SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
เรื่อง
ประเภทของไวรัส
ประเภทของไวรัสที่ตรวจพบบ่อยๆมีทั้งหมด 5 ประเภท
ดังนี้
ประเภทของไวรัส
Boot Sector Viruses หรือ Boot Infector
Viruses คือไวรัสที่เก็บตัวเองอยู่ในบูตเซกเตอร์ ของดิสก์การ
ใช้งานของ
1.บูตเซกเตอร์
ไวรัส
บูตเซกเตอร์ คือเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เริ่มทางานขึ้นมาตอน
แรก เครื่อง จะเข้าไปอ่าน บูตเซกเตอร์ โดยในบูตเซกเตอร์จะมี
โปรแกรมเล็ก ๆ ไว้ใช้ในการเรียกระบบ ปฏิบัติติการขึ้นมา
ทางานอีกทีหนึ่ง บูตเซกเตอร์ไวรัสจะเข้าไปแทนที่โปรแกรม
ดังกล่าว
2.โปรแกรมไวรัส
Program Viruses หรือ File Intector
Viruses เป็นไวรัสอีกประเภทหนึ่งที่จะติดอยู่กับโปรแกรม
ซึ่งปกติก็คือ ไฟล์ที่มีนามสกุลเป็น COM หรือ EXE และ
บางไวรัสสามารถเข้า ไปติดอยู่ในโปรแกรมที่มีนามสกุลเป็น
sys และโปรแกรมประเภท Overlay Programsได้
ด้วย โปรแกรมโอเวอร์เลย์ปกติจะเป็นไฟล์ที่มีนามสกุลที่ขึ้นต้น
ด้วย OV วิธีการที่ไวรัสใช้เพื่อที่จะ เข้าไปติดโปรแกรมมีอยู่สอง
วิธี
คือ การแทรกตัวเองเข้าไปอยู่ในโปรแกรมผลก็คือหลังจากที่
โปรแกรมนั้นติดไวรัสไปแล้ว ขนาดของโปรแกรมจะใหญ่ขึ้น
หรืออาจมีการสาเนาตัวเองเข้าไปทับส่วนของโปรแกรมที่มีอยู่
เดิมดังนั้นขนาดของโปรแกรมจะไม่เปลี่ยนและยากที่ จะซ่อม
ให้กลับเป็นดังเดิม
ม้าโทรจัน (Trojan Horse) เป็นโปรแกรมที่
ถูกเขียนขึ้นมาให้ทาตัวเหมือนว่าเป็น โปรแกรมธรรมดาทั่ว
ๆ ไป เพื่อหลอกล่อผู้ใช้ให้ทาการเรียกขึ้นมาทางาน
แต่เมื่อ ถูกเรียกขึ้นมาแล้ว ก็จะเริ่มทาลายตามที่โปรแกรม
มาทันที ม้าโทรจันบางตัวถูกเขียนขึ้นมาใหม่ทั้ง ชุด โดยคน
เขียนจะทาการตั้งชื่อโปรแกรมพร้อมชื่อรุ่นและคาอธิบาย
การใช้งานที่ดูสมจริง เพื่อหลอกให้คนที่จะเรียกใช้ตายใจ
3.ม้าโทรจัน
4.โพลีมอร์ฟิกไวรัส
โพลีมอร์ฟิกไวรัส Polymorphic Viruses เป็น
ชื่อที่ใช้ในการเรียกไวรัสที่มีความสามารถในการแปรเปลี่ยน
ตัวเอง ได้เมื่อมีสร้างสาเนาตัวเองเกิดขึ้น ซึ่งอาจได้ถึงหลายร้อย
รูปแบบ ผลก็คือ ทาให้ไวรัสเหล่านี้ยากต่อการถูกตรวจจับ โดย
โปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใช้วิธีการสแกนอย่างเดียว ไวรัสใหม่ ๆ
ในปัจจุบันที่มีความสามารถนี้เริ่มมีจานวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
สทีลต์ไวรัส Stealth Viruses เป็นชื่อเรียกไวรัสที่
มีความสามารถในการพรางตัวต่อการตรวจจับได้ เช่น ไฟล์อินเฟก
เตอร์ ไวรัสประเภทที่ไปติดโปรแกรมใดแล้วจะทาให้ขนาดของ
โปรแกรมนั้นใหญ่ขึ้น ถ้าโปรแกรมไวรัสนั้นเป็นแบบสทีลต์ไวรัส จะ
ไม่สามารถตรวจดูขนาดที่แท้จริง ของโปรแกรมที่เพิ่มขึ้นได้
5. สทีลต์ไวรัส
เนื่องจากตัว ไวรัสจะเข้าไปควบคุมดอส เมื่อมีการใช้คาสั่ง
DIR หรือโปรแกรมใดก็ตามเพื่อตรวจดูขนาดของโปรแกรม
ดอสก็จะแสดงขนาดเหมือนเดิม ทุกอย่างราวกับว่าไม่มีอะไร
เกิดขึ้นสามารถสังเกตการณ์ อาการทางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ได้แก่
-ใช้เวลานานผิดปกติในการเรียกโปรแกรมขึ้นมาทางาน
-ขนาดของโปรแกรมใหญ่ขึ้น
-วันเวลาของโปรแกรมเปลี่ยนไป

