SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
บทที่ ๓
ทักษะที่จำำเป็นในกำรทำำโครงงำน
กำรทำำโครงงำนหรือกำรทำำวิจัยอย่ำงง่ำย นักเรียนจำำเป็นต้องมี
ทักษะสำำคัญๆ หลำยประกำร ซึ่งทักษะบำงอย่ำงนักเรียนได้เคย
เรียนรู้มำแล้วในห้องเรียน แต่จะได้กล่ำวอย่ำงสรุปอีกครั้งเพื่อทบทวน
ควำมจำำก่อนที่นักเรียนแกนนำำจะลงมือทำำโครงงำนสุขภำพ
ทักษะที่จำำเป็นในกำรทำำโครงงำนอำจแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่ม
ได้แก่
๑. ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ขั้นพื้นฐำน มี ๘ ทักษะ
ได้แก่ กำรสังเกต กำรลงควำมเห็นจำกข้อมูล กำรจำำแนกประเภท
กำรวัด กำรใช้ตัวเลข กำรพยำกรณ์ กำรหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำง
สเปสกับสเปส และ สเปสกับเวลำ กำรจัดกระทำำและสื่อควำมหมำย
ข้อมูล
นักเรียนได้เคยเรียนรู้ทักษะเหล่ำนี้มำแล้วในกำรเรียนวิชำ
วิทยำศำสตร์
๒. ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ขั้นสูง มี ๕ ทักษะ ได้แก่
กำรกำำหนดและควบคุมตัวแปร กำรตั้งสมมุติฐำน กำรกำำหนดนิยำม
เชิงปฏิบัติกำร กำรทดลอง กำรตีควำมหมำยข้อมูลและกำรลงข้อสรุป
ทักษะทั้ง ๕ นี้เป็นเรื่องใหม่ และมีควำมสำำคัญในกำรทำำวิจัย
นักเรียนจำำเป็นต้องทำำควำมเข้ำใจให้ชัดเจนเสียก่อน
ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ขั้นพื้นฐำน ๘ ทักษะ
ได้แก่
1. กำรสังเกต
เป็นกำรใช้ประสำทสัมผัสทั้ง ๕ คือ ตำ หู จมูก ผิวกำย และลิ้น
หรือ อย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ในกำรสำำรวจวัตถุหรือปรำกฏกำรณ์
ต่ำงๆหรือจำกกำรทดลอง เพื่อค้นหำรำยละเอียดต่ำงๆของข้อมูล
ข้อมูลจำกกำรสังเกตแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ
• ข้อมูลเชิงคุณภำพ เป็นข้อมูลจำกกำรสังเกตคุณลักษณะ
ของสิ่งต่ำงๆ เช่น สี รูปร่ำง รส กลิ่น ลักษณะ สถำนะ
เป็นต้น
• ข้อมูลเชิงปริมำณ เป็นข้อมูลที่ได้จำกกำรสังเกต ขนำด
ควำมยำว ควำมสูง นำ้ำหนัก ปริมำตร อุณหภูมิ ของสิ่ง
ต่ำงๆ
File : บทที่ ๓ ทักษะที่จำำเป็นในกำรทำำโครงงำน
9
2. กำรลงควำมเห็นจำกข้อมูล
เป็นกำรอธิบำยเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลหรือข้อมูลที่ได้จำกกำร
สังเกตอย่ำงมีเหตุผล โดยใช้ควำมรู้หรือประสบกำรณ์มำ
อธิบำยด้วยควำมเห็นส่วนตัวต่อข้อมูลนั้นๆ
สิ่งที่สังเกตได้ ประเภทของ
ข้อมูล
กำรลงควำมเห็น
จำกข้อมูล
คำำอธิบำย
อำต๋อย สูง
ประมำณ ๑๘๕
ซ.ม.
ปริมำณ อำต๋อยสูงกว่ำ
ชำยไทยโดย
ทั่วไป
ใช้ควำมรู้เรื่อง
ค่ำเฉลี่ยควำมสูง
ของชำยไทยใน
กำรลงควำมเห็น
จำกข้อมูล
เสื้อสีเหลืองตัวนี้
มีเนื้อนิ่ม
คุณภำพ เสื้อเนื้อนิ่มใส่แล้ว
สบำยตัว
