SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการสามารถใช้สิทธิเสรีภาพในการทาสิ่งเหล่านี้ได้หรือไม่ ? 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เปิดโอกาสให้สิทธิเสรีภาพแก่ ประชาชนชาวไทยได้มีส่วนร่วมทางการเมืองได้หลายช่องทาง เช่น 
เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น 
สิทธิเสรีภาพในการมีส่วนร่วมทางการเมือง 
เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ เป็นต้น 
ปัจจุบันเราสามารถเห็นการใช้สิทธิเสรีภาพเหล่านี้ในลักษณะที่เป็นรูปธรรมตามหน้าจอ โทรทัศน์หรือสื่อสิ่งพิมพ์ได้บ่อยครั้ง เช่น 
การชุมนุมเรียกร้องทางการเมือง 
การนาดอกไม้หรือสิ่งของไปให้กาลังใจแก่พรรคการเมืองหรือนักการเมืองบางกลุ่ม 
การแสดงความคิดเห็น/วิพากษ์วิจารณ์ในเรื่องทางการเมือง
ข้าราชการคือใคร ? 
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ข้าราชการ คือ บุคคลซึ่งรับการบรรจุแต่งตั้งให้รับราชการ ปฏิบัติหน้าที่ และรับเงินเดือนในกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ของประเทศไทย ส่วนองค์กร ที่บุคคลดังกล่าวปฏิบัติงานอยู่นั้นเรียก ส่วนราชการ 
จากการศึกษาของศาสตราจารย์ เวเบอร์ (Max Weber , 1958) ข้าราชการได้ แยกบทบาทของตนอย่างชัดเจนจากนักการเมือง กล่าวคือ ข้าราชการต้องเป็นผู้มี ความรู้ ความสามารถเฉพาะอย่าง เข้ารับราชการโดยระบบคุณธรรมและทาหน้าที่ที่ สอดคล้องกับงานวิชาชีพของตนอง คือ เป็นเสมือนผู้เชี่ยวชาญ ขณะที่นักการเมืองเน้น การให้การบริการแก่ประชาชนและนักการเมืองต้องกาหนด นโยบาย โดยมีข้าราชการ ประจาเป็นผู้ปฏิบัติตามนโยบายเหล่านั้น
ความสัมพันธ์ระหว่าง ข้าราชการประจา กับนักการเมือง 
 ในปี 1981 นักวิชาการก็ได้พัฒนากรอบแนวความคิดของความสัมพันธ์ระหว่าง ข้าราชการประจา กับนักการเมือง ในรูปแบบการเปรียบเทียบบทบาทและรูปแบบการ ทางานจากประเทศสหรัฐ ฯ อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี เนเธอร์แลนด์ และ สวีเดน ผลการศึกษาปรากฏว่าบทบาทที่เด่นชัดและชี้ ให้เห็นความแตกต่างของ นักการเมืองกับข้าราชการประจาก็คือ การสังกัดพรรค การรณรงค์และวิพากษ์นโยบายทางการเมือง เพื่อกลุ่มผลประโยชน์และความ เป็นผู้เชี่ยวชาญ นักการเมืองถูกจัดกลุ่มอยู่ในกลุ่มสังกัดพรรคกลุ่มผลประโยชน์ วิพากษ์และรณรงค์ทาง การเมือง ซึ่งข้าราชการมักจะไม่เกี่ยวข้องด้วย (Joel D. Aberbach , Robert D. Putnam and bert A. Rockman , 1981 : 86-114) บทบาทของข้าราชการจึงจากัด ตนเองในฐานะผู้เชี่ยวชาญ และแก้ปัญหาโดยเน้นความรู้ความสามารถทางวิชาการเป็นหลัก
การเปลี่ยนแปลงของข้าราชการไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน 
ข้าราชการไทยในยุคก่อน มีศักดิ์ศรีและสานึกในอานาจหน้าที่ ที่ถือเป็นผู้ทาหน้าที่ดูแลบาบัดทุกข์บารุง สุขของราษฎรไทยต่างพระเนตรพระกรรณ เมื่อมองย้อนยุคไปในประวัติศาสตร์ราชการไทย จึงจะพบจะ เห็นข้าราชการไทยส่วนใหญ่ที่ซื่อสัตย์สุจริต ทาหน้าที่ตรงไปตรงมา เป็นแบบอย่างที่ควรเคารพยกย่อง และศรัทธา เป็นหลักของการบริหารกิจการบ้าน เมืองอย่างแท้จริง แต่ต่อมาในยุคหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เรื่อยมาจนถึงยุคปัจจุบัน จะเห็นได้ว่า ข้าราชการประจาที่ควรจะเป็นหลัก และเป็นเครื่องไม้เครื่องมือที่ดี เพื่อขับเคลื่อนให้ฝ่ายการเมืองบริหาร จัดการบ้านเมืองได้ตามนโยบาย ที่แถลงเป็นสัญญาประชาคมต่อรัฐสภา เพื่ออานวยประโยชน์สุขแก่อาณา ประชาราษฎร การณ์กลับกลายเป็นว่า ฝ่ายการเมืองมักจะใช้อานาจ บาตรใหญ่อย่างลุแก่อานาจใน การ แต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการเอาตามใจชอบ โดยไม่คานึงถึงหลักคุณธรรม 
ขณะเดียวกับที่ข้าราชการไทยส่วนใหญ่หรือเกือบทั้งหมด ก็กลับยอมสิโรราบต่อฝ่ายการเมือง แล้วแต่ฝ่าย ผู้มีอานาจจะนาพาไป มิหนาซ้า ยิ่งนับวันยิ่งจะมีการเอาตัวรอดด้วยการยอมสยบ ยอมตนเป็นสมุนรับใช้ ฝ่ายการเมืองอย่างไม่คานึงถึงผิดชอบชั่วดี และศักดิ์ศรีแห่งความเป็นข้าราชการ 
(ข้าราชการกับนักการเมืองไทย โดย วิทยา วชิระอังกูร, 2 ตุลาคม 2554, ผู้จัดการออน์ไลน์)
การเปลี่ยนแปลงของข้าราชการไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน (ต่อ) 
เราจึงได้เห็นภาพการวิ่งเต้น การซื้อและขายตาแหน่งทางราชการอย่างน่าอัปยศอดสู ไม่ต่างจาก การซื้อสิทธิ์ขายเสียงที่ทาให้ฝ่ายการเมืองได้อานาจมาอย่างไม่ชอบธรรม การเมืองไทยกลายเป็น ธุรกิจการเมือง ขณะเดียวกันที่ระบบราชการไทย ก็กาลังจะกลายเป็นธุรกิจราชการไม่แพ้กัน  ปัจจุบันโดยพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ได้กาหนดให้มี “คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม” ที่เรียกคาย่อว่า ก.พ.ค. มีหน้าที่เสนอแนะหรือปรับปรุง นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ที่เกี่ยวกับการพิทักษ์ระบบคุณธรรมในราชการ คุ้มครองระบบคุณธรรม โดย ก.พ.ค. จะทาหน้าที่ในลักษณะองค์กรกึ่งตุลาการ ดูแลพิจารณา วินิจฉัยเรื่องอุทธรณ์ ร้องทุกข์ของข้าราชการที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม เป็นด่านที่พึ่งสุดท้าย สาหรับองค์กรฝ่ายบริหาร ซึ่งเมื่อผ่านการพิจารณาวินิจฉัย จาก ก.พ.ค. แล้ว ผู้อุทธรณ์เห็นว่ายัง ไม่ได้รับความเป็นธรรมเพียงพอ ก็สามารถนาเรื่องไปฟ้องร้องต่อศาลปกครองสูงสุดได้อีกทาง หนึ่ง 
(ข้าราชการกับนักการเมืองไทย โดย วิทยา วชิระอังกูร, 2 ตุลาคม 2554, ผู้จัดการออน์ไลน์)
การเปลี่ยนแปลงของข้าราชการไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน (ต่อ) 
