SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
การใช้งานคาสั่งภาษา SQL
ภาษามาตราฐานสาหรับการนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล (SQL)
การกาหนดโครงสร้างข้อมูล :
โครงสร้างของภาษาเอสคิวแอล
ภาษา SQL (สามารถอ่านออกเสียงได้ 2 แบบ คือ “เอสคิวแอล” (SQL)
หรือ “ซีเควล” (Sequel)) ย่อมาจาก Structured Query
Language หรือภาษาในการสอบถามข้อมูล เป็นภาษาทางด้านฐานข้อมูล
ที่สามารถสร้างและปฎิบัติการกับฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์(relational
database)โดยเฉพาะ และ เป็นภาษาที่มีลักษณะคล้ายกับภาษาอังกฤษ
ภาษา SQLถูกพัฒนาขึ้นจากแนวคิดของ relational calculus
และ relational algebra เป็นหลัก ภาษา SQL เริ่มพัฒนาครั้ง
แรกโดย almaden research center ของบริษัท IBM โดยมี
ชื่อเริ่มแรกว่า “ซีเควล” (Sequel) ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น“เอสคิวแอล”
(SQL) หลังจากนั้นภาษา SQLได้ถูกนามาพัฒนาโดยผู้ผลิตซอฟแวร์
ด้านระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จนเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย
ในปัจจุบัน โดยผู้ผลิตแต่ละรายก็พยายามที่จะพัฒนาระบบจัดการ
ฐานข้อมูลของตนให้มีลักษณะเด่นเฉพาะขึ้นมา
ทาให้รูปแบบการใช้คาสั่ง SQL มีรูปแบบที่แตกต่างกันไปบ้าง เช่น
ORACLE ACCESS SQL Base ของ Sybase
INGRES หรือ SQL Server ของ Microsoft เป็นต้น
ดังนั้นในปี ค.ศ. 1986 ทางด้าน American National
Standards Institute (ANSI) จึงได้กาหนดมาตรฐานของ
SQL ขึ้น อย่างไรก็ดี โปรแกรมฐานข้อมูลที่ขายในท้องตลาด ได้
ขยาย SQL
ออกไปจนเกินข้อกาหนดของ ANSI โดยเพิ่มคุณสมบัติอื่นๆ ที่คิด
ว่าเป็นประโยชน์เข้าไปอีกแต่โดยหลักทั่วไปแล้วก็ยังปฏิบัติตาม
มาตราฐานของ ANSI ในการอธิบายคาสั่งต่างๆของภาษา SQL
ในหนังสือเล่มนี้จะอธิบายคาสั่งที่เป็นรูปแบบคาสั่งมาตราฐานของ
ภาษา SQLโดยทั่วไป
ประเภทของคาสั่งของภาษา SQL
ภาษา SQL เป็นภาษาที่ใช้งานได้ตั้งแต่ระดับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน
บุคคลพีซีไปจนถึงระดับเมนเฟรม ประเภทของคาสั่งในภาษา SQL
(The subdivision of sql) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1) ภาษาสาหรับการนิยามข้อมูล (Data Definition Language
: DDL) ประกอบด้วยคาสั่งที่ใช้ในการกาหนดโครงสร้างข้อมูลว่ามี
คอลัมน์อะไร แต่ละคอลัมน์เก็บข้อมูลประเภทใด รวมถึงการเพิ่มคอลัมน์
การกาหนดดัชนี การกาหนดวิวหรือตารางเสมือนของผู้ใช้ เป็นต้น
2) ภาษาสาหรับการจัดการข้อมูล (Data Manipulation
Language : DML) ประกอบด้วยคาสั่งที่ใช้ในการเรียกใช้
ข้อมูล การเปลี่ยนแปลงข้อมูล การเพิ่มหรือลบข้อมูล เป็นต้น
3) ภาษาควบคุม (Data Control Language : DCL) :
ประกอบด้วยคาสั่งที่ใช้ในการควบคุม การเกิดภาวะพร้อมกัน หรือ