ใช้ประสบกำรณ์
ในกำรลงควำม
เห็นจำกข้อมูล
3. กำรจำำแนกประเภท
เป็นกำรแบ่งพวก จัดจำำแนก เรียงลำำดับ วัตถุ หรือปรำกฏกำรณ์
ต่ำงๆ ที่ต้องกำรศึกษำออกเป็นหมวดหมู่ เป็นระบบ ทำำให้สะดวก
รวดเร็ว และง่ำยต่อกำรศึกษำค้นคว้ำ โดยกำรหำลักษณะหรือ
คุณสมบัติร่วมบำงประกำร หรือ หำเกณฑ์ควำมเหมือน ควำมต่ำง
ควำมสัมพันธ์ อย่ำงใดอย่ำงหนึ่งเป็นเกณฑ์ในกำรแบ่ง
ตัวอย่ำงกำรจำำแนก “ ”สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
พืช สัตว์
พืชมีดอก พืชไม่มีดอก สัตว์ป่ำ
สัตว์เลี้ยง
File : บทที่ ๓ ทักษะที่จำำเป็นในกำรทำำโครงงำน
10
พืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชใบเลี้ยงคู่ สัตว์บก สัตว์นำ้ำ
สัตว์ที่เลี้ยง สัตว์ที่เลี้ยง
ไว้ใช้งำน
ไว้เป็นอำหำร
4. กำรวัด
เป็นควำมสำมำรถในกำรเลือกใช้เครื่องมือได้อย่ำงถูกต้องใน
กำรวัดสิ่งต่ำงๆ ที่ต้องกำรศึกษำ
เช่น ควำมกว้ำง ควำมสูง ควำมหนำ นำ้ำหนัก ปริมำตร เวลำ และ
อุณหภูมิ โดยวัดออกมำเป็นตัวเลขได้ถูกต้อง รวดเร็ว มีหน่วยกำำกับ
และ สำมำรถอ่ำนค่ำที่ใช้วัดได้ถูกต้องใกล้เคียงควำมเป็นจริงมำกที่สุด
หน่วยที่ใช้ในกำรวัด สัญลักษณ์ / ตัวย่อ
ระบบเมตริก ระบบเอสไอ ระบบเมตริก ระบบเอสไอ
มวล กรัม กิโลกรัม g Kg
เวลำ วินำที วินำที S s
ควำมยำว เซนติเมตร เมตร cm m
ปริมำตร ลูกบำศก์
เซนติเมตร
ลูกบำศก์
เมตร
cm3
m3
อุณหภูมิ เซลเซียส เคลวิน
°c
K
5. กำรใช้ตัวเลข
กำรใช้ตัวเลขหรือกำรคำำนวณ เป็นกำรนับจำำนวนของวัตถุ และ
นำำค่ำตัวเลขที่ได้จำกกำรวัดและ
กำรนับมำจัดกระทำำให้เกิดค่ำใหม่ โดยกำรนำำมำ บวก ลบ คูณ หำร
เช่น กำรหำพื้นที่ กำรหำปริมำตร เป็นต้น
6. กำรพยำกรณ์
เป็นควำมสำมำรถในกำรทำำนำย คำดคะเนคำำตอบโดยใช้ข้อมูล
ที่ได้จำกกำรสังเกตประสบกำรณ์
ที่เกิดซำ้ำบ่อยๆ หลักกำร ทฤษฎี หรือ กฎเกณฑ์ต่ำงๆมำช่วยสรุปหำคำำ
ตอบเรื่องนั้นๆ
File : บทที่ ๓ ทักษะที่จำำเป็นในกำรทำำโครงงำน
11
กำรพยำกรณ์จะแม่นยำำมำกน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับผลที่ได้จำก
กำรสังเกตที่รอบคอบ กำรวัดที่แม่นยำำ กำรบันทึกที่เป็นจริง และ กำร
จัดกระทำำข้อมูลที่เหมำะสม
7. กำรหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสเปสกับสเปส และ สเป
สกับเวลำ
สเปส (Space) หมำยถึง ที่ว่ำงในรูปทรงของวัตถุ มี ๓ มิติ
คือ ควำมกว้ำง ควำมยำว และ
ควำมสูง (หนำ ลึก)
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสเปสกับสเปสของวัตถุ หมำยถึง
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงวัตถุ ๒ มิติ กับ วัตถุ ๓ มิติ และ ควำมสัมพันธ์
ระหว่ำงตำำแหน่งที่อยู่ของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่ง คือกำรบ่งชี้รูป ๒