กรณีตัวอย่างที่ปรากฏชัดต่อสังคมเมื่อไม่นานมานี้ คือ กรณี นายวงศ์ศักดิ์ สวัสดิ์พาณิชย์ ร้องเรียนต่อ ก.พ.ค ว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการถูกคาสั่งโยกย้ายจากอธิบดีกรมการ ปกครอง ไปดารงตาแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย และ ก.พ.ค.พิจารณาวินิจฉัยว่ากระทรวงมหาดไทยดาเนินการโดยไม่ชอบ จึงมีมติให้ ยกเลิกคาสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่สั่งย้ายนายวงศ์ศักดิ์ และให้นายวงศ์ศักดิ์กลับไปดารง ตาแหน่งอธิบดีกรมการปกครองดังเดิม โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 27 เมษายน 2553 อันเป็นวันที่ ออกคาสั่ง ส่วนผู้ที่มาดารงตาแหน่งแทนนายวงศ์ศักดิ์ โดยไม่ชอบ ให้เป็นหน้าที่ของ ปลัดกระทรวงมหาดไทย จัดหาตาแหน่งใหม่ให้ต่อไป
ขอบเขตแนวทางการปฏิบัติตัวแก่ข้าราชการพลเรือนในเรื่องทางการเมือง 
ในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มีบทบัญญัติที่ให้สิทธิเสรีภาพและ กาหนดขอบเขตแนวทางการปฏิบัติตัวแก่ข้าราชการพลเรือนในเรื่องทางการเมืองไว้ กล่าวคือ 
มาตรา 43 กาหนดให้ข้าราชการพลเรือนสามัญมีเสรีภาพในการรวมกลุ่ม แต่ทั้งนี้ต้องไม่ กระทบประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผ่นดินและความต่อเนื่องในการจัดทาบริการ สาธารณะ และต้องไม่มีวัตถุประสงค์ทางการเมือง 
มาตรา 81 กาหนดให้ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องสนับสนุนการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขด้วยความบริสุทธิ์ใจ 
มาตรา 82 (9) กาหนดให้ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องวางตัวเป็นกลาง ทางการเมือง
ตาแหน่งข้าราชการการเมือง 
ตามกฎหมายระเบียบข้าราชการการเมือง มีตาแหน่งดังต่อไปนี้ 
11. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี 12. รองเลขาธิกานายกฯฝ่ายการเมือง 13. โฆษกประจาสานักนายกฯ ( โฆษกรัฐบาล ) 14. รองโฆษกประจาสานักนายกฯ 15. ประจาสานักเลขาธิการนายกฯ 16. เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง 17. เลขานุการรัฐมนตรีทบวง ( ดูข้อ 5-6 ) 18 เลขานุการรัฐมนตรีประจาสานักนายกฯ 19. ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการ 20. ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการทบวง. 
1. นายกรัฐมนตรี 2. รองนายกรัฐมนตรี 3. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง 4. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง 5. รัฐมนตรี ทบวง ( ปัจจุบันยกเลิก ) 6. รัฐมนตรีช่วยว่าการทบวง ( ปัจจุบันยกเลิก ) 7. รัฐมนตรีประจาสานักนายกฯ 8. ที่ปรึกษานายกฯ 9. ที่ปรึกษารองนายกฯ 10. ที่ปรึกษา รัฐมนตรี และ ที่ปรึกษารัฐมนตรีประจาสานักนายกฯ
ข้อแตกต่างระหว่างข้าราชการการเมืองกับข้าราชการประจา 
1. ข้าราชการการเมือง ไม่มีขั้นวิ่ง เหมือนข้าราชการประจา 
2. ข้าราชการการเมือง มาจากเหตุผลทางการเมือง 
3. ข้าราชการประจามีขั้นวิ่ง สวัสดิการ บาเหน็จ บานาญ ฯลฯ 
4. ข้าราชการประจามาจากผู้ที่สอบบรรจุได้ ตามระเบียบ กพ. กาหนด 
5. ตาแหน่งสูงสุดของข้าราชการประจาคือ ปลัดกระทรวง ฯ
ระเบียบข้าราชการพลเรือนว่าด้วยมารยาททางการเมืองของข้าราชการ พลเรือน ฉบับลงวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2499 (สมัยสงครามโลกเลย) 
ข้าราชการพลเรือนจะนิยมหรือเป็นสมาชิกใน พรรคการเมืองใดๆ ที่ตั้งโดยชอบด้วยกฎหมาย และจะไป 
ในการประชุมของพรรคการเมืองนั้นเป็นการส่วนตัวก็ได้แต่ในทางที่เกี่ยวกับประชาชนและในหน้าที่ 
ราชการจะต้องกระทาตัวเป็นกลาง ปฏิบัติตามนโยบายของรัฐบาลโดยไม่คานึงถึงพรรคการเมือง และ 
ต้องไม่กระทาการอันเป็นการฝ่าฝืนข้อห้าม ดังต่อไปนี้ 
(1) ไม่ดารงตาแหน่งในพรรคการเมืองใดๆ เว้นแต่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภท 2 หรือข้าราชการการเมือง 
(2) ไม่ใช้สถานที่ราชการในกิจการทางการเมือง 
(3) ไม่วิพากษ์วิจารณ์การกระทา ของรัฐบาลให้ปรากฏแก่ประชาชน 
(4) ไม่แต่งเครื่องแบบราชการไปร่วมประชุมพรรคการเมือง หรือไปร่วมประชุมในที่ สาธารณสถานใดๆ อันเป็นการประชุมที่มีลักษณะทางการเมือง
ระเบียบข้าราชการพลเรือนว่าด้วยมารยาททางการเมืองของข้าราชการ พลเรือน ฉบับลงวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2499 (ต่อ) 
(5) ไม่ประดับเครื่องหมายพรรคการเมืองในเวลาสวมเครื่องแบบราชการหรือในเวลา ราชการหรือในสถานที่ราชการ 
(6) ไม่แต่งเครื่องแบบของพรรคการเมืองเข้าไปในสถานที่ราชการ 
(7) ไม่บังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชาหรือประชาชนเป็นสมาชิกในพรรคการเมืองใดและ ไม่กระทาการในทางให้คุณให้โทษ เพราะเหตุที่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาหรือประชาชนนิยม หรือเป็นสมาชิกในพรรคการเมืองใดที่ตั้งขึ้นโดยชอบด้วยกฎหมาย 
(8) ไม่ทาการขอร้องให้บุคคลใดอุทิศเงินหรือทรัพย์สินเพื่อประโยชน์แก่พรรคการเมือง
ระเบียบข้าราชการพลเรือนว่าด้วยมารยาททางการเมืองของข้าราชการ พลเรือน ฉบับลงวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2499 (ต่อ) 
(9) ไม่โฆษณาหาเสียงเพื่อประโยชน์แก่พรรคการเมือง หรือแสดงการสนับสนุนพรรคการเมืองใดๆ ให้เป็น การเปิดเผยในที่ประชุมพรรคการเมือง และในที่ที่ปรากฏแก่ประชาชน หรือเขียนจดหมายหรือบทความ ไปลงหนังสือพิมพ์หรือพิมพ์หนังสือหรือใบปลิวซึ่งจะจา หน่ายแจกจ่ายไปยังประชาชน อันเป็นข้อความ ที่มีลักษณะของการเมือง 
(10) ไม่ปฏิบัติหน้าที่แทรกแซงในทางการเมือง หรือใช้การเมืองเป็นเครื่องมือเพื่อกระทากิจการต่างๆ อาทิ เช่น วิ่งเต้น ติดต่อกับ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือพรรคการเมือง เพื่อให้นาร่างพระราชบัญญัติหรือ ญัตติเสนอสภาฯ หรือตั้งกระทู้ถามรัฐบาล 
(11) ในระยะเวลาที่มีการสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ไม่แสดงออกโดยตรงหรือโดย ปริยายที่ จะเป็นการช่วยเหลือส่งเสริมสนับสนุนผู้สมัครรับเลือกตั้ง และในทางกลับกันไม่กีดกัน ตาหนิติเตียน ทับถม หรือให้ร้ายผู้สมัครรับเลือกตั้ง 
