SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
บทที่ 5
ทฤษฎีการจัดการนันทนาการ
ทฤษฎีนันทนาการ ( Recreation Theory )
ซึ่งมีเนื้อหาใจความว่า คนเราจาเป็นจะต้องมีการพักผ่อนและกระทากิจกรรมอันเป็นการเสาะ
แสวงหาความรื่นเริงบันเทิงใจ ซึ่งเป็นทางออกอันหนึ่งในการสนองความต้องการตามธรรมชาติ อันเป็น
ความต้องการที่จะขาดเสียมิได้ ถ้าหากขาดกิจกรรมนี้ไปพลังงานที่เสียไปจะไม่ได้กลับคืนมา จะทาให้การ
ประกอบกิจกรรมอื่น ๆ เกือบทุกด้านเสื่อมประสิทธิภาพลง ธรรมชาติของคนจะมีการกระทากิจกรรม
ดังกล่าวนี้ตลอดมา เพียงแต่ไม่รู้เท่านั้นว่า ได้ประกอบกิจกรรมทางนันทนาการแล้ว และการกระทา
ดังกล่าวมักจะเกิดความสมัครใจของผู้กระทาเอง ช่วยให้ผู้กระทาเกิดความสดชื่น สนุกสนาน
กระปรี้กระเปร่า และช่วยให้รู้จักปรับตัวให้เข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อม
ความสาคัญของทรัพยากรทางนันทนาการ
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource)
การเรียนรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิ่งที่สาคัญ เป็นต้นทุนหรือวัตถุดิบที่
มนุษย์นามาใช้เพื่อความเจริญทางเศรษฐกิจ ประเทศใดก็ตามที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ
ประเทศนั้นจะมีความร่ารวยและมีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ แต่เมื่อใดก็ตามที่มนุษย์นา
ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ไม่ถูกวิธีก็ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดหมดสิ้นไปจากโลกนี้ได้ ดังนั้นจึงควร
ที่จะเรียนรู้ถึงความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ เรียนรู้ถึงประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและเข้าใจถึง
ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านั้นเพื่อการวางแผนการจัดการที่มีคุณภาพ
ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ
เกษม จันทร์แก้ว (2541, หน้า 138) ให้ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ (natural resources)
ว่าหมายถึง “สิ่งต่าง ๆ ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ และให้ประโยชน์ต่อมนุษย์ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง”
ชัยศรี ธาราสวัสดิ์พิพัฒน์ (2548, หน้า 92) ให้ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ ว่าหมายถึง “สิ่ง
ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีประโยชน์สามารถสนองความต้องการของมนุษย์ได้ หรือมนุษย์สามารถ
นามาใช้ประโยชน์ได้ เช่น บรรยากาศ ดิน น้า ป่าไม้ ทุ่งหญ้า สัตว์ป่า แร่ธาตุ พลังงาน รวมทั้งกาลังจาก
มนุษย์ด้วย”
จากความหมายที่กล่าวมา สรุปได้ว่าทรัพยากรธรรมชาติ เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อม เกิดขึ้นเอง
ตามธรรมชาติโดยที่มนุษย์ไม่ได้สร้างขึ้น และมีประโยชน์ต่อมนุษย์”
ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
จากความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ จะเห็นได้ว่าสิ่งที่เรียกว่า “ทรัพยากรธรรมชาติ” นั้นคือสิ่งที่
เป็ นประโยชน์ต่อมนุษย์ ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อม และเป็ นสิ่งที่เกิดขึ้นเอง ดังนั้น
ทรัพยากรธรรมชาติจึงมีความสาคัญต่อมนุษย์ในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.) ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นแหล่งของปัจจัยที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ คือ
1.1) เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย เป็นแหล่งวัตถุดิบในการก่อสร้างที่อยู่อาศัย มนุษย์นาไม้ หิน ทราย มา
ก่อสร้างบ้านเรือน สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ
1.2) เป็นแหล่งอาหาร ไม่ว่าจะเป็น พืช สัตว์
1.3) เป็นแหล่งที่มาเครื่องนุ่มห่ม ในอดีตมนุษย์ใช้ใบไม้เป็นเครื่องปกปิดร่างกาย ในปัจจุบันนาเส้น
ใยจากธรรมชาติ เช่น เส้นไหม ฝ้ าย มาถักทอเป็นเสื้อผ้าปกปิดร่างกาย
1.4) เป็นแหล่งที่มาของยารักษาโรค วิวัฒนาการจากการเก็บส่วนต่าง ๆ ทั้งของพืช และสัตว์มา
รักษาโรค ที่รู้จักกันในชื่อของ “สมุนไพร” ต่อมาก็ได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยขึ้นมาเปลี่ยนสมุนไพรเป็นยาแผน
ปัจจุบัน ในประเทศไทยมีพืชที่สามารถใช้เป็นสมุนไพรรักษาโรคในท้องถิ่นมากกว่า 779 ชนิด (สถานการณ์
สิ่งแวดล้อมไทย, 2543)
2.) เป็นปัจจัยในการดารงชีวิตที่มนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นขาดไม่ได้ ได้แก่ อากาศ น้า
3.) เป็นปัจจัยที่สาคัญในการผลิต หรือเป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรม เช่น การผลิต
กระดาษต้องใช้เยื่อไม้ น้า น้ามันเชื้อเพลิง เป็นวัตถุดิบ
4.) ความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ บ่งชี้ถึงความเจริญทางเศรษฐกิจ และความเจริญของสังคม
มนุษย์
5.) มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรง เช่น ทรัพยากรพลังงาน แร่ อัญมณีที่มีมูลค่าทาง
เศรษฐกิจ หรือโดยทางอ้อม เช่น เป็นสถานที่ท่องเที่ยว พักผ่อนหย่อนใจ นารายได้จากการท่องเที่ยวเข้าสู่
ประเทศ
6.) มีความสาคัญด้านวิชาการ ทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์
7.) มีความสาคัญต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติเป็นส่วนหนึ่งของระบบ
นิเวศทั้งระบบนิเวศบนบก ระบบนิเวศทางน้า เช่น ทรัพยากรธรรมชาติประเภทป่าไม้มีประโยชน์ต่อ
องค์ประกอบของผู้ผลิตที่ต้องสร้างอาหารเลี้ยงสิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้เป็นต้น
8.) มีความสาคัญต่อการหมุนเวียนหรือวัฏจักรของแร่ธาตุและสารอาหารในระบบนิเวศ
ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากร เป็น 1 ใน 4 ของมิติทางสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรแบ่งเป็นทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติ ซึ่งเรียกว่า “ทรัพยากรธรรมชาติ” และทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น แต่ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะ
ทรัพยากรธรรมชาติเท่านั้น ทรัพยากรธรรมชาติมีมากกมายหลายชนิด หลายประเภท สามารถแบ่งตามการ
นามาใช้งานสามารถแบ่งตามการนามาใช้งานและผลที่เกิดขึ้นได้ 3 ประเภท ดังนี้
1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมด
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดหรือไม่สูญหาย (inexhaustible natural resources)
ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ ได้แก่ บรรยากาศ น้าในวัฎจักร แสงอาทิตย์ เป็นต้น ลักษณะของ
ทรัพยากรธรรมชาติในประเภทนี้แบ่งได้เป็น 2 ชนิด ดังนี้
ที่มา : http://www.scimath.org