การป้องกันการเกิดเหตุการณ์ที่ผู้ใช้หลายคนเรียกใช้ข้อมูลพร้อมกัน
และคาสั่งที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมความปลอดภัยของข้อมูลด้วยการ
กาหนดสิทธิของผู้ใช้ที่แตกต่างกัน เป็นต้น
ชนิดของข้อมูลที่ใช้ในภาษา SQL
ในภาษา SQL การบรรจุข้อมูลลงในคอลัมน์ต่าง ๆ ของตาราง
จะต้องกาหนดชนิดของข้อมูล (data type) ให้แต่ละคอลัมน์ ชนิดของ
ข้อมูลนี้จะแสดงชนิดของค่าที่อยู่ในคอลัมน์ ค่าทุกค่าในคอลัมน์ที่กาหนด
จะต้องเป็นชนิดเดียวกัน เช่น ในตารางลูกค้าคอลัมน์ที่เป็นรายชื่อลูกค้า
จะต้องเป็นตัวหนังสือ ในขณะที่คอลัมน์จานวนเงินที่ลูกค้าซื้อสินค้าเป็น
ตัวเลข
ชนิดของข้อมูลของแต่ละคอลัมน์จะขึ้นกับลักษณะของข้อมูลแต่ละ
คอลัมน์ ซึ่งแบ่งได้ดังนี้ชนิดข้อมูลพื้นฐานในภาษา SQL ดังนี้
2.1 ตัวหนังสือ(character) ในภาษา SQL จะใช้
– ตัวหนังสือแบบความยาวคงที่(fixed-length character) จะ
ใช้char (n) หรือcharacter(n)แทนประเภทของข้อมูลที่เป็น
ตัวหนังสือใดๆที่มีความยาวของข้อมูลคงที่โดยมีความยาว n ตัวหนังสือ
ประเภทนี้จะมีการจองเนื้อที่ตามความยาวที่คงที่ตามที่กาหนดไว้ชนิด
ของข้อมูลประเภทนี้จะเก็บความยาวของข้อมูลได้มากที่สุดได้255
ตัวอักษร
– ตัวหนังสือแบบความยาวไม่คงที่(variable-length
character) จะใช้ varchar (n) แทนประเภทของข้อมูลที่เป็น
ตัวหนังสือใดๆที่มีความยาวของข้อมูลไม่คงที่ โดยมีความยาว n
ตัวหนังสือประเภทนี้จะมีการจองเนื้อที่ตามความยาวของข้อมูล ชนิดของ
ข้อมูลประเภทนี้จะเก็บความยาวของข้อมูลได้มากที่สุดได้ 4000 ตัวอักษร
2.2 จานวนเลข( numeric)
– จานวนเลขที่มีจุดทศนิยม(decimal) ในภาษา SQL จะ
ใช้dec(m,n) หรือ decimal(m,n) เป็นประเภทข้อมูลที่
เป็นจานวนเลขที่มีจุดทศนิยมโดย m คือจานวนตัวเลขทั้งหมด (รวม
จุดทศนิยม) และ n คือจานวนตัวเลขหลังจุดทศนิยม
– จานวนเลขที่ไม่มีจุดทศนิยมในภาษา SQL จะ
ใช้int หรือ integer เป็นเลขจานวนเต็มบวกหรือลบขนาดใหญ่ เป็น
ตัวเลข 10 หลัก ที่มีค่าตั้งแต่ –2,147,483,648 ถึง +2,147,483,647 และในภาษา
SQL จะใช้ smallint เป็นประเภทข้อมูลที่เป็นเลขจานวนเต็มบวกหรือ
ลบขนาดเล็ก เป็นตัวเลข 5 หลัก ที่มีค่าตั้งแต่ – 32,768 ถึง + 32,767 ตัวเลข
จานวนเต็มประเภทนี้จะมีการจองเนื้อที่น้อยกว่าแบบ integer
– เลขจานวนจริง ในภาษา SQL อาจใช้ number(n)แทนจานวนเลขที่
ไม่มีจุดทศนิยมและจานวนเลขที่มีจุดทศนิยม
2.3 ข้อมูลในลักษณะอื่นๆ
– วันที่และเวลา(Date/Time) เป็นชนิดวันที่หรือเวลาในภาษา SQL
จะใช้ date เป็นข้อมูลวันที่ ซึ่งจะมีหลายรูปแบบให้เลือกใช้ เช่น yyyy-
mm-dd (1999-10-31) dd.mm.yyyy(31. 10.1999) หรือ
dd/mm/yyyy (31/10/1999)
ลักษณะการใช้งานของภาษา SQL
ภาษา SQL เป็นส่วนประกอบหนึ่งของ DBMS มักพบใน
DBMS เชิงสัมพันธ์หลายตัวและเป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ภาษา
SQL ง่ายต่อการเรียนรู้ การใช้งานในภาษา SQLแบ่งเป็น 2
