SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
บทน�ำ
	 อาหาร (Food) คือ สิ่งที่กินได้ เป็นสิ่งที่บริโภคเพื่อเป็นแหล่ง
ของพลังงานและสารที่จ�ำเป็นต่อการท�ำงานของเซลล์ ในอาหารแต่ละ
ชนิดจะมีสัดส่วนของสารอาหาร (Nutrients) ต่าง ๆ ที่ร่างกายต้องการ
แตกต่างกันไป ซึ่งสารอาหารแบ่งได้เป็น 6 ชนิด ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต
โปรตีน ไขมัน น�้ำ เกลือแร่ และวิตามิน เมื่อบริโภคอาหารเข้าไป
ร่างกายจะน�ำสารอาหารที่ได้นั้น ไปเปลี่ยนเป็นสารประกอบโมเลกุล
เล็กซึ่งมีความจ�ำเป็นส�ำหรับการผลิตพลังงานหรือสารเคมีอื่นๆ ตาม
ความต้องการของร่างกายต่อไป ถ้าหากคนเราบริโภคอาหารที่มีสาร
อาหารในปริมาณที่เหมาะสมก็จะท�ำให้มีสุขภาพดีได้ ดังนั้นสิ่งที่ต้อง
ค�ำนึงถึงในการบริโภคในแต่ละวัน คือ ความเพียงพอของสารอาหารที่
	 การวิเคราะห์อาหาร
				 (Food Analysis)
ผศ. ดร.กุลยา สมบูรณ์วิวัฒน์
2
ต�ำราปฏิบัติการโภชนาการเชิงชีวเคมี
บริโภคเพื่อน�ำไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ของร่างกาย โดยปริมาณสารอาหารที่
แต่ละคนต้องการจะแตกต่างกันไปขึ้นกับปัจจัยต่าง ๆ เช่น เพศ อายุ น�้ำหนัก
และกิจกรรมในชีวิตประจ�ำวันของแต่ละบุคคล โดยปริมาณที่ได้รับควรเป็นไป
ตามที่แนะน�ำไว้ในปริมาณสารอาหารที่ควรได้รับประจ�ำวัน (Recommended
Dietary Allowance หรือ RDA)
หลักการ
	 ในการหาปริมาณสารอาหารที่มีอยู่ในอาหารแต่ละชนิดจะใช้วิธีการ
วิเคราะห์อาหารตามวิธีการของ The Scientific Association dedicated to
Analytical Excellence (AOAC International) การวิเคราะห์อาหารนี้เป็นการ
หาส่วนประกอบหลักในอาหาร ได้แก่ ความชื้น (moisture) เถ้า (ash) หรือ
ปริมาณแร่ธาตุทั้งหมด (total minerals) ไขมัน (lipids) โปรตีน (proteins)
และคาร์โบไฮเดรต (carbohydrates) จากค่าที่ได้จะท�ำให้ทราบว่าอาหารที่
ทดสอบมีคุณค่าทางอาหารมากน้อยเพียงใด นอกจากนี้การวิเคราะห์อาหาร
ยังท�ำเพื่อให้แน่ใจว่าอาหารที่ใช้ในการบริโภคมีคุณภาพและปลอดภัยส�ำหรับ
การบริโภค
วัตถุประสงค์
	 จะท�ำให้นิสิตได้ท�ำการทดลองเพื่อสร้างฉลากโภชนาการแบบย่อ (รูป
ที่ 1) เพื่อใช้แสดงข้อมูลทางโภชนาการของอาหารที่เลือกมาท�ำการทดสอบ
โดยจะให้นิสิตวิเคราะห์อาหารเพื่อหาส่วนประกอบหลักในอาหารแต่ละจาน
ได้แก่ ปริมาณความชื้น แร่ธาตุ ไขมัน โปรตีน และคาร์โบไฮเดรต รวมทั้ง
หาปริมาณกากใย ( fiiber) ด้วย ซึ่งวิธีการวิเคราะห์แบ่งได้เป็น 4 ขั้นตอนคือ
3
การวิเคราะห์อาหาร
1) การสุ่มตัวอย่างอาหารส�ำหรับการวิเคราะห์ 2) การเปลี่ยนอาหารให้อยู่
ในรูปที่เหมาะสมส�ำหรับแต่ละวิธีการวิเคราะห์ 3) การท�ำการวิเคราะห์ และ
4) การค�ำนวณและวิเคราะห์ผล
การแสดงกรอบข้อมูลโภชนาการแบบย่อ
(Thai RDI หมายถึง Recommend dietary intake ของคนไทย)
รูปที่ 1 ฉลากโภชนาการอย่างย่อ
ที่มา : http://www.fda.moph.go.th/fda-net/html/new/label/label.html
4
ต�ำราปฏิบัติการโภชนาการเชิงชีวเคมี
วิธีการทดลอง
	 1.	 การเตรียมตัวอย่าง (Preparation of sample)
	 การเตรียมตัวอย่างส�ำหรับการวิเคราะห์เป็นขั้นตอนที่มีความส�ำคัญมาก