การฝ่าฝืนระเบียบนี้ถือว่า กระทา ผิดวินัยฐานไม่ถือและปฏิบัติตามระเบียบ ของทางราชการ
คอร์รัปชั่นในประเทศไทย 
ผลการจัดอันดับดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นประจาปี พ.ศ. 2556 พบว่า ประเทศไทยได้ 35 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน อยู่อันดับที่ 102 จากการจัดอันดับทั้งหมด 177 ประเทศทั่วโลก 
จากข้อมูลข้างต้นถือว่าเป็นอันดับที่ไม่ดี หากระบุถึงรายละเอียดการคอร์รัปชั่นในประเทศ ไทย จะพบว่า มีการคอร์รัปชั่นในเชิงนโยบายเป็นจานวนมาก เพราะนักการเมืองเล่นพรรค เล่นพวก โยกย้ายตาแหน่งเพื่อผลประโยชน์ส่วนตน เจ้าหน้าที่ของภาครัฐมีการทุจริต 
ข้อมูลที่ได้มาจากการสารวจภาคธุรกิจ และผู้ประกอบการต่างๆ พบว่า ต้องจ่ายสินบนใน การรับสัมปทานให้เจ้าหน้าที่รัฐถึงร้อยละ 25
แหล่งที่มาของคอร์รัปชั่น 
คอร์รัปชั่น แบ่งได้เป็นสองส่วน คือ 
1) ภาคราชการ ที่เกิดขึ้นได้ตลอดเวลาเพราะข้าราชการเป็นผู้ควบคุมกฎเกณฑ์ 
2) ภาคการเมือง มักเป็นการร่วมมือกันระหว่างข้าราชการ นักธุรกิจและนักการเมือง โดย มีวงเงินค่อนข้างสูง จากการสารวจทั่วประเทศในปี 2543 พบว่าร้อยละ 10 ของครัวเรือนทั่วประเทศต้อง จ่ายเงินเมื่อไปติดต่อราชการ และมีการกระจุกตัวของการคอร์รัปชั่นในบางหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องกับวงเงินสูง อาทิ ตารวจ ที่ดิน สรรพากร และกระบวนการยุติธรรม ซึ่งในช่วง ต้นเดือนมกราคม 2557 จะทาการสารวจซ้าทั่วประเทศอีกครั้งจานวน 6,000 ครัวเรือน โดย การสนับสุนนของ สกว. เพื่อเปรียบเทียบกับครั้งแรกว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร รวมถึง การซื้อเสียงด้วย
ตัวอย่างการต้านคอร์รัปชั่นในประเทศอินโดนีเซีย 
ภายหลังการจัดตั้งองค์กรกาจัดคอร์รัปชั่นของอินโด (KPK) ในปี 2002 ที่มีกรณีสืบสวนสอบสวน 236 คดีในเวลา 10 ปี ทุกคดีประสบความสาเร็จ จับกุมข้าราชการระดับสูง นักการเมือง ส.ส. ซีอีโอ ผู้พิพากษา และเจ้าหน้าที่ตารวจระดับสูงประมาณ 400 คน จากข้อมูลข้างต้น น่าจะนามาเป็นกรณีศึกษาของไทยใน การมีศาลพิเศษเพื่อดาเนินคดีกับนักการ เมืองเป็นกรณีเฉพาะ รวมถึงการมีองค์กรภาคประชาชนและสื่อ เป็นมิตรที่สาคัญของ KPK ศ. ดร.ผาสุก ได้กล่าวไว้ในเวทีสาธารณะ สกว.: ความรู้สู่การปฏิรูปประเทศไทย ครั้งที่ 1 “ทางเลือกใหม่ เพื่อการต้านคอร์รัปชั่น” ณ ห้องประชุม สกว. เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2556 ว่า 
“แม้คอร์รัปชั่นเป็นเรื่องที่แก้ยาก แต่จากประสบการณ์ของอินโดนีเซียชี้ให้เห็นว่าสามารถทาได้ถ้ามีการ ปรับปรุง หน่วยงานคอร์รัปชั่น และได้รับความร่วมมือจากภาคประชาสังคมและรัฐบาล ทั้งนี้อยากเสนอ ให้มีการจัดตั้งศาลคดีคอร์รัปชั่นโดยเฉพาะ น่าจะเป็นไปได้ในประเทศไทยเพราะขณะนี้กระแสต่อต้าน คอร์รัปชั่นสูงมาก และสามารถใช้เป็นนโยบายในการรณรงค์หาเสียงได้ สอดคล้องกับกรณีที่เกิดขึ้นใน อินโดนีเซียที่เกิดหลังวิกฤติเศรษฐกิจและ ประชาชนเบื่อหน่ายการปกครองของประธานาธิบดีซูฮาร์โต”
ดุสิตโพล : ข้าราชการ 43% ระบุการเมืองแทรกแซง กระทบการทางาน 
เมื่อวันที่ 31 มี.ค. 52 สวนดุสิตโพล สารวจความคิดเห็นของข้าราชการพลเรือนทั่ว ประเทศ เนื่องในวันที่ 1 เมษายนของทุกปีเป็นวันข้าราชการพลเรือน แต่ในปี 2552 ประเทศไทยต้องเผชิญกับการเมืองที่มีความขัดแย้งและแตกแยก รวมทั้งเศรษฐกิจ กอร์ป กับภาวะวิกฤต ซึ่งประชาชนได้รับผลกระทบอย่างถ้วนหน้า โดยเฉพาะข้าราชการพลเรือน ผู้ที่ทาหน้าที่รับนโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน ก็ ได้รับผลกระทบทั้งจากภาวะการเมืองและเศรษฐกิจในครั้งนี้ด้วยเช่นกัน โดยสุ่มตัวอย่าง 2,247 คน ระหว่างวันที่ 20 – 30 มี.ค. 52 สรุปผลดังนี้ 
ภาวะการเมืองที่ร้อนแรง เต็มไปด้วยความขัดแย้งส่งผลต่อการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการ พลเรือน อันดับ 1 ได้แก่ การเมืองเข้ามาแทรกแซงทาให้ขาดเสถียรภาพในการทางาน เนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนผู้บังคับบัญชาบ่อย 43.18%
ดุสิตโพล : วันนี้ข้าราชการควรปฏิบัติตัวอย่างไร 
ข้อมูลจากการสารวจของดุสิตโพล เห็นว่าในสภาวะบ้านเมือง ณ วันนี้ ข้าราชการพลเรือน ควรปฏิบัติตัว คือ 
อันดับ 1 วางตัวเป็นกลาง ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด 3% อันดับ 2 ตั้งใจทางานให้เต็มที่ ทาตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ดีที่สุด 27% อันดับ 3 ยึดถือและปฏิบัติตามระเบียบ วินัยของการเป็นข้าราชการที่ดี 23% อันดับ 4 ให้ทุกคนคานึงถึงความสงบสุขของประเทศชาติเป็นสาคัญ 15%
สรุป 
ในเรื่องทางการเมืองนั้น ข้าราชการ ก็เหมือนสวมหมวกสองใบ ใบหนึ่งก็คือในฐานะเป็น ประชาชนคนไทยคนหนึ่ง มีสิทธิเสรีภาพในการเลือกที่จะทาสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง การเมือง ภายใต้บทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญที่ให้ไว้ ส่วนหมวกอีกใบหนึ่งที่สวมนั้น ก็คือในฐานะข้าราชการ ดังนั้นในเรื่องนี้จึงเห็นว่า ข้าราชการยังคงสามารถใช้สิทธิเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญให้ไว้ได้เฉกเช่นเดียวกับ ประชาชนคนไทยทั่วไป เพียงแต่พฤติกรรมหรือการกระทาบางอย่างก็ต้องใคร่ครวญดู เสียก่อนว่าเหมาะสมหรือไม่ โดยเฉพาะในกรณีเป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือในการ ปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องกับประชาชน ก็จะต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ 
(บทสรุปจากความคิดเห็นของ จุฑาพิชญ์ สถิรวิสาลกิจ นิติกรชานาญการ สานักมาตรฐานวินัย สานักงาน ก.พ.)