ลักษณะ คือ ภาษา SQL ที่โต้ตอบได้(interactive
SQL) และภาษา SQL ที่ฝังในโปรแกรม (embedded
SQL)
3.1 ภาษา SQL ที่โต้ตอบได้ ใช้เพื่อปฏิบัติงานกับฐานข้อมูลโดยตรง
เป็นการใช้คาสั่งภาษา SQLสั่งงานบนจอภาพ โดยเรียกดูข้อมูลได้
โดยตรงในขณะที่ทางาน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่นาไปใช้ได้ ตัวอย่างเช่น
ต้องการเรียกดูข้อมูลในคอลัมน์ SALENAME และ
SALECOM จากตาราง SALESTAB จะใช้คาสั่งของภาษา
SQL ดังนี้
SELECT SALENAME, SALECOM
FROM SALESTAB;
3.2 ภาษา SQL ที่ฝังในโปรแกรม เป็นภาษา SQL ที่ประกอบด้วย
คาสั่งต่าง ๆ ของ ภาษา SQL ที่ใส่ไว้ในโปรแกรมที่ส่วนมากแล้วเขียน
ด้วยภาษาอื่น เช่น โคบอล ปาสคาล ภาษาซี ลักษณะของคาสั่ง SQL จะ
แตกต่างจากภาษาอื่นๆ ในแง่ที่ว่า SQL ไม่มีคาสั่งที่เกี่ยวกับการควบคุม
(control statement)เหมือนภาษาอื่น เช่น if..then…else
for…do หรือ loop หรือ while ทาให้มีข้อจากัดในการเขียน
ชุดคาสั่งงาน การใช้ภาษา SQL ฝังในโปรแกรมอื่นจะทาให้ภาษา
SQL มีความสามารถและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ผลลัพธ์ของคาสั่งที่เกิดจากภาษา SQL ที่ฝังในโปรแกรมจะถูก
ส่งผ่านไปให้กับตัวแปรหรือพารามิเตอร์ที่ใช้ โดยโปรแกรมที่ภาษา
SQL ไปฝังตัวอยู่ เช่น
while not end-of-file(input) do
begin
readin(id-num, salesperson,loc,comm);
EXEC SQL INSERT INTO SALESTAB
VALUES(:id-num,:salesperson,:loc,:comm);
end;
เพียงอย่างเดียว จะทาให้คาสั่งนี้ใส่ค่า id-num salesperson
loc comm ใส่ค่าได้เพียงครั้งเดียว แต่เมื่อนาคาสั่งนี้มาใส่ไว้ใน
ภาษาปาสคาลข้างต้นจะทาให้คาสั่งดังกล่าวมีความสามารถสูงขึ้นคือ
คาสั่งนี้จะสามารถทางานซ้า(loop) โดยใส่ค่าต่างๆลงในตัวแปร
เพื่อให้ทาซ้ากันหลายๆครั้ง โดยจากตัวอย่างส่วนของโปรแกรมภาษา
ปาสคาลจะกาหนดลูปวนซึ่งจะอ่านค่าจากแฟ้มข้อมูลแล้วเก็บค่านั้นไว้
ในตัวแปร id-num, salesperson, loc, comm ของตาราง
SALESTAB การอ่านค่าแล้วเก็บค่าไว้ในตัวแปรจะทาซ้า
จนกระทั่งข้อมูลหมดจากแฟ้มข้อมูล
ทั้งภาษา SQL ที่โต้ตอบได้และภาษา SQL ที่ฝังในโปรแกรมจะมี
ลักษณะของคาสั่งที่ใช้งานเหมือนกัน จะต่างกันแต่เพียงภาษา SQL ที่ฝัง
ในโปรแกรมจะมีวิธีการเชื่อมโยงกับภาษาอื่น ๆ
ภาษาสาหรับนิยามข้อมูล
คาสั่งในภาษา SQL (The subdivision of sql) แบ่งออกเป็น 3
ประเภท คือ
– คาสั่งภาษาสาหรับการนิยามข้อมูล (Data Definition
Language : DDL)
– คาสั่งภาษาสาหรับการจัดการข้อมูล (Data Manipulation
Language : DML)
– คาสั่งภาษาควบคุม (Data Control Language : DCL)
ผู้จัดทา
นางสาวธัรสมร ทองคา ม.5/3 เลขที่ 22
นางสาวศิรดา นิลบุตร ม.5/3 เลขที่ 30
นางสาวกรรรณิการ์ บุญเยี่ยม ม.5/3 เลขที่ 33
นางสาวณัชชา บัวงาม ม.5/3 เลขที่ 34
นางสาวสุวดี ป้อมสันเทียะ ม.5/3 เลขที่ 35
นางสาวอาภาศิริ เชาว์รักษา ม.5/3 เลขที่ 36