มิติ รูป ๓ มิติ ได้ หรือสำมำรถวำดภำพ ๒ มิติ จำกวัตถุหรือภำพ ๓
มิติได้ เป็นต้น
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสเปสกับเวลำ หมำยถึง ควำม
สัมพันธ์ระหว่ำงสเปสของวัตถุที่เปลี่ยนไปกับเวลำ หรือกำรเปลี่ยน
ตำำแหน่งที่อยู่ของวัตถุกับเวลำ นั่นคือกำรบอกทิศทำงหรือตำำแหน่ง
ของวัตถุเมื่อเทียบกับตัวเองหรือสิ่งอื่นๆ
8. กำรจัดกระทำำและสื่อควำมหมำยข้อมูล
กำรจัดกระทำำ คือ กำรนำำข้อมูลดิบมำจัดลำำดับ จัดจำำพวก
หำควำมถี่ หำควำมสัมพันธ์ หรือ
คำำนวณใหม่
กำรสื่อควำมหมำยข้อมูล เป็นกำรใช้วิธีต่ำงๆ เพื่อแสดง
ข้อมูลให้ผู้อื่นเข้ำใจ เช่น กำรบรรยำย ใช้แผนภูมิ แผนภำพ วงจร
กรำฟ ตำรำง สมกำร ไดอะแกรม เป็นต้น
ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ขั้นสูง ๕ ทักษะ ได้แก่
1. กำรกำำหนดและควบคุมตัวแปร
ตัวแปร หมำยถึง สิ่งที่แตกต่ำง หรือ เปลี่ยนแปลงไปจำกเดิม
เมื่ออยู่ในสถำนกำรณ์ต่ำงๆ กัน ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับกำรทดลอง
ทำงวิทยำศำสตร์มีอยู่ ๓ ประเภท ได้แก่
ตัวแปรต้น (ตัวแปรอิสระ , ตัวแปรเหตุ) เป็นตัวแปรเหตุที่ทำำให้
เกิดผลต่ำงๆ หรือ ตัวแปรที่เรำต้องกำรศึกษำ หรือ ทดลองดูว่ำเป็น
สำเหตุที่ทำำให้เกิดผลตำมที่เรำสังเกตใช่หรือไม่
File : บทที่ ๓ ทักษะที่จำำเป็นในกำรทำำโครงงำน
12
ตัวแปรตาม (ตัวแปรไม่อิสระ , ตัวแปรผล) เป็นตัวแปรที่เกิดมา
จากตัวแปรเหตุ เมื่อตัวแปรเหตุเปลี่ยนแปลง ตัวแปรตามก็จะ
เปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
ตัวแปรควบคุม เป็นตัวแปรอื่นๆมากมาย (นอกจากตัวแปร
เหตุ) ที่อาจส่งผลต่อการทดลอง ทำาให้ผลการทดลองคลาดเคลื่อน
ไป เราจึงจำาเป็นต้องทำาการควบคุมให้เหมือนๆ กันเสียก่อน
2. การตั้งสมมติฐาน
เป็นการคาดคะเนคำาตอบของปัญหาอย่างมีเหตุผล หรือ การบ่ง
บอกความสัมพันธ์ของตัวแปร
อย่างน้อย ๒ ตัว ก่อนที่จะทำาการทดลองจริง โดยอาศัยทักษะการ
สังเกต ประสบการณ์ ความรู้เดิม เป็นพื้นฐาน
ลักษณะของสมมติฐาน :
• อาจถูกหรือผิดก็ได้
• สมมติฐานที่ดีจะเป็นคำาตอบที่คิดไว้ล่วงหน้า
• เป็นข้อความบ่งบอกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ต้นกับตัวแปรตาม
• อาจมีมากกว่า ๑ สมมติฐานก็ได้
• ใช้เป็นแนวทางการออกแบบการทดลอง
• การพิสูจน์สมมติฐานว่าถูกหรือผิด (อาจใช้คำาว่า
ยอมรับ หรือ ไม่ยอมรับสมมติฐานนั้นๆ)
ตัวอย่างการตั้งสมมติฐาน
• กลิ่นใบตะไคร้กำาจัดแมลงสาบได้ดีกว่ากลิ่นใบมะกรูด
• การลดนำ้าหนักด้วยวิธีควบคุมอาหารร่วมกับการออกกำาลัง
กายช่วยลดนำ้าหนักได้ดีกว่าการควบคุมอาหารอย่างเดียว
3. การกำาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ
นิยามเชิงปฏิบัติการ หมายถึง ความหมายของคำาหรือข้อความที่
ใช้ในการทดลองที่สามารถสังเกต ตรวจสอบ หรือ ทำาการวัดได้ ซึ่ง
จำาเป็นต้องกำาหนดเพื่อความเข้าใจที่ตรงกันเสียก่อนทำาการทดลอง
นิยามเชิงปฏิบัติการ จะแตกต่างจากคำานิยามทั่วๆ ไป คือ “ต้อง
สามารถวัด หรือ ”ตรวจสอบได้ ซึ่งมักจะเป็นคำานิยามของตัวแปร
นั่นเอง
ตัวอย่างนิยามเชิงปฏิบัติการ
File : บทที่ ๓ ทักษะที่จำาเป็นในการทำาโครงงาน
13
นิยามเชิงปฏิบัติการ คำาอธิบาย
การเจริญเติบโตของพืช
หมายถึง การที่พืชสูงขึ้น ลำาต้น
ใหญ่ขึ้น และมีจำานวนใบมากขึ้น
- การเจริญเติบโตของพืช คือ
ตัวแปรที่เราต้องการศึกษา
- ความสูง ความใหญ่ จำานวนใบ
เป็นสิ่งที่เราสามารถวัดได้
การแปรงฟันหลังอาหาร
กลางวัน หมายถึง การที่
นักเรียนแปรงฟันด้วยวิธีที่ถูกต้อง
เป็นเวลาอย่างน้อย ๓ นาที หลัง
จากรับประทานอาหารกลางวัน ที่
โรงเรียน
- การแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
คือ ตัวแปร ที่เราต้องการศึกษา
- วิธีที่ถูกต้อง เวลา ๓ นาที หลัง
รับประทานอาหารกลางวันที่
โรงเรียน เป็นสิ่งที่เราสามารถ
สังเกต ตรวจสอบ วัด ได้
4. การทดลอง
เป็นกระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคำาตอบจากสมมุติฐานที่ตั้งไว้
ในการทดลอง ประกอบด้วย
ขั้นตอนต่างๆ ๓ ขั้นตอน ดังนี้
๑) การออกแบบการทดลอง คือ การวางแผนการ
ทดลองก่อนลงมือปฏิบัติจริง โดยกำาหนดว่าจะใช้วัสดุอุปกรณ์อะไร
บ้าง จะทำาอย่างไร ทำาเมื่อไร มีขั้นตอนอะไร
2) การปฏิบัติการทดลอง คือ การลงมือปฏิบัติตามที่
ออกแบบไว้
3) การบันทึกผลการทดลอง คือ การจดบันทึกข้อมูล
ต่างๆ ที่ได้จากการทดลอง
ซึ่งใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ๘ ทักษะที่กล่าว
ไปแล้ว
5. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป
การตีความหมายข้อมูล คือ การแปลความหมาย หรือ การ
บรรยายผลของการศึกษาเพื่อให้
คนอื่นเข้าใจว่า ผลการศึกษาเป็นอย่างไร เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้ง
ไว้หรือไม่
การลงข้อสรุป เป็นการสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลทั้งหมด
เช่น การอธิบายความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปรบนกราฟ การอธิบายความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เป็นผล
ของการศึกษา
File : บทที่ ๓ ทักษะที่จำาเป็นในการทำาโครงงาน
14
การฝึกทักษะที่จำาเป็นการทำาโครงงานทุกขั้นตอนอย่างเป็นระบบ
จะทำาให้นักเรียนได้โครงงานและได้ผลสำาเร็จของโครงงานที่มี
ประสิทธิภาพและเชื่อถือได้
@@@@@@@@@@@@@@@@
File : บทที่ ๓ ทักษะที่จำาเป็นในการทำาโครงงาน
15