More Related Content

What's hot

เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง Taraya Srivilas
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51Watcharapon Donpakdee
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 8 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 8 54รายงานการประชุมครั้งที่ 8 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 8 54RMUTT
 
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555RMUTT
 
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.Mod Haha
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการSaiiew
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious ReformationWarinthorn Limpanakorn
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheetใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold warJitjaree Lertwilaiwittaya
 

What's hot (20)

เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 8 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 8 54รายงานการประชุมครั้งที่ 8 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 8 54
 
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง  75 ข้อแนวข้อสอบจริง  75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
 
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
 
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง  75 ข้อแนวข้อสอบจริง  75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
 
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
Lessonplan 5animalgrowth2
Lessonplan 5animalgrowth2Lessonplan 5animalgrowth2
Lessonplan 5animalgrowth2
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheetใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheet
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
 
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 2
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 2แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 2
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 2
 

Viewers also liked

ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองTaraya Srivilas
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5Saiiew
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการSaiiew
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยOppo Optioniez
 
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการSaiiew
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3Saiiew
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการSaiiew
 
การประดับแพรแถบย่อของเครื่องราชอิสริยาภรณ์
การประดับแพรแถบย่อของเครื่องราชอิสริยาภรณ์การประดับแพรแถบย่อของเครื่องราชอิสริยาภรณ์
การประดับแพรแถบย่อของเครื่องราชอิสริยาภรณ์Pakornkrits
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
Emirates Strategy Analysis
Emirates Strategy AnalysisEmirates Strategy Analysis
Emirates Strategy AnalysisTina Sepehrifar
 
Thai Aviation Industry 2014
Thai Aviation Industry 2014Thai Aviation Industry 2014
Thai Aviation Industry 2014Tanade Sirinumas
 

Viewers also liked (13)

ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
 
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
 
การประดับแพรแถบย่อของเครื่องราชอิสริยาภรณ์
การประดับแพรแถบย่อของเครื่องราชอิสริยาภรณ์การประดับแพรแถบย่อของเครื่องราชอิสริยาภรณ์
การประดับแพรแถบย่อของเครื่องราชอิสริยาภรณ์
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
Emirates Strategy Analysis
Emirates Strategy AnalysisEmirates Strategy Analysis
Emirates Strategy Analysis
 
Thai Aviation Industry 2014
Thai Aviation Industry 2014Thai Aviation Industry 2014
Thai Aviation Industry 2014
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