More Related Content

Viewers also liked

Overview of the ATA and Priorities in the Soils Program - Sam Gameda
Overview of the ATA and Priorities in the Soils Program - Sam GamedaOverview of the ATA and Priorities in the Soils Program - Sam Gameda
Overview of the ATA and Priorities in the Soils Program - Sam GamedaFAO
 
Engaging men and women in REDD+ businesses
Engaging men and women in REDD+ businessesEngaging men and women in REDD+ businesses
Engaging men and women in REDD+ businessesIIED
 
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)FURD_RSU
 
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"FURD_RSU
 
A seminar on automobiles with special reference to mechanical breaking system
A seminar on automobiles with special reference to mechanical breaking systemA seminar on automobiles with special reference to mechanical breaking system
A seminar on automobiles with special reference to mechanical breaking systemRahul Dubey
 
Census Themes 12 and 14 – Aquaculture and Fisheries : Technical Session 12
Census Themes 12 and 14 – Aquaculture and Fisheries : Technical Session 12Census Themes 12 and 14 – Aquaculture and Fisheries : Technical Session 12
Census Themes 12 and 14 – Aquaculture and Fisheries : Technical Session 12FAO
 
Community Level Data : Technical Session 14
Community Level Data : Technical Session 14Community Level Data : Technical Session 14
Community Level Data : Technical Session 14FAO
 
Legal and Institutional Framework: Technical Session 16a
Legal and Institutional Framework: Technical Session 16aLegal and Institutional Framework: Technical Session 16a
Legal and Institutional Framework: Technical Session 16aFAO
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
Qué es Gnu/Linux
Qué es Gnu/LinuxQué es Gnu/Linux
Qué es Gnu/Linuxmquispep
 
Mayagoitia_etal_2013_therya-4_2 243-256 2013 Mayagoitia
Mayagoitia_etal_2013_therya-4_2 243-256 2013 MayagoitiaMayagoitia_etal_2013_therya-4_2 243-256 2013 Mayagoitia
Mayagoitia_etal_2013_therya-4_2 243-256 2013 MayagoitiaPiedad Mayagoitia
 
agua por favor
agua por favoragua por favor
agua por favorcotitos
 
Artes marciales mixtas
Artes marciales mixtasArtes marciales mixtas
Artes marciales mixtasmelenaih
 
Presentación ambiente (1)
Presentación ambiente (1)Presentación ambiente (1)
Presentación ambiente (1)caracasali
 
Greguerías Acuáticas
Greguerías AcuáticasGreguerías Acuáticas
Greguerías Acuáticasserra
 
Avances Científicos
Avances CientíficosAvances Científicos
Avances CientíficosIgnacioPFLC2
 

Viewers also liked (20)

Overview of the ATA and Priorities in the Soils Program - Sam Gameda
Overview of the ATA and Priorities in the Soils Program - Sam GamedaOverview of the ATA and Priorities in the Soils Program - Sam Gameda
Overview of the ATA and Priorities in the Soils Program - Sam Gameda
 
Engaging men and women in REDD+ businesses
Engaging men and women in REDD+ businessesEngaging men and women in REDD+ businesses
Engaging men and women in REDD+ businesses
 
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
 
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
INFOGRAPHIC "อนุรักษ์วัฒนธรรม ช่วยสร้างเศรษฐกิจอย่างไร"
 
Is2
Is2Is2
Is2
 
A seminar on automobiles with special reference to mechanical breaking system
A seminar on automobiles with special reference to mechanical breaking systemA seminar on automobiles with special reference to mechanical breaking system
A seminar on automobiles with special reference to mechanical breaking system
 
