SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
สานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า
The Office of Peace and Governance
King Prajadhipok’s Institute




                        LOGO
                       www.kpi.ac.th
ลักษณะสังคมไทยในอดีต
เป็นสังคมเกษตรกรรม โครงสร้างแบบหลวมๆ
ยึดสถานภาพ ทรัพย์สมบัติ อานาจ เกียรติยศ คุณงามความดี เป็นเกณฑ์การ
 แบ่งชนชั้น
รักอิสระอยู่อย่างเรียบง่าย พึ่งพาธรรมชาติ
มีจิตใจอ่อนโยนเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เกื้อกูลกันและกัน
ผูกพันกันในระหว่างเครือญาติ มีการแลกเปลี่ยน แบ่งปัน
ยึดมั่นในพระพุทธศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณีในการดาเนินชีวิต
เทิดทูนสถาบันกษัตริย์
ให้ความสาคัญในเรื่องอาวุโส ยกย่องผู้ใหญ่
ไม่เคร่งครัดกฎเกณฑ์ระเบียบ
รักถิ่นฐานบ้านเกิดของตน
สังคมเมือง
มีประชากรมากและอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น
เป็นศูนย์กลางการเมืองการปกครอง การศึกษา การค้า
 อุตสาหกรรมและการบริการ
มีรายได้และรายจ่ายทางเศรษฐกิจสูง
เป็นศูนย์รวมทางศาสนา สาธารณูปโภค การคมนาคมและ
 สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
เคร่งครัดในศาสนาน้อยกว่าในชนบท
มีการเปลี่ยนแปลงและเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
สังคมชนบท
มีประชากรเบาบาง กระจัดกระจายเป็นหมู่บ้าน
มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
ระดับการศึกษาค่อนข้างต่่า โอกาสทางการศึกษามีน้อย
 กว่าในเมือง
ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ชาวนา ชาวไร่
 ผลิตผลการเกษตรค่อนข้างต่่า รายได้ไม่แน่นอน
มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองน้อย
เชื่อถือศรัทธาในศาสนาสูง เคร่งครัดในประเพณี
การสื่อสาร การคมนาคมขนส่งไม่สะดวก
สภาแห่งความร้าวฉาน สร้างสรรค์แต่ความขัดแย้ง




ทักษะที่ขาดหาย
ความหมายของคาว่า “ Fair ”

                      สู่สังคม
      สู่สังคม       เป็นธรรม
      ยุติธรรม
                  สู่สังคม
                 เท่าเทียม
                     กัน




        การเห็นพ้องต้องกัน
                                 www.kpi.ac.th
สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair
                  “ Fair ”



                 เท่าเทียมกันในเรื่อง


                                          การที่ลูกหลาน
           ความมั่นคง       การมีส่วนร่วม
โอกาส                                      จะมีอนาคต
             ในชีวิต       ในทางการเมือง
                                          แจ่มใสพอๆ กัน


                                                      www.kpi.ac.th
หัวข้อในการบรรยาย

1l     สังคมไทยเหลื่อมล้่าสูงแค่ไหน?

2      ท่าไมไทยจึงเป็นสังคมเหลื่อมล้่าสูง?

3      จะก้าวไปข้างหน้าได้อย่างไร?

4 ทิ   การเมืองไทย?



                                             www.kpi.ac.th
ส่วนที่ ๑


สังคมไทยเหลื่อมล้่า
    สูงแค่ไหน?



                      www.kpi.ac.th
ความไม่เท่าเทียมกัน

                     วัฒนธรรม



             สังคม
การเมือง

                      เศรษฐกิจ

                                 www.kpi.ac.th
ตัวบ่งชี้


รายได้
                      ความ
                 เหลื่อมล้าทาง
                   เศรษฐกิจ
ความ
มั่งคั่ง


                                 www.kpi.ac.th
ความมั่งคั่ง

  ๑%
   ๓%
      ๙%
         ๑๘%

                  ๑ = จนสุด - ๕ = รวยสุด


               ที่มา : Kiatpong, Wilatluk and Nalin, 2007
ตัวชี้วัดความมั่งคั่ง
                   สถิติโดยธนาคารแห่งประเทศไทย(มิถุนายน ๕๒) : ร้อยละ ๔๒ ของ
เงินออมในธนาคาร    เงินฝากทั้งประเทศถูกถือโดย ๗๐,๐๐๐ บัญชี กระจุกตัวอยู่ในมือคน
                   กลุ่มเล็ก ๆ สูงมาก คนมีเงินฝากมาก ๆ ก็มีโอกาสที่จะลงทุนและ
                   แสวงหารายได้มากกว่าคนไม่มี

                           การกระจายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ : ระหว่างปี ๒๕๓๘
หุ้นในตลาดหลักทรัพย์       ถึงปี ๒๕๔๗ พบว่า ๑๑ ตระกูลผลัดกันเป็นเจ้าของหุ้นที่
                           มีมูลค่าสูงสุด ๕ อันดับแรก