ต่อความถูกต้องและความแม่นย�ำของการวิเคราะห์ หากการเตรียมตัวอย่างท�ำ
อย่างไม่ระมัดระวังหรือระหว่างการเตรียมตัวอย่างเกิดการเปลี่ยนแปลงของ
องค์ประกอบในอาหาร จะท�ำให้ผลที่ได้จากการวิเคราะห์คลาดเคลื่อนไป
	 หลักการของการเตรียมตัวอย่างเพื่อการวิเคราะห์ คือ การท�ำให้
อาหารตัวอย่างเป็นเนื้อเดียวกัน มีการกระจายตัวของส่วนต่าง ๆ สม�่ำเสมอ
ซึ่งสามารถท�ำได้หลายวิธี เช่น การใช้แรงบด (mechanical method) การใช้
เอนไซม์ (enzymatic method) และการใช้สารเคมี (chemical method) จะ
ใช้วิธีใดขึ้นกับวัตถุประสงค์ของการทดสอบ อย่างไรก็ดีตัวอย่างที่เตรียมได้
จะต้องมีขนาดที่เหมาะสมต่อการน�ำไปวิเคราะห์ในขั้นต่อ ๆ ไป
	 1.1	 อุปกรณ์
		 1.1.1	 โถปั่นอาหาร (Waring blender)
		 1.1.2	 เตาไฟฟ้า และหม้อต้มน�้ำ (Steaming bath)
		 1.1.3	 มีดและเขียง (Cutting board)
	 1.2	วิธีการทดลอง
		 1.2.1	 ชั่งน�้ำหนักรวมของอาหารตัวอย่าง
		 1.2.2 	 เติมน�้ำกลั่นที่ทราบปริมาตรที่แน่นอนลงในอาหารเล็ก
น้อยเพื่อช่วยให้การปั่นผสมอาหารท�ำได้ง่ายขึ้น และบันทึกปริมาตรที่เติม
ลงไป ส�ำหรับอาหารที่มีน�้ำเป็นส่วนประกอบอาจไม่ต้องเติมน�้ำเพิ่ม จากนั้น
น�ำอาหารมาปั่นด้วยโถปั่นอาหารจนละเอียดเป็นเนื้อเดียวกัน (homogenate)
5
การวิเคราะห์อาหาร
แล้วน�ำไปชั่งน�้ำหนักอีกครั้งหนึ่ง บันทึกน�้ำหนักที่ชั่งได้ (น�้ำหนักอาหาร +
น�้ำหนักน�้ำที่เติมลงไป)
		 1.2.3 	 แบ่ง homogenate เพื่อใช้ในการทดลอง ส่วนที่เหลือใส่
ในถุงที่ปิดสนิทและเก็บที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส เพื่อป้องกันการระเหย
และการสลายตัวของสารต่าง ๆ
	 2.	 การวิเคราะห์หาปริมาณความชื้น (Moisture content)
	 ปริมาณความชื้นในอาหารเป็นค่าที่ส�ำคัญในการวิเคราะห์อาหาร ค่า
ความชื้นจะบ่งบอกถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหารหลายชนิด เช่น นมผง ถั่ว
ผลไม้อบแห้ง ข้าว ซึ่งความชื้นจะมีผลต่อความคงตัวและคุณภาพของอาหาร
ยกตัวอย่างเช่น หากมีความชื้นมากเกินไปจะท�ำให้ผลิตภัณฑ์อาหารเสียหาย
ได้ เช่น มีการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ ท�ำให้เมล็ดงอกเป็นต้นอ่อน ซึ่ง
ท�ำให้ระยะเวลาในการเก็บรักษาอาหารให้คงอยู่ในสภาพเดิมสั้นลงอีกด้วย
	 โดยการหาปริมาณความชื้นในอาหาร ท�ำได้โดยการให้ความร้อน
ที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดเดือดของน�้ำในอาหารตัวอย่าง จากนั้นวัดปริมาณน�้ำที่
หายไปหลังจากการอบอาหารให้แห้ง ปริมาณความชื้นในอาหารแต่ละชนิด
จะแตกต่างกันออกไป โดยทั่วไปในการอบอาหารให้แห้งจะใช้เตาอบ (hot
air-oven) เนื่องจากท�ำได้ง่ายและสะดวก โดยอุณหภูมิที่ใช้ในการท�ำแห้งอยู่
ในช่วงตั้งแต่ 70 ถึง 155 องศาเซลเซียส ขึ้นกับชนิดของตัวอย่าง โดยอัตราเร็ว
ในการท�ำแห้งขึ้นกับอุณหภูมิ และเวลาที่ใช้
	 ผลจากการวิเคราะห์สามารถน�ำไปค�ำนวณหาปริมาณความชื้น รวมทั้ง
ปริมาณส่วนของแข็งทั้งหมด (total solids) ซึ่งก็คือส่วนแห้ง (dry matter) ที่
เหลือจากการก�ำจัดความชื้นออกไปได้ดังนี้