More Related Content

Similar to 3

5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
Rank Saharath
 
โครงงานคอมพิวเตอร์444
โครงงานคอมพิวเตอร์444โครงงานคอมพิวเตอร์444
โครงงานคอมพิวเตอร์444
Pattanachai Jai
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Srp Icecream
 
ใบงานท 3 เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน (2)
ใบงานท   3 เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน (2)ใบงานท   3 เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน (2)
ใบงานท 3 เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน (2)
Milk MK
 
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
heemaa
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
noeypornnutcha
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
krupornpana55
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
krutew Sudarat
 

Similar to 3 (20)

ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8
 
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
โครงงานคอมพิวเตอร์444
โครงงานคอมพิวเตอร์444โครงงานคอมพิวเตอร์444
โครงงานคอมพิวเตอร์444
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
ใบงานท 3 เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน (2)
ใบงานท   3 เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน (2)ใบงานท   3 เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน (2)
ใบงานท 3 เร__อง ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน (2)
 
สมุดบันทึกล่าสุด
สมุดบันทึกล่าสุดสมุดบันทึกล่าสุด
สมุดบันทึกล่าสุด
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
Metacognition
MetacognitionMetacognition
Metacognition
 
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
Chapter1 uml3
Chapter1 uml3Chapter1 uml3
Chapter1 uml3
 
Chapter1 uml3
Chapter1 uml3Chapter1 uml3
Chapter1 uml3
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
 