1.1 บรรยากาศ (atmosphere) ในบรรยากาศประกอบไปด้วยอากาศซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับมี
ชีวิต นอกจากนั้นยังมีความชื้น อุณหภูมิ และการเคลื่อนไหวของมวลอากาศ รวมเรียกว่า “ภูมิอากาศ
(climate)” ซึ่งมีความสาคัญต่อลักษณะของดิน พืชพันธุ์ และสภาพอื่น ๆ ของสิ่งมีชีวิตบนพื้นผิวโลก ดังนั้น
บรรยากาศจึงเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีผลต่อทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ บรรยากาศจะหมุนเวียน
เปลี่ยนแปลงต่อเนื่องกันไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด จึงจัดบรรยากาศอยู่ในทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้ไม่หมด
1.2 น้าที่อยู่ในวัฎจักร (water in cycle) น้าที่อยู่ในวัฎจักรจะหมุนเวียนเปลี่ยนไปจากสภาพหนึ่ง
ไปเป็นอีกสภาพหนึ่งเรื่อยไปโดยไม่มีสิ้นสุด เช่น จากฝน หิมะ ลูกเห็บตกลงสู่พื้นดิน บางส่วนระเหยกลับ
ไปสู่บรรยากาศ บางส่วนไหลซึมลึกลงไปเป็นน้าใต้ดิน บางส่วนไหลไปตามพื้นผิวดินลงสู่แม่น้าลาคลอง
ออกสู่ทะเลมหาสมุทร และกลับระเหยกลายเป็นไอน้าอยู่ในบรรยากาศและจับตัวเป็นก้อนเมฆตกลงมา
เป็นฝนอีก การหมุนเวียนของน้าแบบนี้จึงไม่มีที่สิ้นสุด มีอยู่ตลอดไป
ที่มา : http://www.scimath.org
2. ทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้
ทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้หรือรักษาไว้ได้ (replaceable and maintainable natural
resources) แบ่งได้ดังนี้
ที่มา : http://www.scimath.org
2.1 น้าที่อยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง (water in place) หมายถึง น้าที่อยู่ในที่เฉพาะแห่ง เช่น น้าในภาชนะ
น้าในเขื่อน เมื่อใช่ไปเรื่อย ๆ ปริมาณจะลดลง แต่จะมีปริมาณเพิ่มขึ้นได้เมื่อเกิดฝนตก น้าที่อยู่ ณ ที่ใดที่
หนึ่งเมื่อใช้แล้วก็จะหมดไป แต่สามารถที่จะหามาทดแทนใหม่ได้
2.2 ดิน (soil) หมายถึง เนื้อดินที่เป็นที่อยู่อาศัยของพืช เป็นแหล่งสะสมแร่ธาตุอาหารที่จาเป็น
สาหรับพืช เพราะเหตุที่อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค ส่วนมากมาจากพืชซึ่งเจริญเติบโตมา
จากดินหรือได้จากสัตว์ซึ่งกินพืช ดินจึงเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับสิ่งมีชีวิต แต่ดินเกิดทดแทนตามธรรมชาติได้ช้า
มาก กว่าจะได้เนื้อดินหนา 1 นิ้ว ธรรมชาติต้องใช้เวลาสร้างถึง 100 ปี 1,000 ปี เป็นอย่างน้อย อย่างไรก็
ตามถึงดินจะเกิดได้ช้าแต่มนุษย์ก็สามารถดูแลรักษาดินให้คงมีคุณภาพเหมือนเดิมได้โดยการใส่ปุ๋ ยหรือ
การใช้ประโยชน์จากดินอย่างถูกต้องตามหลักการอนุรักษ์ เพราะฉะนั้นลักษณะสมบัติของดินในแง่ของ
ทรัพยากรธรรมชาติแล้วจัดเป็นประเภทที่สามารถรักษาให้คงอยู่ได้ (maintainable) มากกว่าการเกิดขึ้น
ทดแทน (replaceable)
2.3 ป่าไม้ (forest) ทรัพยากรป่าไม้นับว่ามีความสาคัญมากในแง่ของการอนุรักษ์ดิน น้า และ
สัตว์ป่า ซึ่งอานวยประโยชน์ให้มนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม เนื่องจากป่าไม้สามารถขึ้น ทดแทนโดย
ธรรมชาติ หรือการปลูกให้เป็นป่ามาใหม่ได้ ป่าไม้จึงถูกจัดอยู่ในทรัพยากรธรรมชาติพวกที่เกิดขึ้นทดแทน
และรักษาให้คงอยู่ได้
2.4 ทุ่งหญ้า (rangeland) หมายถึง พื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งที่ส่วนใหญ่มีพืชวงศ์หญ้า และพืชพันธุ์อื่นๆ
ขึ้นอยู่เองตามธรรมชาติ มักเป็นที่ที่มีฝนตกน้อย ใช้เป็นที่หากินของสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า เป็นที่เหมาะแก่
การดาเนินการจัดการโดยอาศัยพื้นฐานทางนิเวศวิทยามากกว่าพื้นฐานทางการเกษตร และใช้ประโยชน์
แบบเอนกประสงค์ทุ่งหญ้าเช่นเดียวกับป่าไม้ จัดเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้น ทดแทน และรักษาให้คง
อยู่ได้
2.5สัตว์ป่า (wildlife)
2.6 ทรัพยากรกาลังงานมนุษย์ (human resources) กาลังงานมนุษย์จัดเป็นทรัพยากรธรรมชาติ
ประเภทหนึ่ง มนุษย์เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติตามกฎของธรรมชาติ มนุษย์สามารถใช้ประโยชน์
จากตนเองให้เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ชาติและต่อสังคม โดยอาศัยกาลังงานที่มีอยู่ในตัวมนุษย์และกาลัง
ที่ว่านี้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ กาลังงานมนุษย์แบ่งออกได้เป็น 2 ทางคือ กาลังงานทางร่ายกาย
และกาลังทางจิต (body and spirit) กาลังงานทางร่างกาย ได้แก่ ความแข็งแรงของร่างกาย ส่วนกาลัง
ทางจิต ได้แก่ การนึกคิดและการใช้เหตุผล การจินตนาการ ถ้ามนุษย์มีความเป็ นอยู่ดี มีการศึกษา อนามัย
ดี มีความรู้ ความชานาญและประกอบการงานอย่างมีประสิทธิภาพหรือรู้จักใช้ทรัพยากรอื่น ๆ อย่างชาญ
ฉลาดแล้วย่อมทาให้กาลังงานที่ต้องสูญเปล่าลดน้อยลงและสามารถใช้กาลังงานให้เป็นประโยชน์แก่งานใน
ทุก ๆ ด้านได้อย่างเต็มที่ กาลังงานมนุษย์จึงเป็นทรัพยากรที่ควรจะได้มีการอนุรักษ์และจัดการใช้ประโยชน์
ให้เหมาะสม
3. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป (exhaustible natural resources) ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้
จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องศึกษาเพื่อหาแนวทางในการอนุรักษ์ให้สามารถมีใช้ประโยชน์ได้นานที่สุด ซึ่ง
ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ได้แก่
ที่มา : http://www.scimath.org
3.1 ทรัพยากรแร่ธาตุ
3.2 ทรัพยากรพลังงาน
3.3 ที่ดินในสภาพธรรมชาติ (land in natural condition) ได้แก่ สถานที่ใช้ศึกษาธรรมชาติและ
สถานที่วิเวกห่างไกลผู้คน (wilderness area) หากสถานที่เหล่านี้ถูกทาลายจะไม่สามารถสร้างมาทดแทน
ใหม่ได้ ประเทศที่เจริญมีวัฒนธรรมสูงยิ่งมีความจาเป็นในการที่จะรักษาสภาพธรรมชาติที่ไม่เคยถูกรบกวน
มาก่อนไว้สาหรับศึกษาหาความรู้ตามธรรมชาติ มีไว้สาหรับคุณค่าทางจิตใจ เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่
สามารถทาให้เกิดขึ้นมาใหม่ได้เพราะมีลักษณะสมบัติเฉพาะตัว (unique) เช่น น้าตก หน้าผา จุดเด่นตาม
ธรรมชาติต่างๆ
ทรัพยากรทางนันทนาการ
ทรัพยากรเป็นเครื่องมือ หรือสื่อ หรือวิถีทางที่จะนาไปสู่การร่วมกิจกรรม การทากิจกรรมหรือการ
ส่งเสริมกิจกรรมที่มนุษย์สามารถเข้าถึงได้
ทรัพยากรทางนันทนาการจึงเป็นเครื่องมือ หรือสื่อ หรือวิถีทางที่จะทาให้บุคคลเข้าร่วมกิจกรรม
นันทนาการ การทากิจกรรมนันทนาการหรือการส่งเสริมกิจกรรมนันทนาการที่จะทาให้มนุษย์เข้าถึง
นันทนาการได้ตามต้องการด้วยความพอใจและสมัครใจ
ทรัพยากรทางนันทนาการจึงเป็นปัจจัยหลักในการสร้างกิจกรรมที่จะทาให้มนุษย์ได้เข้าถึงกิจกรรม
นันทนาการที่แท้จริง
ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติเป็นองค์ประกอบหลักของทรัพยากรนันทนาการที่สาคัญที่สุด เช่น สถานที่
ในการทากิจกรรมนันทนาการ
องค์ประกอบของทรัพยากรทางนันทนาการ
ทรัพยากรทางนันทนาการในที่นี้จะกล่าวถึงทรัพยากรที่ใช้ในการประกอบกิจกรรมนันทนาการได้
แบบองค์รวมของนันทนาการ
องค์ประกอบของทรัพยากรทางนันทนาการ (สานักส่งเสริมและพัฒนานันทนาการ, 2546 : 2) ซึ่ง
ประกอบด้วย
1. สถานที่หรือแหล่งการจัดกิจกรรมนันทนาการ
2. อุปกรณ์และสื่อทางนันทนาการ
3. บุคลากรและองค์การทางนันทนาการ
4. กิจกรรมทางนันทนาการ
5. การจัดการทางนันทนาการ
1. สถานที่หรือแหล่งการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ทรัพยากรทางนันทนาการเป็นที่องค์ประกอบเพื่อนันทนาการที่เป็นสถานที่หรือแหล่งนันทนาการ
จะเป็นพื้นที่หรือสภาพแวดล้อมที่สามารถเข้าไปศึกษา ไปดู ไปชม หรือไปทากิจกรรม ภายใต้บรรยากาศใน
ภูมิประเทศที่ส่งเสริมให้รู้สึกสบาย ผ่อนคลาย สถานที่บางแห่งได้ทาหน้าที่หลายอย่าง เช่น เป็นห้องเรียน
แหล่งเรียนรู้ เป็นสถานที่ประวัติศาสตร์ เป็นแหล่งท่องเที่ยว เป็นทรัพยากรธรรมชาติ ตามสภาพที่จะนามา
เป็นประเด็นในการพิจารณา เมื่อนามาใช้ทากิจกรรมเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ ทากิจกรรมเสริมความ
สนุกสนานก็ถือว่าเป็นสถานที่หรือแหล่งนันทนาการ
บางที่สถานที่หรือแหล่งนันทนาการก็มีการจัดการเข้ามาร่วม เช่น ค่ายเยาวชน อุทยาน
ประวัติศาสตร์ สวนสาธารณะ ค่ายลูกเสือ ฯลฯ สถานที่และแหล่งนันทนาการจึงเป็นทรัพยากรทาง
นันทนาการแบบครอบจักรวาล คือแหล่งหรือพื้นที่ที่ใช้ไม่ว่าจะเป็นการเข้าถึงสถานที่หรือแหล่งนันทนาการ
เพื่อนันทนาการโดยตรงหรือโดยอ้อม ถ้าเข้าหลักการทางนันทนาการก็ถือว่าเป็นทรัพยากรทางนันทนาการ
ได้ทั้งสิ้น
สถานที่นันทนาการนับว่าเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่ง และเป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องทาการบารุงรักษาไว้
ทั้งนี้เพราะสถานที่นันทนาการจะเสื่อมสภาพไปตามกาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานที่นันทนาการทาง
วัฒนธรรม แม้แต่สถานที่นันทนาการทางธรรมชาติ เช่น ทะเลสาบ ชายหาด ถ้า น้าตกและอื่น ๆ เมื่อมีผู้เข้า
ไปใช้บริการมาก ๆ จะทาให้เสื่อมโทรมและสกปรกได้เช่นเดียวกัน ถ้าหากไม่มีการบารุงรักษาอย่างถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ
ตัวอย่างสถานที่หรือแหล่งนันทนาการ
อุทยานแห่งชาติ
อุทยานแห่งชาติ หมายถึง “ที่ดินซึ่งรวมทั้งพื้นที่ดินทั่วไป ภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง บาง
ลาน้า ทะเลสาบ เกาะ และชายฝั่งที่ได้รับการกาหนดให้เป็น อุทยานแห่งชาติ ลักษณะที่ดินดังกล่าวเป็นที่ที่
มีสภาพธรรมชาติที่น่าสนใจ และมิได้อยู่ในกรรมสิทธิ์หรือครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ของบุคคลใด
ซึ่งมิใช่ทบวงการเมือง ทั้งนี้การกาหนดดังกล่าวก็เพื่อให้คงอยู่ในสภาพเดิม เพื่อสงวนไว้ให้เป็นประโยชน์แก่
การศึกษาและ ความรื่นรมย์ของประชาชนสืบไป” (พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504)
อุทยานแห่งชาติของไทยทุกแห่งมีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 10 ตารางกิโลเมตร ซึ่งจัดตามหลักสากลของ
การจัดการอุทยานแห่งชาติ มีการบริหาร โดยอานาจรัฐที่เป็นส่วนกลาง โดยผ่านคณะกรรมการใน
ระดับชาติ เรียกว่า คณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ อันประกอบไปด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ จากหลากหลายสาขา
อาชีพและหลายหน่วยงาน
วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งอุทยานแห่งชาติของประเทศไทย
1. เพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ คือต้องการอนุรักษ์สภาพธรรมชาติของพื้นที่ให้คงอยู่ตาม
ธรรมชาติ ป้ องกันการรบกวนโดยมนุษย์ โดยเฉพาะทรัพยากรที่สาคัญ เช่น สัตว์ป่า พืชพรรณ และลักษณะ
ธรรมชาติที่สวยงามเป็นพิเศษ รวมทั้งแหล่งอนุรักษ์พันธุกรรมที่สาคัญ
2. เพื่อการท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ เนื่องจากในเขตอุทยานแห่งชาติมีทิวทัศน์ทาง
ธรรมชาติที่สวยงามเหมาะกับการใช้ประโยชน์ทางการ ท่องเที่ยว เพื่อให้เกิดความสุขกายสุขใจ และช่วย
ผ่อนคลายความเครียดจากการปฏิบัติงานประจา
3. เพื่อการศึกษาค้นคว้าวิจัย พื้นที่อุทยานแห่งชาติสามารถจัดเป็นห้องทดลองทาง
ธรรมชาติกลางแจ้ง ที่สามารถค้นคว้าวิจัยไม่มีที่สิ้นสุด ของนักศึกษา นักวิทยาศาสตร์และประชาชนทั่วไป
วนอุทยานแห่งชาติ
วนอุทยาน (Forest Park) หมายถึง พื้นที่ขนาดเล็ก จัดตั้งขึ้นเพื่อจุดประสงค์สาหรับการ
พักผ่อนหย่อนใจ โดยจะทาการปรับปรุงตกแต่งสถานที่เหล่านี้ให้เหมาะสม มีความสวยงามและโดดเด่น
ในระดับท้องถิ่น จุดเด่นอาจจะได้แก่ น้าตก หุบเหว หน้าผา ถ้า หรือ หาดทราย เป็นต้น
หลักเกณฑ์การจัดตั้งวนอุทยาน
1. พื้นที่นั้นจะต้องเป็นพื้นที่ที่มีขนาดกว้างใหญ่เพียงพอที่จะรักษาสถานะทางนิเวศวิทยาของพื้นที่
ไว้ได้ ซึ่งตามหลักสากล ได้กาหนดมาตรฐานไว้ไม่น้อยกว่า 10 ตารางกิโลเมตร แต่ทั้งนี้ก็ไม่เป็นเกณฑ์
ตายตัว ขึ้นอยู่กับคุณค่าของพื้นที่เป็นสาคัญ
2. พื้นที่นั้นจะต้องประกอบไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า หรือมีพืช
สัตว์ ที่น่าสนใจและหายาก มีทิวทัศน์ธรรมชาติที่สวยงาม หรือมีปรากฏการณ์ธรรมชาติที่น่าสนใจ หรือมี
จุดเด่นที่เป็นเอกลักษณ์หาได้ยาก หรือมีประวัติความเป็นมา ที่มีคุณค่าในด้านทางประวัติศาสตร์ หรือมี
มนุษย์ศาสตร์
3. พื้นที่นั้นจะต้องเหมาะต่อการท่องเที่ยว พักผ่อน พักแรม หรือการศึกษาหาความรู้ ซึ่งจะมาก
น้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับขนาดของพื้นที่ และวัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง
วนอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย คือ วนอุทยานน้าตกกระเปาะ จังหวัดชุมพร ประกาศ
จัดตั้ง เมื่อปี พ.ศ.2501 2
ประโยชน์ของแหล่งการจัดกิจกรรมนันทนาการ
1. แหล่งนันทนาการจะช่วยส่งเสริมและกระตุ้นให้บุคคลทั่วไปหันมาสนใจในกิจกรรม
นันทนาการ และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้นทั้งต่อตนเองและส่วนรวม
2. แหล่งนันทนาการถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางหรือสถานที่ของการพบปะพูดคุย หรือสนทนากัน
ระหว่างสมาชิกในสังคมนั้นๆ ซึ่งจะช่วยทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนทัศนคติ ค่านิยม ความคิดเห็นซึ่งกันและ
กัน ผลที่จะได้ตามมาในภายหลังก็คือการช่วยให้บุคคลเหล่านั้นเกิดความคิดสร้างสรรค์ในหน้าที่การงาน
หรืออื่นๆ ตามแต่โอกาสจะอานวย
3. แหล่งนันทนาการจะเป็นแหล่งส่งเสริมและสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของ
สมาชิกในสังคมนั้นๆ ได้เป็นอย่างดี เช่นกิจกรรมออกกาลังกาย เล่นกีฬา ของสนามกีฬา สถานเด็กเล่น
สวนสาธารณะ