More Related Content

Similar to 9789740331179

แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
Dashodragon KaoKaen
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
jatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
jatupron2
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
kasamaporn
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
Frank Jkg
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
Jariya Jaiyot
 

Similar to 9789740331179 (20)

Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
โภชนาการแ..
โภชนาการแ..โภชนาการแ..
โภชนาการแ..
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
Nutrition
NutritionNutrition
Nutrition
 
Food ao
Food aoFood ao
Food ao
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
 
7 food brain-boosting food
7 food brain-boosting food7 food brain-boosting food
7 food brain-boosting food
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
Supplementary food
Supplementary foodSupplementary food
Supplementary food
 
C-Moocy
C-MoocyC-Moocy
C-Moocy
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740331179

  • 1. บทน�ำ อาหาร (Food) คือ สิ่งที่กินได้ เป็นสิ่งที่บริโภคเพื่อเป็นแหล่ง ของพลังงานและสารที่จ�ำเป็นต่อการท�ำงานของเซลล์ ในอาหารแต่ละ ชนิดจะมีสัดส่วนของสารอาหาร (Nutrients) ต่าง ๆ ที่ร่างกายต้องการ แตกต่างกันไป ซึ่งสารอาหารแบ่งได้เป็น 6 ชนิด ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน น�้ำ เกลือแร่ และวิตามิน เมื่อบริโภคอาหารเข้าไป ร่างกายจะน�ำสารอาหารที่ได้นั้น ไปเปลี่ยนเป็นสารประกอบโมเลกุล เล็กซึ่งมีความจ�ำเป็นส�ำหรับการผลิตพลังงานหรือสารเคมีอื่นๆ ตาม ความต้องการของร่างกายต่อไป ถ้าหากคนเราบริโภคอาหารที่มีสาร อาหารในปริมาณที่เหมาะสมก็จะท�ำให้มีสุขภาพดีได้ ดังนั้นสิ่งที่ต้อง ค�ำนึงถึงในการบริโภคในแต่ละวัน คือ ความเพียงพอของสารอาหารที่ การวิเคราะห์อาหาร (Food Analysis) ผศ. ดร.กุลยา สมบูรณ์วิวัฒน์