Census Themes 12 and 14 – Aquaculture and Fisheries : Technical Session 12
Census Themes 12 and 14 – Aquaculture and Fisheries : Technical Session 12Census Themes 12 and 14 – Aquaculture and Fisheries : Technical Session 12
Census Themes 12 and 14 – Aquaculture and Fisheries : Technical Session 12
 
Community Level Data : Technical Session 14
Community Level Data : Technical Session 14Community Level Data : Technical Session 14
Community Level Data : Technical Session 14
 
Legal and Institutional Framework: Technical Session 16a
Legal and Institutional Framework: Technical Session 16aLegal and Institutional Framework: Technical Session 16a
Legal and Institutional Framework: Technical Session 16a
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
Qué es Gnu/Linux
Qué es Gnu/LinuxQué es Gnu/Linux
Qué es Gnu/Linux
 
Tipos de violencia
Tipos de violenciaTipos de violencia
Tipos de violencia
 
Mayagoitia_etal_2013_therya-4_2 243-256 2013 Mayagoitia
Mayagoitia_etal_2013_therya-4_2 243-256 2013 MayagoitiaMayagoitia_etal_2013_therya-4_2 243-256 2013 Mayagoitia
Mayagoitia_etal_2013_therya-4_2 243-256 2013 Mayagoitia
 
Progama
ProgamaProgama
Progama
 
agua por favor
agua por favoragua por favor
agua por favor
 
Artes marciales mixtas
Artes marciales mixtasArtes marciales mixtas
Artes marciales mixtas
 
Treball higiene
Treball higieneTreball higiene
Treball higiene
 
Presentación ambiente (1)
Presentación ambiente (1)Presentación ambiente (1)
Presentación ambiente (1)
 
Greguerías Acuáticas
Greguerías AcuáticasGreguerías Acuáticas
Greguerías Acuáticas
 
Avances Científicos
Avances CientíficosAvances Científicos
Avances Científicos
 

Similar to งานนำเสนอ1

การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sqlการใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา SqlThitiya Mueanchan
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูลNattipong Siangyen
 
MK380-SQL ระบบสารสนเทศทางการตลาด - ภาษา SQL
MK380-SQL ระบบสารสนเทศทางการตลาด - ภาษา SQLMK380-SQL ระบบสารสนเทศทางการตลาด - ภาษา SQL
MK380-SQL ระบบสารสนเทศทางการตลาด - ภาษา SQLKnow Mastikate
 
System development life cycle sdlc
System development life cycle  sdlcSystem development life cycle  sdlc
System development life cycle sdlcKapook Moo Auan
 
System Development Life Cycle S D L C
System  Development  Life  Cycle   S D L CSystem  Development  Life  Cycle   S D L C
System Development Life Cycle S D L CKapook Moo Auan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nunzaza
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft accesskomolpalin
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
บทที่ 4
บทที่  4บทที่  4
บทที่ 4nunzaza
 
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมdraught
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 

Similar to งานนำเสนอ1 (20)

การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sqlการใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
คำสั่งSql
คำสั่งSqlคำสั่งSql
คำสั่งSql
 
MK380-SQL ระบบสารสนเทศทางการตลาด - ภาษา SQL
MK380-SQL ระบบสารสนเทศทางการตลาด - ภาษา SQLMK380-SQL ระบบสารสนเทศทางการตลาด - ภาษา SQL
MK380-SQL ระบบสารสนเทศทางการตลาด - ภาษา SQL
 
System development life cycle sdlc
System development life cycle  sdlcSystem development life cycle  sdlc
System development life cycle sdlc
 
System Development Life Cycle S D L C
System  Development  Life  Cycle   S D L CSystem  Development  Life  Cycle   S D L C
System Development Life Cycle S D L C
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Java
JavaJava
Java
 
Slide3
Slide3Slide3
Slide3
 
Database1
Database1Database1
Database1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft access
 
Int3204 charapter1
Int3204 charapter1Int3204 charapter1
Int3204 charapter1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บทที่ 4
บทที่  4บทที่  4
บทที่ 4
 