4. แหล่งนันทนาการยังเป็นแหล่งที่ช่วยในการอบรมบ่มนิสัยของสมาชิกที่เป็นเด็กและ
เยาวชน หรือบุคคลทั่วไป อีกทั้งยังเป็นแหล่งช่วยเหลือในการป้ องกันอาชญากรรมอีกด้วย
2. อุปกรณ์และสื่อทางนันทนาการ
การนาอุปกรณ์หรือสื่อมาใช้แล้วเกิดผลทางนันทนาการ ก็นับว่าอุปกรณ์และสื่อนั้นเป็นอุปกรณ์และ
สื่อทางนันทนาการ และเป็นทรัพยากรทางนันทนาการด้วย เช่น เครื่องดนตรี เครื่องกีฬา เรือ แพ ของเล่น
ฯลฯ อุปกรณ์และสื่อทางนันทนาการเหล่านี้ยังช่วยให้มนุษย์มีกิจกรรมตามกฎ กติกา หรือข้อตกลง ตาม
กรรมวิธีตั้งแต่การเริ่มต้นจนมีทักษะการเรียนรู้ ถึงขั้นมีความชานาญ มีความสามารถระดับที่สูงขึ้น
ที่มา : http://market.onlineoops.com/415738
อุปกรณ์และสื่อทางนันทนาการเป็นสิ่งที่มนุษย์แสวงหาได้เสมอในบทบาทของอุปกรณ์และสื่อทาง
นันทนาการที่เกิดจากชีวิตประจาวัน ชีวิตการเรียน ชีวิตการทางาน เมื่อนาอุปกรณ์และสื่อมาใช้เพื่อช่วยให้
มนุษย์มีความสุข ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ หรือใช้เวลาอิสระเพื่อการเพลิดเพลินจะได้อุปกรณ์และสื่อนั้น
เป็นอุปกรณ์และสื่อทางนันทนาการ ตัวอย่างเช่น การอ่านหนังสือ ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ หรือแม้แต่การใช้มือ
เคาะจังหวะ หรือผิวปากเป็นเพลง ฯลฯ เสริมสร้างประสบการณ์ที่ดี ที่ผ่อนคลาย และมีความสุขเกิดขึ้น ก็
ถือเป็นทรัพยากรทางนันทนาการแล้ว อุปกรณ์และสื่อทางนันทนาการซึ่งหลากหลายและมากมายแบบ
เฉพาะเจาะจงตามหน้าที่ของอุปกรณ์และสื่อ หรือการนาอุปกรณ์และสื่อที่มีหน้าที่อย่างอื่นมาใช้เพื่อ
นันทนาการ จึงถือรวมเป็นทรัพยากรทางนันทนาการได้ทั้งหมด
3. บุคลากรและองค์การทางนันทนาการ
มนุษย์เป็นทรัพยากรบุคคลที่สาคัญของกิจการต่างๆ ในการขับเคลื่อนให้เกิดหรือมีการกระทา
บุคลากรทางนันทนาการจึงเป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ มีทักษะและประสบการณ์ในเรื่อง
นันทนาการ ซึ่งหมายถึงบุคลากรที่เป็นผู้นาหรือผู้ประกอบกิจกรรมทางนันทนาการกับบุคลากรในการ
จัดการนันทนาการ เช่น ผู้นากลุ่ม หัวหน้าครอบครัว ผู้มีความรู้ความสามารถในการสร้างกิจกรรม
นันทนาการ ฯลฯ บุคลากรมีส่วนทาให้กิจกรรมนันทนาการน่าสนใจและเกิดการกระทาร่วมกัน ส่วนองค์การ
เป็นหน่วยสังคมหรือหน่วยงานที่มีกลุ่มบุคคลร่วมกันเข้ามาดาเนินการกิจกรรมนันทนาการ ให้บรรลุ
เป้ าหมาย
ที่มา : http://campus.sanook.com/u_life/activity_04195.php
ตัวอย่างบุคลากรและองค์การทางนันทนาการ เช่น ผู้นาค่ายเยาวชน ศิลปิน มัคคุเทศก์ องค์การ
สวนสัตว์ สวนสนุก หน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน ที่จัดดาเนินการด้านนันทนาการ
4. กิจกรรมนันทนาการ
กิจกรรมนันทนาการ ถ้าเป็นทรัพยากรทางนันทนาการได้จะเป็นทรัพยากรในรูปแบบนามธรรม ใน
ที่นี้จึงรวมเอากิจกรรมนันทนาการเป็นทรัพยากรนันทนาการด้วยเหตุผล
1. กิจกรรมนันทนาการเป็นสื่อนามธรรมที่สามารถก่อให้เกิดกิจกรรมร่วมกันของบุคคลและสถานที่
2. กิจกรรมนันทนาการเป็นสิ่งปฏิบัติเชื่อมการจัดการสนองต่อความต้องการของบุคลากรหรือ
องค์การ
3. กิจกรรมนันทนาการก่อให้เกิดผลลัพธ์ คือ การร่วมกันในการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ผ่อน
คลาย สนุกสานเพลิดเพลิน
จึงกล่าวได้ว่ากิจกรรมนันทนาการเป็นสื่อทางนันทนาการที่เป็นนามธรรมก่อให้เกิดเหตุการณ์เห็น
เป็นรูปธรรมที่มีประโยชน์ได้และให้ผลจากการประกอบกิจกรรมนันทนาการนั้น
ตัวอย่างกิจกรรมนันทนาการ เช่น การเล่มเกม การท่องเที่ยว การทากิจกรรมกลางแจ้ง การทางาน
อดิเรก การสังสรรค์ การเล่นกอล์ฟ ฯลฯ
ที่มา : http://krurukbie.blogspot.com/2012/11/blog-post.html
5. การจัดการทางนันทนาการ
ทรัพยากรทางการจัดการมี 4 ด้าน คือ บุคลากร (Man) งบประมาณ ( Money) ทรัพยากรสิ่งของ
(Meterial) และการบริหารจัดการ (Management) การใช้การบริหารจัดการทางนันทนาการ เป็นเรื่องของ
การใช้บุคากรและองค์การ สถานที่หรือแหล่งนันทนาการ อุปกรณ์และสื่อทางนันทนาการและกิจกรรม
นันทนาการมาจัดการให้เป็นระบบ ระเบียบ มีแนวปฏิบัติทาให้เกิดรูปแบบนันทนาการที่เป็นธุรกิจบริการ
เช่น โรงภาพยนตร์ ร้านคาราโอเกาะ สถานบันเทิง สวนสัตว์ การจัดงานเทศกาล การแสดงมหรสพ ฯลฯ
การนาเอาการจัดการทางนันทนาการมาเป็นองค์ประกอบหนึ่งของทรัพยากรนันทนาการทาให้เกิด
การจัดการของภาครัฐ เช่น สถานที่ราชการต่างๆ กาหนดให้มีการบริหารจัดการด้านนันทนาการ ส่วนของ
ภาคเอกชนดาเนินการควบคู่ไปกับธุรกิจการค้า
พื้นฐานทรัพยากรทางนันทนาการของไทย
ทรัพยากรทางนันทนาการที่กล่าวมานั้น เมื่อพิจารณาถึงพื้นฐานทรัพยากรที่เราจะเข้าถึงได้ จะ
พบว่าคนไทยโชคดีที่ได้อาศัยอยู่ในประเทศไทย โดยมีปัจจัยสาคัญ คือ
1. ภูมิประเทศเหมาะสม มีถิ่นฐานอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ จนสามารถใช้เป็น
ทรัพยากรธรรมชาติ มาเป็นทรัพยากรทางนันทนาการได้มากมาย
2. ภูมิอากาศเอื้ออานวยต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของคนไทย ประเทศไทยมีภูมิอากาศแบบเขต
ร้อน แต่มีทะเลถึงสองฝั่งทาให้ภูมิอากาศไม่ร้อนนัก มี 3 ฤดูกาล คือฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว ทาให้มี
สภาพอากาศที่สบายเพียงพอที่จะพักผ่อนได้ทุกฤดูกาล
3. วัฒนธรรมประเพณีไทย ประเทศไทยมีวัฒนธรรมและประเพณีที่สวยงาม และมีความหมายต่อ
การดารงชีวิต วัฒนธรรมและประเพณีในระดับชาติสะท้อนสภาพสังคมไทยถึงภูมิปัญญาในการใช้
วัฒนธรรมประเพณีเพื่อให้เกิดความสนุกสนานและมีคุณค่าทางจิตใจที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติต่อตนเอง
และสังคม วัฒนธรรมประเพณีระดับท้องถิ่นจะสะท้อนถึงสภาพชีวิต การทามาหากิน การประกอบอาชีพ
และความเชื่อ ค่านิยมซึ่งจะแฝงด้วยคติความเชื่อ และเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่จะหลอมรวมสังคมท้องถิ่น
ในการใช้สภาพแวดล้อมรอบตัวเพื่อเป็นทรัพยากรในการทากิจกรรมนันทนาการ
4. อุปนิสัยและวิถีชีวิตของคนไทย คนไทยชอบอิสระและรักสนุก จึงง่ายที่จะจัดกิจกรรม
นันทนาการและการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ ความร่วมมือร่วมใจกันอย่างสนุกสนานเป็นที่มาของการมี
อุปนิสัยใจคอยิ้มแย้ม แจ่มใส ตามลักษณะของคนไทย พื้นฐานวิถีชีวิตของคนไทยผูกพันกับครอบครัว และ
เป็นครอบครัวแบบขยาย หมายความว่า เป็นสังคมที่นับถือผูกพันกับพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย และเคารพรักนับ
ถือกันในระบบเครือญาติและผูกพันกับบุตรหลาน แม้แต่เพื่อนบ้าน ผู้ใกล้ชิด มีการเคารพนับถือกันเสมอ
ประหนึ่งญาติพี่น้อง ทาให้ความสัมพันธ์ก่อเกิดกิจกรรมในครอบครัว ญาติมิตรสนิทสนมกันแบบแนบแน่น
กิจกรรมนันทนาการจะใช้ทรัพยากรมนุษย์มาเป็นทรัพยากรทางนันทนาการด้วยการเกื้อกูล และกิจกรรม
ผูกพัน สัมพันธ์ชุมชนกันแบบหมู่คณะต่อไปได้
บทที่ 5