ข้าราชการกับการเมือง

  • 2. ข้าราชการสามารถใช้สิทธิเสรีภาพในการทาสิ่งเหล่านี้ได้หรือไม่ ? รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เปิดโอกาสให้สิทธิเสรีภาพแก่ ประชาชนชาวไทยได้มีส่วนร่วมทางการเมืองได้หลายช่องทาง เช่น เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น สิทธิเสรีภาพในการมีส่วนร่วมทางการเมือง เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ เป็นต้น ปัจจุบันเราสามารถเห็นการใช้สิทธิเสรีภาพเหล่านี้ในลักษณะที่เป็นรูปธรรมตามหน้าจอ โทรทัศน์หรือสื่อสิ่งพิมพ์ได้บ่อยครั้ง เช่น การชุมนุมเรียกร้องทางการเมือง การนาดอกไม้หรือสิ่งของไปให้กาลังใจแก่พรรคการเมืองหรือนักการเมืองบางกลุ่ม การแสดงความคิดเห็น/วิพากษ์วิจารณ์ในเรื่องทางการเมือง
  • 3. ข้าราชการคือใคร ? จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ข้าราชการ คือ บุคคลซึ่งรับการบรรจุแต่งตั้งให้รับราชการ ปฏิบัติหน้าที่ และรับเงินเดือนในกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ของประเทศไทย ส่วนองค์กร ที่บุคคลดังกล่าวปฏิบัติงานอยู่นั้นเรียก ส่วนราชการ จากการศึกษาของศาสตราจารย์ เวเบอร์ (Max Weber , 1958) ข้าราชการได้ แยกบทบาทของตนอย่างชัดเจนจากนักการเมือง กล่าวคือ ข้าราชการต้องเป็นผู้มี ความรู้ ความสามารถเฉพาะอย่าง เข้ารับราชการโดยระบบคุณธรรมและทาหน้าที่ที่ สอดคล้องกับงานวิชาชีพของตนอง คือ เป็นเสมือนผู้เชี่ยวชาญ ขณะที่นักการเมืองเน้น การให้การบริการแก่ประชาชนและนักการเมืองต้องกาหนด นโยบาย โดยมีข้าราชการ ประจาเป็นผู้ปฏิบัติตามนโยบายเหล่านั้น
  • 4. ความสัมพันธ์ระหว่าง ข้าราชการประจา กับนักการเมือง  ในปี 1981 นักวิชาการก็ได้พัฒนากรอบแนวความคิดของความสัมพันธ์ระหว่าง ข้าราชการประจา กับนักการเมือง ในรูปแบบการเปรียบเทียบบทบาทและรูปแบบการ ทางานจากประเทศสหรัฐ ฯ อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี เนเธอร์แลนด์ และ สวีเดน ผลการศึกษาปรากฏว่าบทบาทที่เด่นชัดและชี้ ให้เห็นความแตกต่างของ นักการเมืองกับข้าราชการประจาก็คือ การสังกัดพรรค การรณรงค์และวิพากษ์นโยบายทางการเมือง เพื่อกลุ่มผลประโยชน์และความ เป็นผู้เชี่ยวชาญ นักการเมืองถูกจัดกลุ่มอยู่ในกลุ่มสังกัดพรรคกลุ่มผลประโยชน์ วิพากษ์และรณรงค์ทาง การเมือง ซึ่งข้าราชการมักจะไม่เกี่ยวข้องด้วย (Joel D. Aberbach , Robert D. Putnam and bert A. Rockman , 1981 : 86-114) บทบาทของข้าราชการจึงจากัด ตนเองในฐานะผู้เชี่ยวชาญ และแก้ปัญหาโดยเน้นความรู้ความสามารถทางวิชาการเป็นหลัก
  • 5. การเปลี่ยนแปลงของข้าราชการไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน ข้าราชการไทยในยุคก่อน มีศักดิ์ศรีและสานึกในอานาจหน้าที่ ที่ถือเป็นผู้ทาหน้าที่ดูแลบาบัดทุกข์บารุง สุขของราษฎรไทยต่างพระเนตรพระกรรณ เมื่อมองย้อนยุคไปในประวัติศาสตร์ราชการไทย จึงจะพบจะ เห็นข้าราชการไทยส่วนใหญ่ที่ซื่อสัตย์สุจริต ทาหน้าที่ตรงไปตรงมา เป็นแบบอย่างที่ควรเคารพยกย่อง และศรัทธา เป็นหลักของการบริหารกิจการบ้าน เมืองอย่างแท้จริง แต่ต่อมาในยุคหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เรื่อยมาจนถึงยุคปัจจุบัน จะเห็นได้ว่า ข้าราชการประจาที่ควรจะเป็นหลัก และเป็นเครื่องไม้เครื่องมือที่ดี เพื่อขับเคลื่อนให้ฝ่ายการเมืองบริหาร จัดการบ้านเมืองได้ตามนโยบาย ที่แถลงเป็นสัญญาประชาคมต่อรัฐสภา เพื่ออานวยประโยชน์สุขแก่อาณา ประชาราษฎร การณ์กลับกลายเป็นว่า ฝ่ายการเมืองมักจะใช้อานาจ บาตรใหญ่อย่างลุแก่อานาจใน การ แต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการเอาตามใจชอบ โดยไม่คานึงถึงหลักคุณธรรม ขณะเดียวกับที่ข้าราชการไทยส่วนใหญ่หรือเกือบทั้งหมด ก็กลับยอมสิโรราบต่อฝ่ายการเมือง แล้วแต่ฝ่าย ผู้มีอานาจจะนาพาไป มิหนาซ้า ยิ่งนับวันยิ่งจะมีการเอาตัวรอดด้วยการยอมสยบ ยอมตนเป็นสมุนรับใช้ ฝ่ายการเมืองอย่างไม่คานึงถึงผิดชอบชั่วดี และศักดิ์ศรีแห่งความเป็นข้าราชการ (ข้าราชการกับนักการเมืองไทย โดย วิทยา วชิระอังกูร, 2 ตุลาคม 2554, ผู้จัดการออน์ไลน์)