More Related Content

What's hot

Microsoft security essentials
Microsoft security essentialsMicrosoft security essentials
Microsoft security essentialsthepvista
 
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์Amporn Patin
 
เทอม 2 คาบ 9โปรแกรมไม่พึงประสงค์
เทอม 2 คาบ 9โปรแกรมไม่พึงประสงค์เทอม 2 คาบ 9โปรแกรมไม่พึงประสงค์
เทอม 2 คาบ 9โปรแกรมไม่พึงประสงค์Mrpopovic Popovic
 
สื่อการสอน เรื่อง ไวรัสและการเลือกใช้ซอฟต์แวร์
สื่อการสอน เรื่อง ไวรัสและการเลือกใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอน เรื่อง ไวรัสและการเลือกใช้ซอฟต์แวร์
สื่อการสอน เรื่อง ไวรัสและการเลือกใช้ซอฟต์แวร์Khunakon Thanatee
 
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์rungtip boontiengtam
 
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ Khunakon Thanatee
 
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O netข้อสอบ O net
ข้อสอบ O netJuthakan
 
software
softwaresoftware
softwarejzturbo
 
ระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxssuseraa96d2
 
ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์Pongpan Pairojana
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นkvcthidarat
 

What's hot (20)

Microsoft security essentials
Microsoft security essentialsMicrosoft security essentials
Microsoft security essentials
 
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
 
เทอม 2 คาบ 9โปรแกรมไม่พึงประสงค์
เทอม 2 คาบ 9โปรแกรมไม่พึงประสงค์เทอม 2 คาบ 9โปรแกรมไม่พึงประสงค์
เทอม 2 คาบ 9โปรแกรมไม่พึงประสงค์
 
Virus Computer
Virus ComputerVirus Computer
Virus Computer
 
สื่อการสอน เรื่อง ไวรัสและการเลือกใช้ซอฟต์แวร์
สื่อการสอน เรื่อง ไวรัสและการเลือกใช้ซอฟต์แวร์สื่อการสอน เรื่อง ไวรัสและการเลือกใช้ซอฟต์แวร์
สื่อการสอน เรื่อง ไวรัสและการเลือกใช้ซอฟต์แวร์
 
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
 
ม.4 software
ม.4 softwareม.4 software
ม.4 software
 
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
 
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O netข้อสอบ O net
ข้อสอบ O net
 
software
softwaresoftware
software
 
ระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linux
 
O-net work4 35
O-net work4  35O-net work4  35
O-net work4 35
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ข้อสอบคอมพิวเตอร์
ข้อสอบคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Onet
OnetOnet
Onet
 
onet-work4-50
onet-work4-50onet-work4-50
onet-work4-50
 
Onet-Work4-14
Onet-Work4-14Onet-Work4-14
Onet-Work4-14
 
Login
LoginLogin
Login
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
หนอนคอมพิ..
หนอนคอมพิ..หนอนคอมพิ..
หนอนคอมพิ..
 

Similar to ประเภทไวรัสคอมพิวเตอร์

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์Teng44
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์phataravarin89
 
slidevirus
slidevirusslidevirus
slidevirusZull QR
 
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2พ่อ อาชีวะ
 
บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1dechathon
 
นาวสาวชลดา ฟับประโคน ชคพ2/2 เลขที่2
นาวสาวชลดา ฟับประโคน ชคพ2/2 เลขที่2นาวสาวชลดา ฟับประโคน ชคพ2/2 เลขที่2
นาวสาวชลดา ฟับประโคน ชคพ2/2 เลขที่2atommove
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์Pim Siriwimon
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3ninjung
 
บทที่ 32
บทที่ 32บทที่ 32
บทที่ 32katuckkt
 
บทที่ 32
บทที่ 32บทที่ 32
บทที่ 32galswen
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3Jaohjaaee
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Tata Sisira
 
บทที่ 32
บทที่ 32บทที่ 32
บทที่ 32Min Jidapa
 

Similar to ประเภทไวรัสคอมพิวเตอร์ (20)

Virus
VirusVirus
Virus
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์
 
slidevirus
slidevirusslidevirus
slidevirus
 
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2
 
ไวรัส คอมพิวเตอร์
ไวรัส คอมพิวเตอร์ไวรัส คอมพิวเตอร์
ไวรัส คอมพิวเตอร์
 
บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1
 
นาวสาวชลดา ฟับประโคน ชคพ2/2 เลขที่2
นาวสาวชลดา ฟับประโคน ชคพ2/2 เลขที่2นาวสาวชลดา ฟับประโคน ชคพ2/2 เลขที่2
นาวสาวชลดา ฟับประโคน ชคพ2/2 เลขที่2
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์
 
Virus New
Virus NewVirus New
Virus New
 
Act1 m2-software
Act1 m2-softwareAct1 m2-software
Act1 m2-software
 
ไวรัส
ไวรัสไวรัส
ไวรัส
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 32
บทที่ 32บทที่ 32
บทที่ 32
 
บทที่ 32
บทที่ 32บทที่ 32
บทที่ 32
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 32
บทที่ 32บทที่ 32
บทที่ 32
 
Application Software
Application SoftwareApplication Software
Application Software
 

ประเภทไวรัสคอมพิวเตอร์