More Related Content

What's hot

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพณัฐะ หิรัญ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)Nattakorn Sunkdon
 
การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์ (Homeostasis) by pitsanu duangkartok
  การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์ (Homeostasis) by pitsanu duangkartok  การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์ (Homeostasis) by pitsanu duangkartok
การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์ (Homeostasis) by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54RMUTT
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟNattakorn Sunkdon
 
โครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระโครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระKhuanruthai Pomjun
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศKittiya GenEnjoy
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนKetsuro Yuki
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วยบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วยPloykarn Lamdual
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)Nattakorn Sunkdon
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ประเภทนันทนาการ
ประเภทนันทนาการประเภทนันทนาการ
ประเภทนันทนาการpuangpetch
 

What's hot (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์ (Homeostasis) by pitsanu duangkartok
  การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์ (Homeostasis) by pitsanu duangkartok  การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์ (Homeostasis) by pitsanu duangkartok
การรักษาสมดุลภายในร่างกายสัตว์ (Homeostasis) by pitsanu duangkartok
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
โครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระโครงการตักบาตรวันพระ
โครงการตักบาตรวันพระ
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
ซอสตำลึ่ง
ซอสตำลึ่งซอสตำลึ่ง
ซอสตำลึ่ง
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วยบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ประเภทนันทนาการ
ประเภทนันทนาการประเภทนันทนาการ
ประเภทนันทนาการ
 

More from teaw-sirinapa

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1teaw-sirinapa
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการteaw-sirinapa
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการteaw-sirinapa
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการteaw-sirinapa
 
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการteaw-sirinapa
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการteaw-sirinapa
 
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการteaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1teaw-sirinapa
 

More from teaw-sirinapa (20)

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการ
 
บทที่ 17
บทที่ 17บทที่ 17
บทที่ 17
 
บทที่ 16
บทที่ 16บทที่ 16
บทที่ 16
 
บทที่ 15
บทที่ 15บทที่ 15
บทที่ 15
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการ
 
