐาานขข้อ้อมมูลูล เเชชิิงสสัมัมพพันันธธ์์ Employee EMP_ID NAME TELEPHONE DEP_NO 1001 Anna 02-456-6985 100 1002 Laura 02-865-7456 300 1003 Michael 02-856-6321 NULL 1004 Anna 02-549-9856 200 Department DEP_NO DEP_NAME 100 Accounting 200 Marking 300 Computer 400 Sale
  • 34. ภภาาษษาา SSQQLL ภาษา SQL (Structured Query Language) หรือ ภาษาในการสอบถามข้อมูล เป็นภาษาทางด้านฐานข้อมูล ที่ สามารถสร้างและปฎิบัติการกับฐานข้อมูลแบบ สัมพันธ์(relational database)โดยเฉพาะ และ เป็นภาษาที่มี ลักษณะคล้ายกับภาษาอังกฤษ ภาษา SQLถูกพัฒนาขึ้นจาก แนวคิดของ relational calculus และ relational algebra เป็นหลัก ภาษา SQL เริ่มพัฒนาครั้งแรกโดย almaden research center ของบริษัท IBM โดยมีชื่อเริ่มแรกว่า “ซี เควล” (Sequel) ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น“เอสคิวแอล” (SQL) หลังจากนั้นภาษา SQLได้ถูกนำามาพัฒนาโดยผู้ผลิตซอฟแวร์ ด้านระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จนเป็นที่นิยมกัน อย่างแพร่หลาย ในปัจจุบัน โดยผู้ผลิตแต่ละรายก็พยายามที่จะพัฒนา
  • 35. ปรระะเเภภทของคคำาำาสสั่งั่งใในนภภาาษษาา SSQQLL ษา SQL ประกอบด้วยชุดคำาสั่งหลัก ๆ 3 ประเภทด้วยกัน Data Definition Language(DDL) เป็นคำาสั่งจัดการกับไฟล์ในฐานข้อมูล ได้แก่ CREATE, ALTER, DROP  Data Manipulate Language (DML) เป็นคำาสั่งจัดการข้อมูล ได้แก่ INSERT, UPDATE, DELETE, ROLLBACK, COMMIT  Data Control Language (DML) เป็นคำาสั่งจัดการข้อมูล ได้แก่
  • 36. ปรระะเเภภทของคคำาำาสสั่งั่งใในนภภาาษษาา SSQQLL  Query เป็นคำาสั่งการเรัยกดูข้อมูล คือ SELECT  Data Control เป็นคำาสั่งจัดการความปลอดภัย
  • 37. ปรระะเเภภทของคคำำำำสสั่งั่งใในนภภำำษษำำ SSQQLL SQL มำตรฐำน Oracle Access DB2 character (n) : n คือ จำำนวน ของ ตัวอักษร char(n) : จำำกัดควำม ยำวสูงสุด ไม่เกิน 255 ตัวอักษร text : จำำกัดควำม ยำวสูงสุด ไม่เกิน 255 ตัวอักษร character (n) : จำำกัดควำม ยำวสูงสุดไม่ เกิน 255 ตัวอักษร Character varying (n) : จัดเก็บจำำนวน ตัวอักษร ได้ถึง n ตัว แต่ขนำด จริงจะปรับ varchar2 (n) : ในกำรจัดเก็บ สำมำรถปรับ ควำมยำวได้ ตำมข้อมูล โดย กำำหนดไว้ได้ text : สำมำรถปรับ ควำมยำวได้ สูงสุด 255 ตัว อักษร หรือ MEMO สำมำรถปรับ varchar(n ) ควำมหมำย เดียวกับ varchar2 (n)
  • 38. SQL มำตรฐำน Oracle Access DB2 float (p) number : p คือจำำนวนหลัก : แทนค่ำข้อมูลที่ ทั้งหมดของข้อมูล เป็นตัวเลข ตัวเลข Single หรือ long : ขึ้นอยู่กับช่วง ของค่ำ ข้อมูล float : ควำมหมำย เดียวกบั number ใน Oracle Decimal (p,s) : ตัวเลขจำำนวนจริง มี ทั้งหมด p หลัก และเป็นทศนิยม s หลัก varchar2 (n) : ตัวเลขจำำนวนจริง มีทงั้หมด p หลัก และเป็นทศนิยม s หลัก โดย p มคี่ำ ตั้งแต่ 1 ถึง 38 และ S มีค่ำตั้งแต่ – 84 ถึง 127 Integer หรือ long integer : ขึ้นอยู่กับช่วง ค่ำของข้อมูล varchar(n) ควำมหมำย เดียวกับ number (p,s) ใน Oracle date : วันที่และเวลำ มี ค่ำได้ตั้งแต่ 1 มค.
  • 39. ฐฐำำน ขข้อ้อมมูลูล  Normalization  Data Dictionary  TABLE
  • 40.  Normalization Customer Cid cname address telephone credit_lim curr_bal Product_tbl pid pname unitprice onhand reorder_pt reorder_qty order_tbl oid pid qty discoun cid eid employee_tbl eid ename salary address telephone ฐฐำำน ขข้อ้อมมูลูล
  • 41.  DDaattaa DDiiccttiioonnaarryy ชื่อเทเบิล ชื่อคอลัมน์ ประเภทข้อมูล ควำมหมำย อ้ำงถึง Customer_tbl cid char(6) รหัสลูกค้ำ cname varchar2 (40) ชื่อลูกค้ำ address varchar2 (30) เบอร์โทรศัพท์ telephone varchar2 (10) credit_lim number วงเงินกำรให้สินเชื่อ (บำท) curr_bal number ยอดสินเชื่อคงเหลือ (บำท) order_tbl oid char(6) รหัสใบสั่งซื้อสินค้ำ pid (*) char(6) รหัสสินค้ำ product_tbl qty number จำำนวนสินค้ำที่สั่งซื้อ discount number(5,2) ส่วนลด(%) cid (*) char(6) รหัสลูกค้ำ customer_tbl eid (*) char(6) รหัสพนักงำนขำย employee_tbl ฐฐำำน ขข้อ้อมมูลูล
  • 42. ฐฐำำน ขข้อ้อมมูลูล TABLE รหัสพนกังำน ชอื่นำมสกุล ทอี่ยู่เบอรโ์ทรศัพท์ 1001 Michael Suyana Conventry Hourse London 02-735-8564 1002 Laura Callahan 4726 Ave.N.E Seattle 02-856-9874 1003 Robert King Edgeham Hollow London 02-896-9632 1004 Anne Dodsworth 7 Hondstood RD. London 01-589-3658
  • 43. AAssssiiggnnmm eenntt 11 จำกภำพจงหำและอธิบำยคำำต่อไปนี้ พร้อมยกตัวอย่ำงโดยอิงจำกภำพ รีเลชั่น (Relation) ทูเพิล (Tuple) แอททริบิวต์ (Attribute) คำร์ดินำลลิตี้ (Cardinality) ดีกรี (Degree) โดเมน (Domain)
  • 44. AAssssiiggnnmm eenntt 11 จงใช้โปรแกรม EXCEL ออกแบบตำรำง ฐำนข้อมูล อันประกอบไป ด้วย ข้อมูลดังนี้ ID หลัก, ชอื่-นำมสกุล, เพศ, อำยุ, ที่อยู่, วันเดือนปีเกิด, สำำเร็จกำรศึกษำจำก, งำนอดิเรก, โดย อำศัยข้อมูลจำกเพื่อนในห้อง 10 คน