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 

งานนำเสนอ1

  • 2. ภาษามาตราฐานสาหรับการนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล (SQL) การกาหนดโครงสร้างข้อมูล : โครงสร้างของภาษาเอสคิวแอล ภาษา SQL (สามารถอ่านออกเสียงได้ 2 แบบ คือ “เอสคิวแอล” (SQL) หรือ “ซีเควล” (Sequel)) ย่อมาจาก Structured Query Language หรือภาษาในการสอบถามข้อมูล เป็นภาษาทางด้านฐานข้อมูล ที่สามารถสร้างและปฎิบัติการกับฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์(relational database)โดยเฉพาะ และ เป็นภาษาที่มีลักษณะคล้ายกับภาษาอังกฤษ
  • 3. ภาษา SQLถูกพัฒนาขึ้นจากแนวคิดของ relational calculus และ relational algebra เป็นหลัก ภาษา SQL เริ่มพัฒนาครั้ง แรกโดย almaden research center ของบริษัท IBM โดยมี ชื่อเริ่มแรกว่า “ซีเควล” (Sequel) ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น“เอสคิวแอล” (SQL) หลังจากนั้นภาษา SQLได้ถูกนามาพัฒนาโดยผู้ผลิตซอฟแวร์ ด้านระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จนเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย ในปัจจุบัน โดยผู้ผลิตแต่ละรายก็พยายามที่จะพัฒนาระบบจัดการ ฐานข้อมูลของตนให้มีลักษณะเด่นเฉพาะขึ้นมา
  • 4. ทาให้รูปแบบการใช้คาสั่ง SQL มีรูปแบบที่แตกต่างกันไปบ้าง เช่น ORACLE ACCESS SQL Base ของ Sybase INGRES หรือ SQL Server ของ Microsoft เป็นต้น ดังนั้นในปี ค.ศ. 1986 ทางด้าน American National Standards Institute (ANSI) จึงได้กาหนดมาตรฐานของ SQL ขึ้น อย่างไรก็ดี โปรแกรมฐานข้อมูลที่ขายในท้องตลาด ได้ ขยาย SQL
  • 5. ออกไปจนเกินข้อกาหนดของ ANSI โดยเพิ่มคุณสมบัติอื่นๆ ที่คิด ว่าเป็นประโยชน์เข้าไปอีกแต่โดยหลักทั่วไปแล้วก็ยังปฏิบัติตาม มาตราฐานของ ANSI ในการอธิบายคาสั่งต่างๆของภาษา SQL ในหนังสือเล่มนี้จะอธิบายคาสั่งที่เป็นรูปแบบคาสั่งมาตราฐานของ ภาษา SQLโดยทั่วไป
  • 6. ประเภทของคาสั่งของภาษา SQL ภาษา SQL เป็นภาษาที่ใช้งานได้ตั้งแต่ระดับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคลพีซีไปจนถึงระดับเมนเฟรม ประเภทของคาสั่งในภาษา SQL (The subdivision of sql) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1) ภาษาสาหรับการนิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) ประกอบด้วยคาสั่งที่ใช้ในการกาหนดโครงสร้างข้อมูลว่ามี คอลัมน์อะไร แต่ละคอลัมน์เก็บข้อมูลประเภทใด รวมถึงการเพิ่มคอลัมน์ การกาหนดดัชนี การกาหนดวิวหรือตารางเสมือนของผู้ใช้ เป็นต้น
  • 7. 2) ภาษาสาหรับการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML) ประกอบด้วยคาสั่งที่ใช้ในการเรียกใช้ ข้อมูล การเปลี่ยนแปลงข้อมูล การเพิ่มหรือลบข้อมูล เป็นต้น 3) ภาษาควบคุม (Data Control Language : DCL) : ประกอบด้วยคาสั่งที่ใช้ในการควบคุม การเกิดภาวะพร้อมกัน หรือ การป้องกันการเกิดเหตุการณ์ที่ผู้ใช้หลายคนเรียกใช้ข้อมูลพร้อมกัน และคาสั่งที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมความปลอดภัยของข้อมูลด้วยการ กาหนดสิทธิของผู้ใช้ที่แตกต่างกัน เป็นต้น