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
 
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
 
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
 
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
 

บทที่ 5

  • 1. บทที่ 5 ทฤษฎีการจัดการนันทนาการ ทฤษฎีนันทนาการ ( Recreation Theory ) ซึ่งมีเนื้อหาใจความว่า คนเราจาเป็นจะต้องมีการพักผ่อนและกระทากิจกรรมอันเป็นการเสาะ แสวงหาความรื่นเริงบันเทิงใจ ซึ่งเป็นทางออกอันหนึ่งในการสนองความต้องการตามธรรมชาติ อันเป็น ความต้องการที่จะขาดเสียมิได้ ถ้าหากขาดกิจกรรมนี้ไปพลังงานที่เสียไปจะไม่ได้กลับคืนมา จะทาให้การ ประกอบกิจกรรมอื่น ๆ เกือบทุกด้านเสื่อมประสิทธิภาพลง ธรรมชาติของคนจะมีการกระทากิจกรรม ดังกล่าวนี้ตลอดมา เพียงแต่ไม่รู้เท่านั้นว่า ได้ประกอบกิจกรรมทางนันทนาการแล้ว และการกระทา ดังกล่าวมักจะเกิดความสมัครใจของผู้กระทาเอง ช่วยให้ผู้กระทาเกิดความสดชื่น สนุกสนาน กระปรี้กระเปร่า และช่วยให้รู้จักปรับตัวให้เข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อม ความสาคัญของทรัพยากรทางนันทนาการ ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource) การเรียนรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิ่งที่สาคัญ เป็นต้นทุนหรือวัตถุดิบที่ มนุษย์นามาใช้เพื่อความเจริญทางเศรษฐกิจ ประเทศใดก็ตามที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศนั้นจะมีความร่ารวยและมีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ แต่เมื่อใดก็ตามที่มนุษย์นา ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ไม่ถูกวิธีก็ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดหมดสิ้นไปจากโลกนี้ได้ ดังนั้นจึงควร ที่จะเรียนรู้ถึงความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ เรียนรู้ถึงประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและเข้าใจถึง ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านั้นเพื่อการวางแผนการจัดการที่มีคุณภาพ ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ เกษม จันทร์แก้ว (2541, หน้า 138) ให้ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ (natural resources) ว่าหมายถึง “สิ่งต่าง ๆ ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ และให้ประโยชน์ต่อมนุษย์ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง” ชัยศรี ธาราสวัสดิ์พิพัฒน์ (2548, หน้า 92) ให้ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ ว่าหมายถึง “สิ่ง ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีประโยชน์สามารถสนองความต้องการของมนุษย์ได้ หรือมนุษย์สามารถ นามาใช้ประโยชน์ได้ เช่น บรรยากาศ ดิน น้า ป่าไม้ ทุ่งหญ้า สัตว์ป่า แร่ธาตุ พลังงาน รวมทั้งกาลังจาก มนุษย์ด้วย” จากความหมายที่กล่าวมา สรุปได้ว่าทรัพยากรธรรมชาติ เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อม เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติโดยที่มนุษย์ไม่ได้สร้างขึ้น และมีประโยชน์ต่อมนุษย์”
  • 2. ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ จากความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ จะเห็นได้ว่าสิ่งที่เรียกว่า “ทรัพยากรธรรมชาติ” นั้นคือสิ่งที่ เป็ นประโยชน์ต่อมนุษย์ ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อม และเป็ นสิ่งที่เกิดขึ้นเอง ดังนั้น ทรัพยากรธรรมชาติจึงมีความสาคัญต่อมนุษย์ในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.) ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นแหล่งของปัจจัยที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ คือ 1.1) เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย เป็นแหล่งวัตถุดิบในการก่อสร้างที่อยู่อาศัย มนุษย์นาไม้ หิน ทราย มา ก่อสร้างบ้านเรือน สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ 1.2) เป็นแหล่งอาหาร ไม่ว่าจะเป็น พืช สัตว์ 1.3) เป็นแหล่งที่มาเครื่องนุ่มห่ม ในอดีตมนุษย์ใช้ใบไม้เป็นเครื่องปกปิดร่างกาย ในปัจจุบันนาเส้น ใยจากธรรมชาติ เช่น เส้นไหม ฝ้ าย มาถักทอเป็นเสื้อผ้าปกปิดร่างกาย 1.4) เป็นแหล่งที่มาของยารักษาโรค วิวัฒนาการจากการเก็บส่วนต่าง ๆ ทั้งของพืช และสัตว์มา รักษาโรค ที่รู้จักกันในชื่อของ “สมุนไพร” ต่อมาก็ได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยขึ้นมาเปลี่ยนสมุนไพรเป็นยาแผน ปัจจุบัน ในประเทศไทยมีพืชที่สามารถใช้เป็นสมุนไพรรักษาโรคในท้องถิ่นมากกว่า 779 ชนิด (สถานการณ์ สิ่งแวดล้อมไทย, 2543) 2.) เป็นปัจจัยในการดารงชีวิตที่มนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นขาดไม่ได้ ได้แก่ อากาศ น้า 3.) เป็นปัจจัยที่สาคัญในการผลิต หรือเป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรม เช่น การผลิต กระดาษต้องใช้เยื่อไม้ น้า น้ามันเชื้อเพลิง เป็นวัตถุดิบ 4.) ความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ บ่งชี้ถึงความเจริญทางเศรษฐกิจ และความเจริญของสังคม มนุษย์ 5.) มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรง เช่น ทรัพยากรพลังงาน แร่ อัญมณีที่มีมูลค่าทาง เศรษฐกิจ หรือโดยทางอ้อม เช่น เป็นสถานที่ท่องเที่ยว พักผ่อนหย่อนใจ นารายได้จากการท่องเที่ยวเข้าสู่ ประเทศ 6.) มีความสาคัญด้านวิชาการ ทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ 7.) มีความสาคัญต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติเป็นส่วนหนึ่งของระบบ นิเวศทั้งระบบนิเวศบนบก ระบบนิเวศทางน้า เช่น ทรัพยากรธรรมชาติประเภทป่าไม้มีประโยชน์ต่อ องค์ประกอบของผู้ผลิตที่ต้องสร้างอาหารเลี้ยงสิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้เป็นต้น 8.) มีความสาคัญต่อการหมุนเวียนหรือวัฏจักรของแร่ธาตุและสารอาหารในระบบนิเวศ
  • 3. ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากร เป็น 1 ใน 4 ของมิติทางสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรแบ่งเป็นทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติ ซึ่งเรียกว่า “ทรัพยากรธรรมชาติ” และทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น แต่ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะ ทรัพยากรธรรมชาติเท่านั้น ทรัพยากรธรรมชาติมีมากกมายหลายชนิด หลายประเภท สามารถแบ่งตามการ นามาใช้งานสามารถแบ่งตามการนามาใช้งานและผลที่เกิดขึ้นได้ 3 ประเภท ดังนี้ 1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมด ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดหรือไม่สูญหาย (inexhaustible natural resources) ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ ได้แก่ บรรยากาศ น้าในวัฎจักร แสงอาทิตย์ เป็นต้น ลักษณะของ ทรัพยากรธรรมชาติในประเภทนี้แบ่งได้เป็น 2 ชนิด ดังนี้ ที่มา : http://www.scimath.org 1.1 บรรยากาศ (atmosphere) ในบรรยากาศประกอบไปด้วยอากาศซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับมี ชีวิต นอกจากนั้นยังมีความชื้น อุณหภูมิ และการเคลื่อนไหวของมวลอากาศ รวมเรียกว่า “ภูมิอากาศ (climate)” ซึ่งมีความสาคัญต่อลักษณะของดิน พืชพันธุ์ และสภาพอื่น ๆ ของสิ่งมีชีวิตบนพื้นผิวโลก ดังนั้น บรรยากาศจึงเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีผลต่อทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ บรรยากาศจะหมุนเวียน เปลี่ยนแปลงต่อเนื่องกันไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด จึงจัดบรรยากาศอยู่ในทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้ไม่หมด 1.2 น้าที่อยู่ในวัฎจักร (water in cycle) น้าที่อยู่ในวัฎจักรจะหมุนเวียนเปลี่ยนไปจากสภาพหนึ่ง ไปเป็นอีกสภาพหนึ่งเรื่อยไปโดยไม่มีสิ้นสุด เช่น จากฝน หิมะ ลูกเห็บตกลงสู่พื้นดิน บางส่วนระเหยกลับ ไปสู่บรรยากาศ บางส่วนไหลซึมลึกลงไปเป็นน้าใต้ดิน บางส่วนไหลไปตามพื้นผิวดินลงสู่แม่น้าลาคลอง
  • 4. ออกสู่ทะเลมหาสมุทร และกลับระเหยกลายเป็นไอน้าอยู่ในบรรยากาศและจับตัวเป็นก้อนเมฆตกลงมา เป็นฝนอีก การหมุนเวียนของน้าแบบนี้จึงไม่มีที่สิ้นสุด มีอยู่ตลอดไป ที่มา : http://www.scimath.org 2. ทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้ ทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้หรือรักษาไว้ได้ (replaceable and maintainable natural resources) แบ่งได้ดังนี้ ที่มา : http://www.scimath.org 2.1 น้าที่อยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง (water in place) หมายถึง น้าที่อยู่ในที่เฉพาะแห่ง เช่น น้าในภาชนะ น้าในเขื่อน เมื่อใช่ไปเรื่อย ๆ ปริมาณจะลดลง แต่จะมีปริมาณเพิ่มขึ้นได้เมื่อเกิดฝนตก น้าที่อยู่ ณ ที่ใดที่ หนึ่งเมื่อใช้แล้วก็จะหมดไป แต่สามารถที่จะหามาทดแทนใหม่ได้ 2.2 ดิน (soil) หมายถึง เนื้อดินที่เป็นที่อยู่อาศัยของพืช เป็นแหล่งสะสมแร่ธาตุอาหารที่จาเป็น สาหรับพืช เพราะเหตุที่อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค ส่วนมากมาจากพืชซึ่งเจริญเติบโตมา