             การกระจายการถือครองที่ดินของครัวเรือนเกษตรในประเทศไทย พ.ศ.
  ที่ดิน     ๒๕๔๙ พบว่า ร้อยละ ๔๒ ของเกษตรกรมีที่ดิน ๑๐ ไร่หรือน้อยกว่า
             หรือไม่มีที่ดินเลย ซึ่งนับว่าเป็นสัดส่วนที่สูงมาก
                                                                     www.kpi.ac.th
การกระจายการถือครองที่ดิน ปี ๒๕๔๙
                   1

      ขนาดที่ดิน            ร้อยละ
      ไม่มีที่ดินเลย        ๑๘.๔๒
      น้อยกว่า ๑๐ ไร่       ๒๓.๙๔
      มี ๑๐ - ๑๙ ไร่        ๒๔.๙๑
     มี ๒๐ ไร่หรือมากกว่า   ๒๒.๗๓
                                     www.kpi.ac.th
การกระจายรายได้
                                           ๑
● ข้อมูลด้านรายได้ในกลุมคนรวย มักจะต่ากว่าความเป็นจริง
                       ่
-สานักงานสถิตเิ ข้าไม่ถึงครอบครัวอันดับต้น ๆที่มีอยู่น้อยราย และแม้จะเข้าถึง ผู้ตอบก็จะไม่
บอกความจริงทั้งหมด
-คนรวยมักจะได้รับผลประโยชน์ทางอ้อมมากกว่าคนฐานะด้อยกว่า จากการใช้จ่ายเงินของ
รัฐบาล (เช่น การสร้างถนนตัดผ่านที่ดิน ทาให้ราคาที่ดินสูงขึ้น และอื่นๆ)

                                          ๒
● สัดส่วนคนจนของไทยที่มีรายได้ใกล้เคียงกับเส้นความยากจนมีร้อยละ ๒๐
  - เมื่อคานวณรายได้เฉลี่ยของคนจนสุด ๒๐% สุดท้าย พบว่าไม่ต่างจากระดับรายได้ที่
กาหนดเส้นความยากจนที่ ๑,๔๔๓ บาทต่อเดือน

                                                                                    www.kpi.ac.th
การกระจายรายได้ (ต่อ)
                            ๓
ความต่างระหว่างครัวเรือนรวยสุดกับครัวเรือนจนสุด เท่ากับ ๑๓ เท่า
     หากเปรียบเทียบกับประเทศในต่างประเทศจะต่ากว่าของไทยมาก




                                                             www.kpi.ac.th
การกระจายรายได้ (ต่อ)
                                                                              ๔
● เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน ไทยมีความเหลื่อมล้าด้านรายได้สูงกว่ามาก
  - (ตามแผนภาพ) แสดงค่าสัมประสิทธิ์จีนี่ ที่ชี้ระดับความเหลื่อมล้า ค่ายิ่งสูงความเหลื่อมล้ายิ่งสูง แผนภาพที่แสดง
    บอกว่า ของไทยสูงขึนโดยตลอด และสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้านทั้งหมด ขณะที่ในประเทศเพื่อนบ้านมีแนวโน้มลดลง
                      ้



                                    Gini coefficients of household income, selected Southeast Asian countries



                                                            Malaysia                                              Thailand

                          0.50         Philippines




                          0.40



                                        Indonesia




                          0.30
                             1960       1965         1970    1975      1980   1985    1990     1995           2000            2005
                                                                                               Source: Adapted from a graph prepared by Hal Hill, ANU




                                                                                                                                                        www.kpi.ac.th
ส่วนที่ ๒


  ท่าไมไทยจึงเป็น
สังคมเหลื่อมล้่าสูง?



                       www.kpi.ac.th
ความเจริญทางเศรษฐกิจ VS การกระจายรายได้
                                                                                               1
                                                                       ในช่วงต้นของการพัฒนาเศรษฐกิจ เงินออมกระจุก
ศาสตราจารย์ ไซมอน คุซเน็ท ศึกษา                                       ตัวอยู่ในกลุ่มคนจานวนน้อยกลุ่มหนึ่งที่สามารถลงทุน
ความโยงใยระหว่ า งความเจริ ญ ทาง                                                    หารายได้ได้มากกว่าคนอืน ๆ
                                                                                                          ่
เศรษฐกิ จ กั บ การกระจายรายได้ ใน                                                              2
ประเทศสหรัฐฯ เยอรมนี และอังกฤษ                                        บางสาขาเศรษฐกิจมีความสามารถผลิต (ผลิตภาพ)
พบว่า เมื่อประเทศเหล่านี้เริ่มพัฒนา               สาเหตุ               สูงกว่าสาขาอื่น ๆ เช่น อุตสาหกรรมโตเร็วกว่าภาค
ในสมัยแรก ๆ นั้น รายได้ต่อหัวเพิ่งจะ              มาจาก              เกษตร รายได้ของคนทางานในสาขาดังกล่าวก็จะเพิ่ม
เริ่ ม ผงกหั ว ขึ้ น ความเหลื่ อ มล้ าด้ า น                           ในอัตราสูงกว่าสาขาอื่น ๆ นาไปสู่ความเหลื่อมล้า
รายได้มีสูง แต่เมื่อพัฒนาไป รายได้ต่อ                                                           3
หัวก็เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่อเพิ่มถึง                              ภายในภาคเมือง ค่าแรงของคนงานมีฝีมือสูงกว่า
จุดหนึ่ง ความเหลื่อมล้้าก็ค่อย ๆ ลดลง                                  คนงานไร้ฝีมือ ผลกาไรของนายจ้างเจ้าของโรงงานก็
                                                                           เพิ่มได้เร็วกว่า ทาให้ความเหลื่อมล้าสูงขึ้น