  • 8. ชนิดของข้อมูลที่ใช้ในภาษา SQL ในภาษา SQL การบรรจุข้อมูลลงในคอลัมน์ต่าง ๆ ของตาราง จะต้องกาหนดชนิดของข้อมูล (data type) ให้แต่ละคอลัมน์ ชนิดของ ข้อมูลนี้จะแสดงชนิดของค่าที่อยู่ในคอลัมน์ ค่าทุกค่าในคอลัมน์ที่กาหนด จะต้องเป็นชนิดเดียวกัน เช่น ในตารางลูกค้าคอลัมน์ที่เป็นรายชื่อลูกค้า จะต้องเป็นตัวหนังสือ ในขณะที่คอลัมน์จานวนเงินที่ลูกค้าซื้อสินค้าเป็น ตัวเลข ชนิดของข้อมูลของแต่ละคอลัมน์จะขึ้นกับลักษณะของข้อมูลแต่ละ คอลัมน์ ซึ่งแบ่งได้ดังนี้ชนิดข้อมูลพื้นฐานในภาษา SQL ดังนี้
  • 9. 2.1 ตัวหนังสือ(character) ในภาษา SQL จะใช้ – ตัวหนังสือแบบความยาวคงที่(fixed-length character) จะ ใช้char (n) หรือcharacter(n)แทนประเภทของข้อมูลที่เป็น ตัวหนังสือใดๆที่มีความยาวของข้อมูลคงที่โดยมีความยาว n ตัวหนังสือ ประเภทนี้จะมีการจองเนื้อที่ตามความยาวที่คงที่ตามที่กาหนดไว้ชนิด ของข้อมูลประเภทนี้จะเก็บความยาวของข้อมูลได้มากที่สุดได้255 ตัวอักษร
  • 10. – ตัวหนังสือแบบความยาวไม่คงที่(variable-length character) จะใช้ varchar (n) แทนประเภทของข้อมูลที่เป็น ตัวหนังสือใดๆที่มีความยาวของข้อมูลไม่คงที่ โดยมีความยาว n ตัวหนังสือประเภทนี้จะมีการจองเนื้อที่ตามความยาวของข้อมูล ชนิดของ ข้อมูลประเภทนี้จะเก็บความยาวของข้อมูลได้มากที่สุดได้ 4000 ตัวอักษร
  • 11. 2.2 จานวนเลข( numeric) – จานวนเลขที่มีจุดทศนิยม(decimal) ในภาษา SQL จะ ใช้dec(m,n) หรือ decimal(m,n) เป็นประเภทข้อมูลที่ เป็นจานวนเลขที่มีจุดทศนิยมโดย m คือจานวนตัวเลขทั้งหมด (รวม จุดทศนิยม) และ n คือจานวนตัวเลขหลังจุดทศนิยม
  • 12. – จานวนเลขที่ไม่มีจุดทศนิยมในภาษา SQL จะ ใช้int หรือ integer เป็นเลขจานวนเต็มบวกหรือลบขนาดใหญ่ เป็น ตัวเลข 10 หลัก ที่มีค่าตั้งแต่ –2,147,483,648 ถึง +2,147,483,647 และในภาษา SQL จะใช้ smallint เป็นประเภทข้อมูลที่เป็นเลขจานวนเต็มบวกหรือ ลบขนาดเล็ก เป็นตัวเลข 5 หลัก ที่มีค่าตั้งแต่ – 32,768 ถึง + 32,767 ตัวเลข จานวนเต็มประเภทนี้จะมีการจองเนื้อที่น้อยกว่าแบบ integer – เลขจานวนจริง ในภาษา SQL อาจใช้ number(n)แทนจานวนเลขที่ ไม่มีจุดทศนิยมและจานวนเลขที่มีจุดทศนิยม
  • 13. 2.3 ข้อมูลในลักษณะอื่นๆ – วันที่และเวลา(Date/Time) เป็นชนิดวันที่หรือเวลาในภาษา SQL จะใช้ date เป็นข้อมูลวันที่ ซึ่งจะมีหลายรูปแบบให้เลือกใช้ เช่น yyyy- mm-dd (1999-10-31) dd.mm.yyyy(31. 10.1999) หรือ dd/mm/yyyy (31/10/1999)
  • 14. ลักษณะการใช้งานของภาษา SQL ภาษา SQL เป็นส่วนประกอบหนึ่งของ DBMS มักพบใน DBMS เชิงสัมพันธ์หลายตัวและเป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ภาษา SQL ง่ายต่อการเรียนรู้ การใช้งานในภาษา SQLแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ ภาษา SQL ที่โต้ตอบได้(interactive SQL) และภาษา SQL ที่ฝังในโปรแกรม (embedded SQL)