  • 5. จากดินหรือได้จากสัตว์ซึ่งกินพืช ดินจึงเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับสิ่งมีชีวิต แต่ดินเกิดทดแทนตามธรรมชาติได้ช้า มาก กว่าจะได้เนื้อดินหนา 1 นิ้ว ธรรมชาติต้องใช้เวลาสร้างถึง 100 ปี 1,000 ปี เป็นอย่างน้อย อย่างไรก็ ตามถึงดินจะเกิดได้ช้าแต่มนุษย์ก็สามารถดูแลรักษาดินให้คงมีคุณภาพเหมือนเดิมได้โดยการใส่ปุ๋ ยหรือ การใช้ประโยชน์จากดินอย่างถูกต้องตามหลักการอนุรักษ์ เพราะฉะนั้นลักษณะสมบัติของดินในแง่ของ ทรัพยากรธรรมชาติแล้วจัดเป็นประเภทที่สามารถรักษาให้คงอยู่ได้ (maintainable) มากกว่าการเกิดขึ้น ทดแทน (replaceable) 2.3 ป่าไม้ (forest) ทรัพยากรป่าไม้นับว่ามีความสาคัญมากในแง่ของการอนุรักษ์ดิน น้า และ สัตว์ป่า ซึ่งอานวยประโยชน์ให้มนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม เนื่องจากป่าไม้สามารถขึ้น ทดแทนโดย ธรรมชาติ หรือการปลูกให้เป็นป่ามาใหม่ได้ ป่าไม้จึงถูกจัดอยู่ในทรัพยากรธรรมชาติพวกที่เกิดขึ้นทดแทน และรักษาให้คงอยู่ได้ 2.4 ทุ่งหญ้า (rangeland) หมายถึง พื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งที่ส่วนใหญ่มีพืชวงศ์หญ้า และพืชพันธุ์อื่นๆ ขึ้นอยู่เองตามธรรมชาติ มักเป็นที่ที่มีฝนตกน้อย ใช้เป็นที่หากินของสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า เป็นที่เหมาะแก่ การดาเนินการจัดการโดยอาศัยพื้นฐานทางนิเวศวิทยามากกว่าพื้นฐานทางการเกษตร และใช้ประโยชน์ แบบเอนกประสงค์ทุ่งหญ้าเช่นเดียวกับป่าไม้ จัดเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้น ทดแทน และรักษาให้คง อยู่ได้ 2.5สัตว์ป่า (wildlife) 2.6 ทรัพยากรกาลังงานมนุษย์ (human resources) กาลังงานมนุษย์จัดเป็นทรัพยากรธรรมชาติ ประเภทหนึ่ง มนุษย์เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติตามกฎของธรรมชาติ มนุษย์สามารถใช้ประโยชน์ จากตนเองให้เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ชาติและต่อสังคม โดยอาศัยกาลังงานที่มีอยู่ในตัวมนุษย์และกาลัง ที่ว่านี้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ กาลังงานมนุษย์แบ่งออกได้เป็น 2 ทางคือ กาลังงานทางร่ายกาย และกาลังทางจิต (body and spirit) กาลังงานทางร่างกาย ได้แก่ ความแข็งแรงของร่างกาย ส่วนกาลัง ทางจิต ได้แก่ การนึกคิดและการใช้เหตุผล การจินตนาการ ถ้ามนุษย์มีความเป็ นอยู่ดี มีการศึกษา อนามัย ดี มีความรู้ ความชานาญและประกอบการงานอย่างมีประสิทธิภาพหรือรู้จักใช้ทรัพยากรอื่น ๆ อย่างชาญ ฉลาดแล้วย่อมทาให้กาลังงานที่ต้องสูญเปล่าลดน้อยลงและสามารถใช้กาลังงานให้เป็นประโยชน์แก่งานใน ทุก ๆ ด้านได้อย่างเต็มที่ กาลังงานมนุษย์จึงเป็นทรัพยากรที่ควรจะได้มีการอนุรักษ์และจัดการใช้ประโยชน์ ให้เหมาะสม
  • 6. 3. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป (exhaustible natural resources) ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องศึกษาเพื่อหาแนวทางในการอนุรักษ์ให้สามารถมีใช้ประโยชน์ได้นานที่สุด ซึ่ง ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ได้แก่ ที่มา : http://www.scimath.org 3.1 ทรัพยากรแร่ธาตุ 3.2 ทรัพยากรพลังงาน 3.3 ที่ดินในสภาพธรรมชาติ (land in natural condition) ได้แก่ สถานที่ใช้ศึกษาธรรมชาติและ สถานที่วิเวกห่างไกลผู้คน (wilderness area) หากสถานที่เหล่านี้ถูกทาลายจะไม่สามารถสร้างมาทดแทน ใหม่ได้ ประเทศที่เจริญมีวัฒนธรรมสูงยิ่งมีความจาเป็นในการที่จะรักษาสภาพธรรมชาติที่ไม่เคยถูกรบกวน มาก่อนไว้สาหรับศึกษาหาความรู้ตามธรรมชาติ มีไว้สาหรับคุณค่าทางจิตใจ เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่ สามารถทาให้เกิดขึ้นมาใหม่ได้เพราะมีลักษณะสมบัติเฉพาะตัว (unique) เช่น น้าตก หน้าผา จุดเด่นตาม ธรรมชาติต่างๆ ทรัพยากรทางนันทนาการ ทรัพยากรเป็นเครื่องมือ หรือสื่อ หรือวิถีทางที่จะนาไปสู่การร่วมกิจกรรม การทากิจกรรมหรือการ ส่งเสริมกิจกรรมที่มนุษย์สามารถเข้าถึงได้ ทรัพยากรทางนันทนาการจึงเป็นเครื่องมือ หรือสื่อ หรือวิถีทางที่จะทาให้บุคคลเข้าร่วมกิจกรรม นันทนาการ การทากิจกรรมนันทนาการหรือการส่งเสริมกิจกรรมนันทนาการที่จะทาให้มนุษย์เข้าถึง นันทนาการได้ตามต้องการด้วยความพอใจและสมัครใจ
  • 7. ทรัพยากรทางนันทนาการจึงเป็นปัจจัยหลักในการสร้างกิจกรรมที่จะทาให้มนุษย์ได้เข้าถึงกิจกรรม นันทนาการที่แท้จริง ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติเป็นองค์ประกอบหลักของทรัพยากรนันทนาการที่สาคัญที่สุด เช่น สถานที่ ในการทากิจกรรมนันทนาการ องค์ประกอบของทรัพยากรทางนันทนาการ ทรัพยากรทางนันทนาการในที่นี้จะกล่าวถึงทรัพยากรที่ใช้ในการประกอบกิจกรรมนันทนาการได้ แบบองค์รวมของนันทนาการ องค์ประกอบของทรัพยากรทางนันทนาการ (สานักส่งเสริมและพัฒนานันทนาการ, 2546 : 2) ซึ่ง ประกอบด้วย 1. สถานที่หรือแหล่งการจัดกิจกรรมนันทนาการ 2. อุปกรณ์และสื่อทางนันทนาการ 3. บุคลากรและองค์การทางนันทนาการ 4. กิจกรรมทางนันทนาการ 5. การจัดการทางนันทนาการ 1. สถานที่หรือแหล่งการจัดกิจกรรมนันทนาการ ทรัพยากรทางนันทนาการเป็นที่องค์ประกอบเพื่อนันทนาการที่เป็นสถานที่หรือแหล่งนันทนาการ จะเป็นพื้นที่หรือสภาพแวดล้อมที่สามารถเข้าไปศึกษา ไปดู ไปชม หรือไปทากิจกรรม ภายใต้บรรยากาศใน ภูมิประเทศที่ส่งเสริมให้รู้สึกสบาย ผ่อนคลาย สถานที่บางแห่งได้ทาหน้าที่หลายอย่าง เช่น เป็นห้องเรียน แหล่งเรียนรู้ เป็นสถานที่ประวัติศาสตร์ เป็นแหล่งท่องเที่ยว เป็นทรัพยากรธรรมชาติ ตามสภาพที่จะนามา เป็นประเด็นในการพิจารณา เมื่อนามาใช้ทากิจกรรมเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ ทากิจกรรมเสริมความ สนุกสนานก็ถือว่าเป็นสถานที่หรือแหล่งนันทนาการ บางที่สถานที่หรือแหล่งนันทนาการก็มีการจัดการเข้ามาร่วม เช่น ค่ายเยาวชน อุทยาน ประวัติศาสตร์ สวนสาธารณะ ค่ายลูกเสือ ฯลฯ สถานที่และแหล่งนันทนาการจึงเป็นทรัพยากรทาง นันทนาการแบบครอบจักรวาล คือแหล่งหรือพื้นที่ที่ใช้ไม่ว่าจะเป็นการเข้าถึงสถานที่หรือแหล่งนันทนาการ เพื่อนันทนาการโดยตรงหรือโดยอ้อม ถ้าเข้าหลักการทางนันทนาการก็ถือว่าเป็นทรัพยากรทางนันทนาการ ได้ทั้งสิ้น
  • 8. สถานที่นันทนาการนับว่าเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่ง และเป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องทาการบารุงรักษาไว้ ทั้งนี้เพราะสถานที่นันทนาการจะเสื่อมสภาพไปตามกาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานที่นันทนาการทาง วัฒนธรรม แม้แต่สถานที่นันทนาการทางธรรมชาติ เช่น ทะเลสาบ ชายหาด ถ้า น้าตกและอื่น ๆ เมื่อมีผู้เข้า ไปใช้บริการมาก ๆ จะทาให้เสื่อมโทรมและสกปรกได้เช่นเดียวกัน ถ้าหากไม่มีการบารุงรักษาอย่างถูกต้อง ตามหลักวิชาการ ตัวอย่างสถานที่หรือแหล่งนันทนาการ อุทยานแห่งชาติ อุทยานแห่งชาติ หมายถึง “ที่ดินซึ่งรวมทั้งพื้นที่ดินทั่วไป ภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง บาง ลาน้า ทะเลสาบ เกาะ และชายฝั่งที่ได้รับการกาหนดให้เป็น อุทยานแห่งชาติ ลักษณะที่ดินดังกล่าวเป็นที่ที่ มีสภาพธรรมชาติที่น่าสนใจ และมิได้อยู่ในกรรมสิทธิ์หรือครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ของบุคคลใด ซึ่งมิใช่ทบวงการเมือง ทั้งนี้การกาหนดดังกล่าวก็เพื่อให้คงอยู่ในสภาพเดิม เพื่อสงวนไว้ให้เป็นประโยชน์แก่ การศึกษาและ ความรื่นรมย์ของประชาชนสืบไป” (พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504) อุทยานแห่งชาติของไทยทุกแห่งมีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 10 ตารางกิโลเมตร ซึ่งจัดตามหลักสากลของ การจัดการอุทยานแห่งชาติ มีการบริหาร โดยอานาจรัฐที่เป็นส่วนกลาง โดยผ่านคณะกรรมการใน ระดับชาติ เรียกว่า คณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ อันประกอบไปด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ จากหลากหลายสาขา อาชีพและหลายหน่วยงาน วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งอุทยานแห่งชาติของประเทศไทย 1. เพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ คือต้องการอนุรักษ์สภาพธรรมชาติของพื้นที่ให้คงอยู่ตาม ธรรมชาติ ป้ องกันการรบกวนโดยมนุษย์ โดยเฉพาะทรัพยากรที่สาคัญ เช่น สัตว์ป่า พืชพรรณ และลักษณะ ธรรมชาติที่สวยงามเป็นพิเศษ รวมทั้งแหล่งอนุรักษ์พันธุกรรมที่สาคัญ 2. เพื่อการท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ เนื่องจากในเขตอุทยานแห่งชาติมีทิวทัศน์ทาง ธรรมชาติที่สวยงามเหมาะกับการใช้ประโยชน์ทางการ ท่องเที่ยว เพื่อให้เกิดความสุขกายสุขใจ และช่วย ผ่อนคลายความเครียดจากการปฏิบัติงานประจา 3. เพื่อการศึกษาค้นคว้าวิจัย พื้นที่อุทยานแห่งชาติสามารถจัดเป็นห้องทดลองทาง ธรรมชาติกลางแจ้ง ที่สามารถค้นคว้าวิจัยไม่มีที่สิ้นสุด ของนักศึกษา นักวิทยาศาสตร์และประชาชนทั่วไป