  • 6. การเปลี่ยนแปลงของข้าราชการไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน (ต่อ) เราจึงได้เห็นภาพการวิ่งเต้น การซื้อและขายตาแหน่งทางราชการอย่างน่าอัปยศอดสู ไม่ต่างจาก การซื้อสิทธิ์ขายเสียงที่ทาให้ฝ่ายการเมืองได้อานาจมาอย่างไม่ชอบธรรม การเมืองไทยกลายเป็น ธุรกิจการเมือง ขณะเดียวกันที่ระบบราชการไทย ก็กาลังจะกลายเป็นธุรกิจราชการไม่แพ้กัน  ปัจจุบันโดยพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ได้กาหนดให้มี “คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม” ที่เรียกคาย่อว่า ก.พ.ค. มีหน้าที่เสนอแนะหรือปรับปรุง นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ที่เกี่ยวกับการพิทักษ์ระบบคุณธรรมในราชการ คุ้มครองระบบคุณธรรม โดย ก.พ.ค. จะทาหน้าที่ในลักษณะองค์กรกึ่งตุลาการ ดูแลพิจารณา วินิจฉัยเรื่องอุทธรณ์ ร้องทุกข์ของข้าราชการที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม เป็นด่านที่พึ่งสุดท้าย สาหรับองค์กรฝ่ายบริหาร ซึ่งเมื่อผ่านการพิจารณาวินิจฉัย จาก ก.พ.ค. แล้ว ผู้อุทธรณ์เห็นว่ายัง ไม่ได้รับความเป็นธรรมเพียงพอ ก็สามารถนาเรื่องไปฟ้องร้องต่อศาลปกครองสูงสุดได้อีกทาง หนึ่ง (ข้าราชการกับนักการเมืองไทย โดย วิทยา วชิระอังกูร, 2 ตุลาคม 2554, ผู้จัดการออน์ไลน์)
  • 7. การเปลี่ยนแปลงของข้าราชการไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน (ต่อ) กรณีตัวอย่างที่ปรากฏชัดต่อสังคมเมื่อไม่นานมานี้ คือ กรณี นายวงศ์ศักดิ์ สวัสดิ์พาณิชย์ ร้องเรียนต่อ ก.พ.ค ว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการถูกคาสั่งโยกย้ายจากอธิบดีกรมการ ปกครอง ไปดารงตาแหน่งผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย และ ก.พ.ค.พิจารณาวินิจฉัยว่ากระทรวงมหาดไทยดาเนินการโดยไม่ชอบ จึงมีมติให้ ยกเลิกคาสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่สั่งย้ายนายวงศ์ศักดิ์ และให้นายวงศ์ศักดิ์กลับไปดารง ตาแหน่งอธิบดีกรมการปกครองดังเดิม โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 27 เมษายน 2553 อันเป็นวันที่ ออกคาสั่ง ส่วนผู้ที่มาดารงตาแหน่งแทนนายวงศ์ศักดิ์ โดยไม่ชอบ ให้เป็นหน้าที่ของ ปลัดกระทรวงมหาดไทย จัดหาตาแหน่งใหม่ให้ต่อไป
  • 8. ขอบเขตแนวทางการปฏิบัติตัวแก่ข้าราชการพลเรือนในเรื่องทางการเมือง ในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มีบทบัญญัติที่ให้สิทธิเสรีภาพและ กาหนดขอบเขตแนวทางการปฏิบัติตัวแก่ข้าราชการพลเรือนในเรื่องทางการเมืองไว้ กล่าวคือ มาตรา 43 กาหนดให้ข้าราชการพลเรือนสามัญมีเสรีภาพในการรวมกลุ่ม แต่ทั้งนี้ต้องไม่ กระทบประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผ่นดินและความต่อเนื่องในการจัดทาบริการ สาธารณะ และต้องไม่มีวัตถุประสงค์ทางการเมือง มาตรา 81 กาหนดให้ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องสนับสนุนการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขด้วยความบริสุทธิ์ใจ มาตรา 82 (9) กาหนดให้ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องวางตัวเป็นกลาง ทางการเมือง
  • 9. ตาแหน่งข้าราชการการเมือง ตามกฎหมายระเบียบข้าราชการการเมือง มีตาแหน่งดังต่อไปนี้ 11. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี 12. รองเลขาธิกานายกฯฝ่ายการเมือง 13. โฆษกประจาสานักนายกฯ ( โฆษกรัฐบาล ) 14. รองโฆษกประจาสานักนายกฯ 15. ประจาสานักเลขาธิการนายกฯ 16. เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง 17. เลขานุการรัฐมนตรีทบวง ( ดูข้อ 5-6 ) 18 เลขานุการรัฐมนตรีประจาสานักนายกฯ 19. ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการ 20. ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการทบวง. 1. นายกรัฐมนตรี 2. รองนายกรัฐมนตรี 3. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง 4. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง 5. รัฐมนตรี ทบวง ( ปัจจุบันยกเลิก ) 6. รัฐมนตรีช่วยว่าการทบวง ( ปัจจุบันยกเลิก ) 7. รัฐมนตรีประจาสานักนายกฯ 8. ที่ปรึกษานายกฯ 9. ที่ปรึกษารองนายกฯ 10. ที่ปรึกษา รัฐมนตรี และ ที่ปรึกษารัฐมนตรีประจาสานักนายกฯ
  • 10. ข้อแตกต่างระหว่างข้าราชการการเมืองกับข้าราชการประจา 1. ข้าราชการการเมือง ไม่มีขั้นวิ่ง เหมือนข้าราชการประจา 2. ข้าราชการการเมือง มาจากเหตุผลทางการเมือง 3. ข้าราชการประจามีขั้นวิ่ง สวัสดิการ บาเหน็จ บานาญ ฯลฯ 4. ข้าราชการประจามาจากผู้ที่สอบบรรจุได้ ตามระเบียบ กพ. กาหนด 5. ตาแหน่งสูงสุดของข้าราชการประจาคือ ปลัดกระทรวง ฯ