9789740332961
97897403329619789740332961
9789740332961
 

3

  • 1. บทที่ ๓ ทักษะที่จำำเป็นในกำรทำำโครงงำน กำรทำำโครงงำนหรือกำรทำำวิจัยอย่ำงง่ำย นักเรียนจำำเป็นต้องมี ทักษะสำำคัญๆ หลำยประกำร ซึ่งทักษะบำงอย่ำงนักเรียนได้เคย เรียนรู้มำแล้วในห้องเรียน แต่จะได้กล่ำวอย่ำงสรุปอีกครั้งเพื่อทบทวน ควำมจำำก่อนที่นักเรียนแกนนำำจะลงมือทำำโครงงำนสุขภำพ ทักษะที่จำำเป็นในกำรทำำโครงงำนอำจแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่ม ได้แก่ ๑. ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ขั้นพื้นฐำน มี ๘ ทักษะ ได้แก่ กำรสังเกต กำรลงควำมเห็นจำกข้อมูล กำรจำำแนกประเภท กำรวัด กำรใช้ตัวเลข กำรพยำกรณ์ กำรหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำง สเปสกับสเปส และ สเปสกับเวลำ กำรจัดกระทำำและสื่อควำมหมำย ข้อมูล นักเรียนได้เคยเรียนรู้ทักษะเหล่ำนี้มำแล้วในกำรเรียนวิชำ วิทยำศำสตร์ ๒. ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ขั้นสูง มี ๕ ทักษะ ได้แก่ กำรกำำหนดและควบคุมตัวแปร กำรตั้งสมมุติฐำน กำรกำำหนดนิยำม เชิงปฏิบัติกำร กำรทดลอง กำรตีควำมหมำยข้อมูลและกำรลงข้อสรุป ทักษะทั้ง ๕ นี้เป็นเรื่องใหม่ และมีควำมสำำคัญในกำรทำำวิจัย นักเรียนจำำเป็นต้องทำำควำมเข้ำใจให้ชัดเจนเสียก่อน ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ขั้นพื้นฐำน ๘ ทักษะ ได้แก่ 1. กำรสังเกต เป็นกำรใช้ประสำทสัมผัสทั้ง ๕ คือ ตำ หู จมูก ผิวกำย และลิ้น หรือ อย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ในกำรสำำรวจวัตถุหรือปรำกฏกำรณ์ ต่ำงๆหรือจำกกำรทดลอง เพื่อค้นหำรำยละเอียดต่ำงๆของข้อมูล ข้อมูลจำกกำรสังเกตแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ • ข้อมูลเชิงคุณภำพ เป็นข้อมูลจำกกำรสังเกตคุณลักษณะ ของสิ่งต่ำงๆ เช่น สี รูปร่ำง รส กลิ่น ลักษณะ สถำนะ เป็นต้น • ข้อมูลเชิงปริมำณ เป็นข้อมูลที่ได้จำกกำรสังเกต ขนำด ควำมยำว ควำมสูง นำ้ำหนัก ปริมำตร อุณหภูมิ ของสิ่ง ต่ำงๆ File : บทที่ ๓ ทักษะที่จำำเป็นในกำรทำำโครงงำน 9
  • 2. 2. กำรลงควำมเห็นจำกข้อมูล เป็นกำรอธิบำยเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลหรือข้อมูลที่ได้จำกกำร สังเกตอย่ำงมีเหตุผล โดยใช้ควำมรู้หรือประสบกำรณ์มำ อธิบำยด้วยควำมเห็นส่วนตัวต่อข้อมูลนั้นๆ สิ่งที่สังเกตได้ ประเภทของ ข้อมูล กำรลงควำมเห็น จำกข้อมูล คำำอธิบำย อำต๋อย สูง ประมำณ ๑๘๕ ซ.ม. ปริมำณ อำต๋อยสูงกว่ำ ชำยไทยโดย ทั่วไป ใช้ควำมรู้เรื่อง ค่ำเฉลี่ยควำมสูง ของชำยไทยใน กำรลงควำมเห็น จำกข้อมูล เสื้อสีเหลืองตัวนี้ มีเนื้อนิ่ม คุณภำพ เสื้อเนื้อนิ่มใส่แล้ว สบำยตัว ใช้ประสบกำรณ์ ในกำรลงควำม เห็นจำกข้อมูล 3. กำรจำำแนกประเภท เป็นกำรแบ่งพวก จัดจำำแนก เรียงลำำดับ วัตถุ หรือปรำกฏกำรณ์ ต่ำงๆ ที่ต้องกำรศึกษำออกเป็นหมวดหมู่ เป็นระบบ ทำำให้สะดวก รวดเร็ว และง่ำยต่อกำรศึกษำค้นคว้ำ โดยกำรหำลักษณะหรือ คุณสมบัติร่วมบำงประกำร หรือ หำเกณฑ์ควำมเหมือน ควำมต่ำง ควำมสัมพันธ์ อย่ำงใดอย่ำงหนึ่งเป็นเกณฑ์ในกำรแบ่ง ตัวอย่ำงกำรจำำแนก “ ”สิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต พืช สัตว์ พืชมีดอก พืชไม่มีดอก สัตว์ป่ำ สัตว์เลี้ยง File : บทที่ ๓ ทักษะที่จำำเป็นในกำรทำำโครงงำน 10