  • 9. วนอุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน (Forest Park) หมายถึง พื้นที่ขนาดเล็ก จัดตั้งขึ้นเพื่อจุดประสงค์สาหรับการ พักผ่อนหย่อนใจ โดยจะทาการปรับปรุงตกแต่งสถานที่เหล่านี้ให้เหมาะสม มีความสวยงามและโดดเด่น ในระดับท้องถิ่น จุดเด่นอาจจะได้แก่ น้าตก หุบเหว หน้าผา ถ้า หรือ หาดทราย เป็นต้น หลักเกณฑ์การจัดตั้งวนอุทยาน 1. พื้นที่นั้นจะต้องเป็นพื้นที่ที่มีขนาดกว้างใหญ่เพียงพอที่จะรักษาสถานะทางนิเวศวิทยาของพื้นที่ ไว้ได้ ซึ่งตามหลักสากล ได้กาหนดมาตรฐานไว้ไม่น้อยกว่า 10 ตารางกิโลเมตร แต่ทั้งนี้ก็ไม่เป็นเกณฑ์ ตายตัว ขึ้นอยู่กับคุณค่าของพื้นที่เป็นสาคัญ 2. พื้นที่นั้นจะต้องประกอบไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า หรือมีพืช สัตว์ ที่น่าสนใจและหายาก มีทิวทัศน์ธรรมชาติที่สวยงาม หรือมีปรากฏการณ์ธรรมชาติที่น่าสนใจ หรือมี จุดเด่นที่เป็นเอกลักษณ์หาได้ยาก หรือมีประวัติความเป็นมา ที่มีคุณค่าในด้านทางประวัติศาสตร์ หรือมี มนุษย์ศาสตร์ 3. พื้นที่นั้นจะต้องเหมาะต่อการท่องเที่ยว พักผ่อน พักแรม หรือการศึกษาหาความรู้ ซึ่งจะมาก น้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับขนาดของพื้นที่ และวัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง วนอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย คือ วนอุทยานน้าตกกระเปาะ จังหวัดชุมพร ประกาศ จัดตั้ง เมื่อปี พ.ศ.2501 2 ประโยชน์ของแหล่งการจัดกิจกรรมนันทนาการ 1. แหล่งนันทนาการจะช่วยส่งเสริมและกระตุ้นให้บุคคลทั่วไปหันมาสนใจในกิจกรรม นันทนาการ และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้นทั้งต่อตนเองและส่วนรวม 2. แหล่งนันทนาการถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางหรือสถานที่ของการพบปะพูดคุย หรือสนทนากัน ระหว่างสมาชิกในสังคมนั้นๆ ซึ่งจะช่วยทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนทัศนคติ ค่านิยม ความคิดเห็นซึ่งกันและ กัน ผลที่จะได้ตามมาในภายหลังก็คือการช่วยให้บุคคลเหล่านั้นเกิดความคิดสร้างสรรค์ในหน้าที่การงาน หรืออื่นๆ ตามแต่โอกาสจะอานวย
  • 10. 3. แหล่งนันทนาการจะเป็นแหล่งส่งเสริมและสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตของ สมาชิกในสังคมนั้นๆ ได้เป็นอย่างดี เช่นกิจกรรมออกกาลังกาย เล่นกีฬา ของสนามกีฬา สถานเด็กเล่น สวนสาธารณะ 4. แหล่งนันทนาการยังเป็นแหล่งที่ช่วยในการอบรมบ่มนิสัยของสมาชิกที่เป็นเด็กและ เยาวชน หรือบุคคลทั่วไป อีกทั้งยังเป็นแหล่งช่วยเหลือในการป้ องกันอาชญากรรมอีกด้วย 2. อุปกรณ์และสื่อทางนันทนาการ การนาอุปกรณ์หรือสื่อมาใช้แล้วเกิดผลทางนันทนาการ ก็นับว่าอุปกรณ์และสื่อนั้นเป็นอุปกรณ์และ สื่อทางนันทนาการ และเป็นทรัพยากรทางนันทนาการด้วย เช่น เครื่องดนตรี เครื่องกีฬา เรือ แพ ของเล่น ฯลฯ อุปกรณ์และสื่อทางนันทนาการเหล่านี้ยังช่วยให้มนุษย์มีกิจกรรมตามกฎ กติกา หรือข้อตกลง ตาม กรรมวิธีตั้งแต่การเริ่มต้นจนมีทักษะการเรียนรู้ ถึงขั้นมีความชานาญ มีความสามารถระดับที่สูงขึ้น ที่มา : http://market.onlineoops.com/415738 อุปกรณ์และสื่อทางนันทนาการเป็นสิ่งที่มนุษย์แสวงหาได้เสมอในบทบาทของอุปกรณ์และสื่อทาง นันทนาการที่เกิดจากชีวิตประจาวัน ชีวิตการเรียน ชีวิตการทางาน เมื่อนาอุปกรณ์และสื่อมาใช้เพื่อช่วยให้ มนุษย์มีความสุข ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ หรือใช้เวลาอิสระเพื่อการเพลิดเพลินจะได้อุปกรณ์และสื่อนั้น เป็นอุปกรณ์และสื่อทางนันทนาการ ตัวอย่างเช่น การอ่านหนังสือ ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ หรือแม้แต่การใช้มือ เคาะจังหวะ หรือผิวปากเป็นเพลง ฯลฯ เสริมสร้างประสบการณ์ที่ดี ที่ผ่อนคลาย และมีความสุขเกิดขึ้น ก็ ถือเป็นทรัพยากรทางนันทนาการแล้ว อุปกรณ์และสื่อทางนันทนาการซึ่งหลากหลายและมากมายแบบ เฉพาะเจาะจงตามหน้าที่ของอุปกรณ์และสื่อ หรือการนาอุปกรณ์และสื่อที่มีหน้าที่อย่างอื่นมาใช้เพื่อ นันทนาการ จึงถือรวมเป็นทรัพยากรทางนันทนาการได้ทั้งหมด
  • 11. 3. บุคลากรและองค์การทางนันทนาการ มนุษย์เป็นทรัพยากรบุคคลที่สาคัญของกิจการต่างๆ ในการขับเคลื่อนให้เกิดหรือมีการกระทา บุคลากรทางนันทนาการจึงเป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ มีทักษะและประสบการณ์ในเรื่อง นันทนาการ ซึ่งหมายถึงบุคลากรที่เป็นผู้นาหรือผู้ประกอบกิจกรรมทางนันทนาการกับบุคลากรในการ จัดการนันทนาการ เช่น ผู้นากลุ่ม หัวหน้าครอบครัว ผู้มีความรู้ความสามารถในการสร้างกิจกรรม นันทนาการ ฯลฯ บุคลากรมีส่วนทาให้กิจกรรมนันทนาการน่าสนใจและเกิดการกระทาร่วมกัน ส่วนองค์การ เป็นหน่วยสังคมหรือหน่วยงานที่มีกลุ่มบุคคลร่วมกันเข้ามาดาเนินการกิจกรรมนันทนาการ ให้บรรลุ เป้ าหมาย ที่มา : http://campus.sanook.com/u_life/activity_04195.php ตัวอย่างบุคลากรและองค์การทางนันทนาการ เช่น ผู้นาค่ายเยาวชน ศิลปิน มัคคุเทศก์ องค์การ สวนสัตว์ สวนสนุก หน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน ที่จัดดาเนินการด้านนันทนาการ 4. กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการ ถ้าเป็นทรัพยากรทางนันทนาการได้จะเป็นทรัพยากรในรูปแบบนามธรรม ใน ที่นี้จึงรวมเอากิจกรรมนันทนาการเป็นทรัพยากรนันทนาการด้วยเหตุผล 1. กิจกรรมนันทนาการเป็นสื่อนามธรรมที่สามารถก่อให้เกิดกิจกรรมร่วมกันของบุคคลและสถานที่ 2. กิจกรรมนันทนาการเป็นสิ่งปฏิบัติเชื่อมการจัดการสนองต่อความต้องการของบุคลากรหรือ องค์การ
  • 12. 3. กิจกรรมนันทนาการก่อให้เกิดผลลัพธ์ คือ การร่วมกันในการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ผ่อน คลาย สนุกสานเพลิดเพลิน จึงกล่าวได้ว่ากิจกรรมนันทนาการเป็นสื่อทางนันทนาการที่เป็นนามธรรมก่อให้เกิดเหตุการณ์เห็น เป็นรูปธรรมที่มีประโยชน์ได้และให้ผลจากการประกอบกิจกรรมนันทนาการนั้น ตัวอย่างกิจกรรมนันทนาการ เช่น การเล่มเกม การท่องเที่ยว การทากิจกรรมกลางแจ้ง การทางาน อดิเรก การสังสรรค์ การเล่นกอล์ฟ ฯลฯ ที่มา : http://krurukbie.blogspot.com/2012/11/blog-post.html 5. การจัดการทางนันทนาการ ทรัพยากรทางการจัดการมี 4 ด้าน คือ บุคลากร (Man) งบประมาณ ( Money) ทรัพยากรสิ่งของ (Meterial) และการบริหารจัดการ (Management) การใช้การบริหารจัดการทางนันทนาการ เป็นเรื่องของ การใช้บุคากรและองค์การ สถานที่หรือแหล่งนันทนาการ อุปกรณ์และสื่อทางนันทนาการและกิจกรรม นันทนาการมาจัดการให้เป็นระบบ ระเบียบ มีแนวปฏิบัติทาให้เกิดรูปแบบนันทนาการที่เป็นธุรกิจบริการ เช่น โรงภาพยนตร์ ร้านคาราโอเกาะ สถานบันเทิง สวนสัตว์ การจัดงานเทศกาล การแสดงมหรสพ ฯลฯ การนาเอาการจัดการทางนันทนาการมาเป็นองค์ประกอบหนึ่งของทรัพยากรนันทนาการทาให้เกิด การจัดการของภาครัฐ เช่น สถานที่ราชการต่างๆ กาหนดให้มีการบริหารจัดการด้านนันทนาการ ส่วนของ ภาคเอกชนดาเนินการควบคู่ไปกับธุรกิจการค้า พื้นฐานทรัพยากรทางนันทนาการของไทย ทรัพยากรทางนันทนาการที่กล่าวมานั้น เมื่อพิจารณาถึงพื้นฐานทรัพยากรที่เราจะเข้าถึงได้ จะ พบว่าคนไทยโชคดีที่ได้อาศัยอยู่ในประเทศไทย โดยมีปัจจัยสาคัญ คือ
  • 13. 1. ภูมิประเทศเหมาะสม มีถิ่นฐานอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ จนสามารถใช้เป็น ทรัพยากรธรรมชาติ มาเป็นทรัพยากรทางนันทนาการได้มากมาย 2. ภูมิอากาศเอื้ออานวยต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของคนไทย ประเทศไทยมีภูมิอากาศแบบเขต ร้อน แต่มีทะเลถึงสองฝั่งทาให้ภูมิอากาศไม่ร้อนนัก มี 3 ฤดูกาล คือฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว ทาให้มี สภาพอากาศที่สบายเพียงพอที่จะพักผ่อนได้ทุกฤดูกาล 3. วัฒนธรรมประเพณีไทย ประเทศไทยมีวัฒนธรรมและประเพณีที่สวยงาม และมีความหมายต่อ การดารงชีวิต วัฒนธรรมและประเพณีในระดับชาติสะท้อนสภาพสังคมไทยถึงภูมิปัญญาในการใช้ วัฒนธรรมประเพณีเพื่อให้เกิดความสนุกสนานและมีคุณค่าทางจิตใจที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติต่อตนเอง และสังคม วัฒนธรรมประเพณีระดับท้องถิ่นจะสะท้อนถึงสภาพชีวิต การทามาหากิน การประกอบอาชีพ และความเชื่อ ค่านิยมซึ่งจะแฝงด้วยคติความเชื่อ และเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่จะหลอมรวมสังคมท้องถิ่น ในการใช้สภาพแวดล้อมรอบตัวเพื่อเป็นทรัพยากรในการทากิจกรรมนันทนาการ 4. อุปนิสัยและวิถีชีวิตของคนไทย คนไทยชอบอิสระและรักสนุก จึงง่ายที่จะจัดกิจกรรม นันทนาการและการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ ความร่วมมือร่วมใจกันอย่างสนุกสนานเป็นที่มาของการมี อุปนิสัยใจคอยิ้มแย้ม แจ่มใส ตามลักษณะของคนไทย พื้นฐานวิถีชีวิตของคนไทยผูกพันกับครอบครัว และ เป็นครอบครัวแบบขยาย หมายความว่า เป็นสังคมที่นับถือผูกพันกับพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย และเคารพรักนับ ถือกันในระบบเครือญาติและผูกพันกับบุตรหลาน แม้แต่เพื่อนบ้าน ผู้ใกล้ชิด มีการเคารพนับถือกันเสมอ ประหนึ่งญาติพี่น้อง ทาให้ความสัมพันธ์ก่อเกิดกิจกรรมในครอบครัว ญาติมิตรสนิทสนมกันแบบแนบแน่น กิจกรรมนันทนาการจะใช้ทรัพยากรมนุษย์มาเป็นทรัพยากรทางนันทนาการด้วยการเกื้อกูล และกิจกรรม ผูกพัน สัมพันธ์ชุมชนกันแบบหมู่คณะต่อไปได้