  • 11. ระเบียบข้าราชการพลเรือนว่าด้วยมารยาททางการเมืองของข้าราชการ พลเรือน ฉบับลงวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2499 (สมัยสงครามโลกเลย) ข้าราชการพลเรือนจะนิยมหรือเป็นสมาชิกใน พรรคการเมืองใดๆ ที่ตั้งโดยชอบด้วยกฎหมาย และจะไป ในการประชุมของพรรคการเมืองนั้นเป็นการส่วนตัวก็ได้แต่ในทางที่เกี่ยวกับประชาชนและในหน้าที่ ราชการจะต้องกระทาตัวเป็นกลาง ปฏิบัติตามนโยบายของรัฐบาลโดยไม่คานึงถึงพรรคการเมือง และ ต้องไม่กระทาการอันเป็นการฝ่าฝืนข้อห้าม ดังต่อไปนี้ (1) ไม่ดารงตาแหน่งในพรรคการเมืองใดๆ เว้นแต่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภท 2 หรือข้าราชการการเมือง (2) ไม่ใช้สถานที่ราชการในกิจการทางการเมือง (3) ไม่วิพากษ์วิจารณ์การกระทา ของรัฐบาลให้ปรากฏแก่ประชาชน (4) ไม่แต่งเครื่องแบบราชการไปร่วมประชุมพรรคการเมือง หรือไปร่วมประชุมในที่ สาธารณสถานใดๆ อันเป็นการประชุมที่มีลักษณะทางการเมือง
  • 12. ระเบียบข้าราชการพลเรือนว่าด้วยมารยาททางการเมืองของข้าราชการ พลเรือน ฉบับลงวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2499 (ต่อ) (5) ไม่ประดับเครื่องหมายพรรคการเมืองในเวลาสวมเครื่องแบบราชการหรือในเวลา ราชการหรือในสถานที่ราชการ (6) ไม่แต่งเครื่องแบบของพรรคการเมืองเข้าไปในสถานที่ราชการ (7) ไม่บังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชาหรือประชาชนเป็นสมาชิกในพรรคการเมืองใดและ ไม่กระทาการในทางให้คุณให้โทษ เพราะเหตุที่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาหรือประชาชนนิยม หรือเป็นสมาชิกในพรรคการเมืองใดที่ตั้งขึ้นโดยชอบด้วยกฎหมาย (8) ไม่ทาการขอร้องให้บุคคลใดอุทิศเงินหรือทรัพย์สินเพื่อประโยชน์แก่พรรคการเมือง
  • 13. ระเบียบข้าราชการพลเรือนว่าด้วยมารยาททางการเมืองของข้าราชการ พลเรือน ฉบับลงวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2499 (ต่อ) (9) ไม่โฆษณาหาเสียงเพื่อประโยชน์แก่พรรคการเมือง หรือแสดงการสนับสนุนพรรคการเมืองใดๆ ให้เป็น การเปิดเผยในที่ประชุมพรรคการเมือง และในที่ที่ปรากฏแก่ประชาชน หรือเขียนจดหมายหรือบทความ ไปลงหนังสือพิมพ์หรือพิมพ์หนังสือหรือใบปลิวซึ่งจะจา หน่ายแจกจ่ายไปยังประชาชน อันเป็นข้อความ ที่มีลักษณะของการเมือง (10) ไม่ปฏิบัติหน้าที่แทรกแซงในทางการเมือง หรือใช้การเมืองเป็นเครื่องมือเพื่อกระทากิจการต่างๆ อาทิ เช่น วิ่งเต้น ติดต่อกับ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือพรรคการเมือง เพื่อให้นาร่างพระราชบัญญัติหรือ ญัตติเสนอสภาฯ หรือตั้งกระทู้ถามรัฐบาล (11) ในระยะเวลาที่มีการสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ไม่แสดงออกโดยตรงหรือโดย ปริยายที่ จะเป็นการช่วยเหลือส่งเสริมสนับสนุนผู้สมัครรับเลือกตั้ง และในทางกลับกันไม่กีดกัน ตาหนิติเตียน ทับถม หรือให้ร้ายผู้สมัครรับเลือกตั้ง การฝ่าฝืนระเบียบนี้ถือว่า กระทา ผิดวินัยฐานไม่ถือและปฏิบัติตามระเบียบ ของทางราชการ
  • 14. คอร์รัปชั่นในประเทศไทย ผลการจัดอันดับดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นประจาปี พ.ศ. 2556 พบว่า ประเทศไทยได้ 35 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน อยู่อันดับที่ 102 จากการจัดอันดับทั้งหมด 177 ประเทศทั่วโลก จากข้อมูลข้างต้นถือว่าเป็นอันดับที่ไม่ดี หากระบุถึงรายละเอียดการคอร์รัปชั่นในประเทศ ไทย จะพบว่า มีการคอร์รัปชั่นในเชิงนโยบายเป็นจานวนมาก เพราะนักการเมืองเล่นพรรค เล่นพวก โยกย้ายตาแหน่งเพื่อผลประโยชน์ส่วนตน เจ้าหน้าที่ของภาครัฐมีการทุจริต ข้อมูลที่ได้มาจากการสารวจภาคธุรกิจ และผู้ประกอบการต่างๆ พบว่า ต้องจ่ายสินบนใน การรับสัมปทานให้เจ้าหน้าที่รัฐถึงร้อยละ 25
  • 15. แหล่งที่มาของคอร์รัปชั่น คอร์รัปชั่น แบ่งได้เป็นสองส่วน คือ 1) ภาคราชการ ที่เกิดขึ้นได้ตลอดเวลาเพราะข้าราชการเป็นผู้ควบคุมกฎเกณฑ์ 2) ภาคการเมือง มักเป็นการร่วมมือกันระหว่างข้าราชการ นักธุรกิจและนักการเมือง โดย มีวงเงินค่อนข้างสูง จากการสารวจทั่วประเทศในปี 2543 พบว่าร้อยละ 10 ของครัวเรือนทั่วประเทศต้อง จ่ายเงินเมื่อไปติดต่อราชการ และมีการกระจุกตัวของการคอร์รัปชั่นในบางหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องกับวงเงินสูง อาทิ ตารวจ ที่ดิน สรรพากร และกระบวนการยุติธรรม ซึ่งในช่วง ต้นเดือนมกราคม 2557 จะทาการสารวจซ้าทั่วประเทศอีกครั้งจานวน 6,000 ครัวเรือน โดย การสนับสุนนของ สกว. เพื่อเปรียบเทียบกับครั้งแรกว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร รวมถึง การซื้อเสียงด้วย