  • 3. พืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชใบเลี้ยงคู่ สัตว์บก สัตว์นำ้ำ สัตว์ที่เลี้ยง สัตว์ที่เลี้ยง ไว้ใช้งำน ไว้เป็นอำหำร 4. กำรวัด เป็นควำมสำมำรถในกำรเลือกใช้เครื่องมือได้อย่ำงถูกต้องใน กำรวัดสิ่งต่ำงๆ ที่ต้องกำรศึกษำ เช่น ควำมกว้ำง ควำมสูง ควำมหนำ นำ้ำหนัก ปริมำตร เวลำ และ อุณหภูมิ โดยวัดออกมำเป็นตัวเลขได้ถูกต้อง รวดเร็ว มีหน่วยกำำกับ และ สำมำรถอ่ำนค่ำที่ใช้วัดได้ถูกต้องใกล้เคียงควำมเป็นจริงมำกที่สุด หน่วยที่ใช้ในกำรวัด สัญลักษณ์ / ตัวย่อ ระบบเมตริก ระบบเอสไอ ระบบเมตริก ระบบเอสไอ มวล กรัม กิโลกรัม g Kg เวลำ วินำที วินำที S s ควำมยำว เซนติเมตร เมตร cm m ปริมำตร ลูกบำศก์ เซนติเมตร ลูกบำศก์ เมตร cm3 m3 อุณหภูมิ เซลเซียส เคลวิน °c K 5. กำรใช้ตัวเลข กำรใช้ตัวเลขหรือกำรคำำนวณ เป็นกำรนับจำำนวนของวัตถุ และ นำำค่ำตัวเลขที่ได้จำกกำรวัดและ กำรนับมำจัดกระทำำให้เกิดค่ำใหม่ โดยกำรนำำมำ บวก ลบ คูณ หำร เช่น กำรหำพื้นที่ กำรหำปริมำตร เป็นต้น 6. กำรพยำกรณ์ เป็นควำมสำมำรถในกำรทำำนำย คำดคะเนคำำตอบโดยใช้ข้อมูล ที่ได้จำกกำรสังเกตประสบกำรณ์ ที่เกิดซำ้ำบ่อยๆ หลักกำร ทฤษฎี หรือ กฎเกณฑ์ต่ำงๆมำช่วยสรุปหำคำำ ตอบเรื่องนั้นๆ File : บทที่ ๓ ทักษะที่จำำเป็นในกำรทำำโครงงำน 11
  • 4. กำรพยำกรณ์จะแม่นยำำมำกน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับผลที่ได้จำก กำรสังเกตที่รอบคอบ กำรวัดที่แม่นยำำ กำรบันทึกที่เป็นจริง และ กำร จัดกระทำำข้อมูลที่เหมำะสม 7. กำรหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสเปสกับสเปส และ สเป สกับเวลำ สเปส (Space) หมำยถึง ที่ว่ำงในรูปทรงของวัตถุ มี ๓ มิติ คือ ควำมกว้ำง ควำมยำว และ ควำมสูง (หนำ ลึก) ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสเปสกับสเปสของวัตถุ หมำยถึง ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงวัตถุ ๒ มิติ กับ วัตถุ ๓ มิติ และ ควำมสัมพันธ์ ระหว่ำงตำำแหน่งที่อยู่ของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่ง คือกำรบ่งชี้รูป ๒ มิติ รูป ๓ มิติ ได้ หรือสำมำรถวำดภำพ ๒ มิติ จำกวัตถุหรือภำพ ๓ มิติได้ เป็นต้น ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสเปสกับเวลำ หมำยถึง ควำม สัมพันธ์ระหว่ำงสเปสของวัตถุที่เปลี่ยนไปกับเวลำ หรือกำรเปลี่ยน ตำำแหน่งที่อยู่ของวัตถุกับเวลำ นั่นคือกำรบอกทิศทำงหรือตำำแหน่ง ของวัตถุเมื่อเทียบกับตัวเองหรือสิ่งอื่นๆ 8. กำรจัดกระทำำและสื่อควำมหมำยข้อมูล กำรจัดกระทำำ คือ กำรนำำข้อมูลดิบมำจัดลำำดับ จัดจำำพวก หำควำมถี่ หำควำมสัมพันธ์ หรือ คำำนวณใหม่ กำรสื่อควำมหมำยข้อมูล เป็นกำรใช้วิธีต่ำงๆ เพื่อแสดง ข้อมูลให้ผู้อื่นเข้ำใจ เช่น กำรบรรยำย ใช้แผนภูมิ แผนภำพ วงจร กรำฟ ตำรำง สมกำร ไดอะแกรม เป็นต้น ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ขั้นสูง ๕ ทักษะ ได้แก่ 1. กำรกำำหนดและควบคุมตัวแปร ตัวแปร หมำยถึง สิ่งที่แตกต่ำง หรือ เปลี่ยนแปลงไปจำกเดิม เมื่ออยู่ในสถำนกำรณ์ต่ำงๆ กัน ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับกำรทดลอง ทำงวิทยำศำสตร์มีอยู่ ๓ ประเภท ได้แก่ ตัวแปรต้น (ตัวแปรอิสระ , ตัวแปรเหตุ) เป็นตัวแปรเหตุที่ทำำให้ เกิดผลต่ำงๆ หรือ ตัวแปรที่เรำต้องกำรศึกษำ หรือ ทดลองดูว่ำเป็น สำเหตุที่ทำำให้เกิดผลตำมที่เรำสังเกตใช่หรือไม่ File : บทที่ ๓ ทักษะที่จำำเป็นในกำรทำำโครงงำน 12