  • 15. 3.1 ภาษา SQL ที่โต้ตอบได้ ใช้เพื่อปฏิบัติงานกับฐานข้อมูลโดยตรง เป็นการใช้คาสั่งภาษา SQLสั่งงานบนจอภาพ โดยเรียกดูข้อมูลได้ โดยตรงในขณะที่ทางาน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่นาไปใช้ได้ ตัวอย่างเช่น ต้องการเรียกดูข้อมูลในคอลัมน์ SALENAME และ SALECOM จากตาราง SALESTAB จะใช้คาสั่งของภาษา SQL ดังนี้ SELECT SALENAME, SALECOM FROM SALESTAB;
  • 16. 3.2 ภาษา SQL ที่ฝังในโปรแกรม เป็นภาษา SQL ที่ประกอบด้วย คาสั่งต่าง ๆ ของ ภาษา SQL ที่ใส่ไว้ในโปรแกรมที่ส่วนมากแล้วเขียน ด้วยภาษาอื่น เช่น โคบอล ปาสคาล ภาษาซี ลักษณะของคาสั่ง SQL จะ แตกต่างจากภาษาอื่นๆ ในแง่ที่ว่า SQL ไม่มีคาสั่งที่เกี่ยวกับการควบคุม (control statement)เหมือนภาษาอื่น เช่น if..then…else for…do หรือ loop หรือ while ทาให้มีข้อจากัดในการเขียน ชุดคาสั่งงาน การใช้ภาษา SQL ฝังในโปรแกรมอื่นจะทาให้ภาษา SQL มีความสามารถและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  • 17. ผลลัพธ์ของคาสั่งที่เกิดจากภาษา SQL ที่ฝังในโปรแกรมจะถูก ส่งผ่านไปให้กับตัวแปรหรือพารามิเตอร์ที่ใช้ โดยโปรแกรมที่ภาษา SQL ไปฝังตัวอยู่ เช่น while not end-of-file(input) do begin readin(id-num, salesperson,loc,comm); EXEC SQL INSERT INTO SALESTAB VALUES(:id-num,:salesperson,:loc,:comm); end;
  • 18. เพียงอย่างเดียว จะทาให้คาสั่งนี้ใส่ค่า id-num salesperson loc comm ใส่ค่าได้เพียงครั้งเดียว แต่เมื่อนาคาสั่งนี้มาใส่ไว้ใน ภาษาปาสคาลข้างต้นจะทาให้คาสั่งดังกล่าวมีความสามารถสูงขึ้นคือ คาสั่งนี้จะสามารถทางานซ้า(loop) โดยใส่ค่าต่างๆลงในตัวแปร เพื่อให้ทาซ้ากันหลายๆครั้ง โดยจากตัวอย่างส่วนของโปรแกรมภาษา ปาสคาลจะกาหนดลูปวนซึ่งจะอ่านค่าจากแฟ้มข้อมูลแล้วเก็บค่านั้นไว้ ในตัวแปร id-num, salesperson, loc, comm ของตาราง SALESTAB การอ่านค่าแล้วเก็บค่าไว้ในตัวแปรจะทาซ้า จนกระทั่งข้อมูลหมดจากแฟ้มข้อมูล
  • 19. ทั้งภาษา SQL ที่โต้ตอบได้และภาษา SQL ที่ฝังในโปรแกรมจะมี ลักษณะของคาสั่งที่ใช้งานเหมือนกัน จะต่างกันแต่เพียงภาษา SQL ที่ฝัง ในโปรแกรมจะมีวิธีการเชื่อมโยงกับภาษาอื่น ๆ ภาษาสาหรับนิยามข้อมูล คาสั่งในภาษา SQL (The subdivision of sql) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ – คาสั่งภาษาสาหรับการนิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) – คาสั่งภาษาสาหรับการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML) – คาสั่งภาษาควบคุม (Data Control Language : DCL)
  • 20. ผู้จัดทา นางสาวธัรสมร ทองคา ม.5/3 เลขที่ 22 นางสาวศิรดา นิลบุตร ม.5/3 เลขที่ 30 นางสาวกรรรณิการ์ บุญเยี่ยม ม.5/3 เลขที่ 33 นางสาวณัชชา บัวงาม ม.5/3 เลขที่ 34 นางสาวสุวดี ป้อมสันเทียะ ม.5/3 เลขที่ 35 นางสาวอาภาศิริ เชาว์รักษา ม.5/3 เลขที่ 36