  • 16. ตัวอย่างการต้านคอร์รัปชั่นในประเทศอินโดนีเซีย ภายหลังการจัดตั้งองค์กรกาจัดคอร์รัปชั่นของอินโด (KPK) ในปี 2002 ที่มีกรณีสืบสวนสอบสวน 236 คดีในเวลา 10 ปี ทุกคดีประสบความสาเร็จ จับกุมข้าราชการระดับสูง นักการเมือง ส.ส. ซีอีโอ ผู้พิพากษา และเจ้าหน้าที่ตารวจระดับสูงประมาณ 400 คน จากข้อมูลข้างต้น น่าจะนามาเป็นกรณีศึกษาของไทยใน การมีศาลพิเศษเพื่อดาเนินคดีกับนักการ เมืองเป็นกรณีเฉพาะ รวมถึงการมีองค์กรภาคประชาชนและสื่อ เป็นมิตรที่สาคัญของ KPK ศ. ดร.ผาสุก ได้กล่าวไว้ในเวทีสาธารณะ สกว.: ความรู้สู่การปฏิรูปประเทศไทย ครั้งที่ 1 “ทางเลือกใหม่ เพื่อการต้านคอร์รัปชั่น” ณ ห้องประชุม สกว. เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2556 ว่า “แม้คอร์รัปชั่นเป็นเรื่องที่แก้ยาก แต่จากประสบการณ์ของอินโดนีเซียชี้ให้เห็นว่าสามารถทาได้ถ้ามีการ ปรับปรุง หน่วยงานคอร์รัปชั่น และได้รับความร่วมมือจากภาคประชาสังคมและรัฐบาล ทั้งนี้อยากเสนอ ให้มีการจัดตั้งศาลคดีคอร์รัปชั่นโดยเฉพาะ น่าจะเป็นไปได้ในประเทศไทยเพราะขณะนี้กระแสต่อต้าน คอร์รัปชั่นสูงมาก และสามารถใช้เป็นนโยบายในการรณรงค์หาเสียงได้ สอดคล้องกับกรณีที่เกิดขึ้นใน อินโดนีเซียที่เกิดหลังวิกฤติเศรษฐกิจและ ประชาชนเบื่อหน่ายการปกครองของประธานาธิบดีซูฮาร์โต”
  • 17. ดุสิตโพล : ข้าราชการ 43% ระบุการเมืองแทรกแซง กระทบการทางาน เมื่อวันที่ 31 มี.ค. 52 สวนดุสิตโพล สารวจความคิดเห็นของข้าราชการพลเรือนทั่ว ประเทศ เนื่องในวันที่ 1 เมษายนของทุกปีเป็นวันข้าราชการพลเรือน แต่ในปี 2552 ประเทศไทยต้องเผชิญกับการเมืองที่มีความขัดแย้งและแตกแยก รวมทั้งเศรษฐกิจ กอร์ป กับภาวะวิกฤต ซึ่งประชาชนได้รับผลกระทบอย่างถ้วนหน้า โดยเฉพาะข้าราชการพลเรือน ผู้ที่ทาหน้าที่รับนโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน ก็ ได้รับผลกระทบทั้งจากภาวะการเมืองและเศรษฐกิจในครั้งนี้ด้วยเช่นกัน โดยสุ่มตัวอย่าง 2,247 คน ระหว่างวันที่ 20 – 30 มี.ค. 52 สรุปผลดังนี้ ภาวะการเมืองที่ร้อนแรง เต็มไปด้วยความขัดแย้งส่งผลต่อการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการ พลเรือน อันดับ 1 ได้แก่ การเมืองเข้ามาแทรกแซงทาให้ขาดเสถียรภาพในการทางาน เนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนผู้บังคับบัญชาบ่อย 43.18%
  • 18. ดุสิตโพล : วันนี้ข้าราชการควรปฏิบัติตัวอย่างไร ข้อมูลจากการสารวจของดุสิตโพล เห็นว่าในสภาวะบ้านเมือง ณ วันนี้ ข้าราชการพลเรือน ควรปฏิบัติตัว คือ อันดับ 1 วางตัวเป็นกลาง ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด 3% อันดับ 2 ตั้งใจทางานให้เต็มที่ ทาตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ดีที่สุด 27% อันดับ 3 ยึดถือและปฏิบัติตามระเบียบ วินัยของการเป็นข้าราชการที่ดี 23% อันดับ 4 ให้ทุกคนคานึงถึงความสงบสุขของประเทศชาติเป็นสาคัญ 15%
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24. สรุป ในเรื่องทางการเมืองนั้น ข้าราชการ ก็เหมือนสวมหมวกสองใบ ใบหนึ่งก็คือในฐานะเป็น ประชาชนคนไทยคนหนึ่ง มีสิทธิเสรีภาพในการเลือกที่จะทาสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง การเมือง ภายใต้บทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญที่ให้ไว้ ส่วนหมวกอีกใบหนึ่งที่สวมนั้น ก็คือในฐานะข้าราชการ ดังนั้นในเรื่องนี้จึงเห็นว่า ข้าราชการยังคงสามารถใช้สิทธิเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญให้ไว้ได้เฉกเช่นเดียวกับ ประชาชนคนไทยทั่วไป เพียงแต่พฤติกรรมหรือการกระทาบางอย่างก็ต้องใคร่ครวญดู เสียก่อนว่าเหมาะสมหรือไม่ โดยเฉพาะในกรณีเป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือในการ ปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องกับประชาชน ก็จะต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ (บทสรุปจากความคิดเห็นของ จุฑาพิชญ์ สถิรวิสาลกิจ นิติกรชานาญการ สานักมาตรฐานวินัย สานักงาน ก.พ.)