  • 5. ตัวแปรตาม (ตัวแปรไม่อิสระ , ตัวแปรผล) เป็นตัวแปรที่เกิดมา จากตัวแปรเหตุ เมื่อตัวแปรเหตุเปลี่ยนแปลง ตัวแปรตามก็จะ เปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ตัวแปรควบคุม เป็นตัวแปรอื่นๆมากมาย (นอกจากตัวแปร เหตุ) ที่อาจส่งผลต่อการทดลอง ทำาให้ผลการทดลองคลาดเคลื่อน ไป เราจึงจำาเป็นต้องทำาการควบคุมให้เหมือนๆ กันเสียก่อน 2. การตั้งสมมติฐาน เป็นการคาดคะเนคำาตอบของปัญหาอย่างมีเหตุผล หรือ การบ่ง บอกความสัมพันธ์ของตัวแปร อย่างน้อย ๒ ตัว ก่อนที่จะทำาการทดลองจริง โดยอาศัยทักษะการ สังเกต ประสบการณ์ ความรู้เดิม เป็นพื้นฐาน ลักษณะของสมมติฐาน : • อาจถูกหรือผิดก็ได้ • สมมติฐานที่ดีจะเป็นคำาตอบที่คิดไว้ล่วงหน้า • เป็นข้อความบ่งบอกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ต้นกับตัวแปรตาม • อาจมีมากกว่า ๑ สมมติฐานก็ได้ • ใช้เป็นแนวทางการออกแบบการทดลอง • การพิสูจน์สมมติฐานว่าถูกหรือผิด (อาจใช้คำาว่า ยอมรับ หรือ ไม่ยอมรับสมมติฐานนั้นๆ) ตัวอย่างการตั้งสมมติฐาน • กลิ่นใบตะไคร้กำาจัดแมลงสาบได้ดีกว่ากลิ่นใบมะกรูด • การลดนำ้าหนักด้วยวิธีควบคุมอาหารร่วมกับการออกกำาลัง กายช่วยลดนำ้าหนักได้ดีกว่าการควบคุมอาหารอย่างเดียว 3. การกำาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ นิยามเชิงปฏิบัติการ หมายถึง ความหมายของคำาหรือข้อความที่ ใช้ในการทดลองที่สามารถสังเกต ตรวจสอบ หรือ ทำาการวัดได้ ซึ่ง จำาเป็นต้องกำาหนดเพื่อความเข้าใจที่ตรงกันเสียก่อนทำาการทดลอง นิยามเชิงปฏิบัติการ จะแตกต่างจากคำานิยามทั่วๆ ไป คือ “ต้อง สามารถวัด หรือ ”ตรวจสอบได้ ซึ่งมักจะเป็นคำานิยามของตัวแปร นั่นเอง ตัวอย่างนิยามเชิงปฏิบัติการ File : บทที่ ๓ ทักษะที่จำาเป็นในการทำาโครงงาน 13
  • 6. นิยามเชิงปฏิบัติการ คำาอธิบาย การเจริญเติบโตของพืช หมายถึง การที่พืชสูงขึ้น ลำาต้น ใหญ่ขึ้น และมีจำานวนใบมากขึ้น - การเจริญเติบโตของพืช คือ ตัวแปรที่เราต้องการศึกษา - ความสูง ความใหญ่ จำานวนใบ เป็นสิ่งที่เราสามารถวัดได้ การแปรงฟันหลังอาหาร กลางวัน หมายถึง การที่ นักเรียนแปรงฟันด้วยวิธีที่ถูกต้อง เป็นเวลาอย่างน้อย ๓ นาที หลัง จากรับประทานอาหารกลางวัน ที่ โรงเรียน - การแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน คือ ตัวแปร ที่เราต้องการศึกษา - วิธีที่ถูกต้อง เวลา ๓ นาที หลัง รับประทานอาหารกลางวันที่ โรงเรียน เป็นสิ่งที่เราสามารถ สังเกต ตรวจสอบ วัด ได้ 4. การทดลอง เป็นกระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคำาตอบจากสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ในการทดลอง ประกอบด้วย ขั้นตอนต่างๆ ๓ ขั้นตอน ดังนี้ ๑) การออกแบบการทดลอง คือ การวางแผนการ ทดลองก่อนลงมือปฏิบัติจริง โดยกำาหนดว่าจะใช้วัสดุอุปกรณ์อะไร บ้าง จะทำาอย่างไร ทำาเมื่อไร มีขั้นตอนอะไร 2) การปฏิบัติการทดลอง คือ การลงมือปฏิบัติตามที่ ออกแบบไว้ 3) การบันทึกผลการทดลอง คือ การจดบันทึกข้อมูล ต่างๆ ที่ได้จากการทดลอง ซึ่งใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ๘ ทักษะที่กล่าว ไปแล้ว 5. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป การตีความหมายข้อมูล คือ การแปลความหมาย หรือ การ บรรยายผลของการศึกษาเพื่อให้ คนอื่นเข้าใจว่า ผลการศึกษาเป็นอย่างไร เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้ง ไว้หรือไม่ การลงข้อสรุป เป็นการสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลทั้งหมด เช่น การอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรบนกราฟ การอธิบายความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เป็นผล ของการศึกษา File : บทที่ ๓ ทักษะที่จำาเป็นในการทำาโครงงาน 14