  • 2. 2 ต�ำราปฏิบัติการโภชนาการเชิงชีวเคมี บริโภคเพื่อน�ำไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ของร่างกาย โดยปริมาณสารอาหารที่ แต่ละคนต้องการจะแตกต่างกันไปขึ้นกับปัจจัยต่าง ๆ เช่น เพศ อายุ น�้ำหนัก และกิจกรรมในชีวิตประจ�ำวันของแต่ละบุคคล โดยปริมาณที่ได้รับควรเป็นไป ตามที่แนะน�ำไว้ในปริมาณสารอาหารที่ควรได้รับประจ�ำวัน (Recommended Dietary Allowance หรือ RDA) หลักการ ในการหาปริมาณสารอาหารที่มีอยู่ในอาหารแต่ละชนิดจะใช้วิธีการ วิเคราะห์อาหารตามวิธีการของ The Scientific Association dedicated to Analytical Excellence (AOAC International) การวิเคราะห์อาหารนี้เป็นการ หาส่วนประกอบหลักในอาหาร ได้แก่ ความชื้น (moisture) เถ้า (ash) หรือ ปริมาณแร่ธาตุทั้งหมด (total minerals) ไขมัน (lipids) โปรตีน (proteins) และคาร์โบไฮเดรต (carbohydrates) จากค่าที่ได้จะท�ำให้ทราบว่าอาหารที่ ทดสอบมีคุณค่าทางอาหารมากน้อยเพียงใด นอกจากนี้การวิเคราะห์อาหาร ยังท�ำเพื่อให้แน่ใจว่าอาหารที่ใช้ในการบริโภคมีคุณภาพและปลอดภัยส�ำหรับ การบริโภค วัตถุประสงค์ จะท�ำให้นิสิตได้ท�ำการทดลองเพื่อสร้างฉลากโภชนาการแบบย่อ (รูป ที่ 1) เพื่อใช้แสดงข้อมูลทางโภชนาการของอาหารที่เลือกมาท�ำการทดสอบ โดยจะให้นิสิตวิเคราะห์อาหารเพื่อหาส่วนประกอบหลักในอาหารแต่ละจาน ได้แก่ ปริมาณความชื้น แร่ธาตุ ไขมัน โปรตีน และคาร์โบไฮเดรต รวมทั้ง หาปริมาณกากใย ( fiiber) ด้วย ซึ่งวิธีการวิเคราะห์แบ่งได้เป็น 4 ขั้นตอนคือ
  • 3. 3 การวิเคราะห์อาหาร 1) การสุ่มตัวอย่างอาหารส�ำหรับการวิเคราะห์ 2) การเปลี่ยนอาหารให้อยู่ ในรูปที่เหมาะสมส�ำหรับแต่ละวิธีการวิเคราะห์ 3) การท�ำการวิเคราะห์ และ 4) การค�ำนวณและวิเคราะห์ผล การแสดงกรอบข้อมูลโภชนาการแบบย่อ (Thai RDI หมายถึง Recommend dietary intake ของคนไทย) รูปที่ 1 ฉลากโภชนาการอย่างย่อ ที่มา : http://www.fda.moph.go.th/fda-net/html/new/label/label.html
  • 4. 4 ต�ำราปฏิบัติการโภชนาการเชิงชีวเคมี วิธีการทดลอง 1. การเตรียมตัวอย่าง (Preparation of sample) การเตรียมตัวอย่างส�ำหรับการวิเคราะห์เป็นขั้นตอนที่มีความส�ำคัญมาก ต่อความถูกต้องและความแม่นย�ำของการวิเคราะห์ หากการเตรียมตัวอย่างท�ำ อย่างไม่ระมัดระวังหรือระหว่างการเตรียมตัวอย่างเกิดการเปลี่ยนแปลงของ องค์ประกอบในอาหาร จะท�ำให้ผลที่ได้จากการวิเคราะห์คลาดเคลื่อนไป หลักการของการเตรียมตัวอย่างเพื่อการวิเคราะห์ คือ การท�ำให้ อาหารตัวอย่างเป็นเนื้อเดียวกัน มีการกระจายตัวของส่วนต่าง ๆ สม�่ำเสมอ ซึ่งสามารถท�ำได้หลายวิธี เช่น การใช้แรงบด (mechanical method) การใช้ เอนไซม์ (enzymatic method) และการใช้สารเคมี (chemical method) จะ ใช้วิธีใดขึ้นกับวัตถุประสงค์ของการทดสอบ อย่างไรก็ดีตัวอย่างที่เตรียมได้ จะต้องมีขนาดที่เหมาะสมต่อการน�ำไปวิเคราะห์ในขั้นต่อ ๆ ไป 1.1 อุปกรณ์ 1.1.1 โถปั่นอาหาร (Waring blender) 1.1.2 เตาไฟฟ้า และหม้อต้มน�้ำ (Steaming bath) 1.1.3 มีดและเขียง (Cutting board) 1.2 วิธีการทดลอง 1.2.1 ชั่งน�้ำหนักรวมของอาหารตัวอย่าง 1.2.2 เติมน�้ำกลั่นที่ทราบปริมาตรที่แน่นอนลงในอาหารเล็ก น้อยเพื่อช่วยให้การปั่นผสมอาหารท�ำได้ง่ายขึ้น และบันทึกปริมาตรที่เติม ลงไป ส�ำหรับอาหารที่มีน�้ำเป็นส่วนประกอบอาจไม่ต้องเติมน�้ำเพิ่ม จากนั้น น�ำอาหารมาปั่นด้วยโถปั่นอาหารจนละเอียดเป็นเนื้อเดียวกัน (homogenate)
  • 5. 5 การวิเคราะห์อาหาร แล้วน�ำไปชั่งน�้ำหนักอีกครั้งหนึ่ง บันทึกน�้ำหนักที่ชั่งได้ (น�้ำหนักอาหาร + น�้ำหนักน�้ำที่เติมลงไป) 1.2.3 แบ่ง homogenate เพื่อใช้ในการทดลอง ส่วนที่เหลือใส่ ในถุงที่ปิดสนิทและเก็บที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส เพื่อป้องกันการระเหย และการสลายตัวของสารต่าง ๆ 2. การวิเคราะห์หาปริมาณความชื้น (Moisture content) ปริมาณความชื้นในอาหารเป็นค่าที่ส�ำคัญในการวิเคราะห์อาหาร ค่า ความชื้นจะบ่งบอกถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหารหลายชนิด เช่น นมผง ถั่ว ผลไม้อบแห้ง ข้าว ซึ่งความชื้นจะมีผลต่อความคงตัวและคุณภาพของอาหาร ยกตัวอย่างเช่น หากมีความชื้นมากเกินไปจะท�ำให้ผลิตภัณฑ์อาหารเสียหาย ได้ เช่น มีการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ ท�ำให้เมล็ดงอกเป็นต้นอ่อน ซึ่ง ท�ำให้ระยะเวลาในการเก็บรักษาอาหารให้คงอยู่ในสภาพเดิมสั้นลงอีกด้วย โดยการหาปริมาณความชื้นในอาหาร ท�ำได้โดยการให้ความร้อน ที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดเดือดของน�้ำในอาหารตัวอย่าง จากนั้นวัดปริมาณน�้ำที่ หายไปหลังจากการอบอาหารให้แห้ง ปริมาณความชื้นในอาหารแต่ละชนิด จะแตกต่างกันออกไป โดยทั่วไปในการอบอาหารให้แห้งจะใช้เตาอบ (hot air-oven) เนื่องจากท�ำได้ง่ายและสะดวก โดยอุณหภูมิที่ใช้ในการท�ำแห้งอยู่ ในช่วงตั้งแต่ 70 ถึง 155 องศาเซลเซียส ขึ้นกับชนิดของตัวอย่าง โดยอัตราเร็ว ในการท�ำแห้งขึ้นกับอุณหภูมิ และเวลาที่ใช้ ผลจากการวิเคราะห์สามารถน�ำไปค�ำนวณหาปริมาณความชื้น รวมทั้ง ปริมาณส่วนของแข็งทั้งหมด (total solids) ซึ่งก็คือส่วนแห้ง (dry matter) ที่ เหลือจากการก�ำจัดความชื้นออกไปได้ดังนี้