 เมื่อถึงจุดหนึ่ง ความเหลื่อมล้านี้จะค่อย ๆ ลดลง ด้วยหลายสาเหตุเช่นกัน เช่น เมื่อการกระจุกตัวของเงินออมผ่อน
 คลายลง เนื่องจากกลุ่ม คนอื่น ๆ ที่มี รายได้ สูง ขึ้น มี โอกาสออมมากขึ้น ขณะเดี ยวกัน กลุ่ม ใหม่ ๆ ที่ มีพ ลัง ทาง
 เศรษฐกิจเริ่มประสบความสาเร็จเรียกร้องให้รัฐบาลดาเนินนโยบายสาธารณะเพื่อลดความเหลื่อมล้าของรายได้
จากประวัติศาสตร์
                                         ใช้ระบบภาษีและเงิน
                          ทางหนึ่งคือ
                                          โอนเพื่อสร้างความ
                                        เท่าเทียมกันด้านความ
                                           มั่งคั่งและรายได้
 มีสองแนวทางต่างกันที่
จะลดความเหลื่อมล้าด้าน
        รายได้
                                        ให้พลังทางสังคมเป็น
                           ทางสองคือ    ตัวส่งแรงกดดันให้ลด
                                           ความเหลื่อมล้า


                                                       www.kpi.ac.th
กรณีศึกษา
          เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ บิสมาร์ค รับเอาระบบประกันสังคมซึ่ง
เยอรมนี   กลุ่มสหภาพแรงงานได้เรียกร้องให้รัฐบาลจัดทามาเป็นเวลานาน เป็นหนึ่ง
          ในนโยบายสาธารณะ

          ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ ๑ และ ๒ รัฐบาลดาเนินนโยบายที่เพิ่มความเท่า
อังกฤษ    เทียมกันระหว่างชนชั้นต่าง ๆ และเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง มี
          การเปลี่ยนแปลงทีสาคัญคือ พรรคแรงงานชนะการเลือกตั้ง จึงมีโอกาส
                           ่
          เปลี่ยนอังกฤษเป็นรัฐสวัสดิการอยู่พักใหญ่

          หลังจากที่ทหารยิงปืนใส่คนงาน ซึ่งกาลังพิพาทกับนายจ้างในปี ๒๔๗๕
สวีเดน    ส่งผลให้พรรค Social Democracy ชนะการเลือกตังทั่วไปในปีนั้น
                                                           ้
          พรรคนี้ได้เป็นรัฐบาลและเปลี่ยนสวีเดนเป็นรัฐสวัสดิการ
                                                                      www.kpi.ac.th
กรณีศึกษา ญี่ปุ่น

 สังคมที่มีความเท่าเทียมกันสูงนโยบายสาธารณะมีบทบาทสาคัญ
            - การยกเลิกระบบชนชั้นสมัยฟิวดัล
            - การยกเลิกระบบเจ้าของที่ดินและผู้เช่านา
            - การปฏิรปที่ดิน
                         ู
            - การล้มเลิกชนชั้นอภิสิทธิ์
            - การปฏิรปการเมืองที่ยอมให้พรรคการเมืองและ
                       ู
กลุ่มผลประโยชน์ที่หลากหลายมีส่วนร่วมในการเมือง
            - ระบบภาษีทรัพย์สินเก็บภาษีมรดกเพื่อลดความ
เหลื่อมล้าและป้องกันไม่ให้มีการเก็งกาไรแบบเสือนอนกิน



                                                          www.kpi.ac.th
ทาไมความเหลื่อมล้าจึงไม่ลดลงในเมืองไทย?

                               เมื่อ ๒ - ๓ ทศวรรษ
                                      ที่ผ่านมา




    อานาจ                    ระบบรัฐสภา                           กองทัพ
ถูกผูกขาดอยู่ในระบบ   ได้พัฒนาขึ้นมาแต่ก็ยังอยู่ในกากับของ       ยังคงเป็นใหญ่ใน
ราชการรวมศูนย์และ     นักธุรกิจและข้าราชการเกษียณจานวน        การเมืองไทยและยังคง
    ทหารพาณิชย์                      หยิบมือหนึ่ง            สามารถก่อการรัฐประหาร
                            (ทั้งฝ่ายพลเรือนและทหาร)           ล้มรัฐธรรมนูญและ
                                                                รัฐสภาที่มาจากการ
                                                                     เลือกตัง
                                                                            ้
โดยสรุป



        เหตุที่ความเหลื่อมล้้ายังไม่ลดลง
                  ในเมืองไทย
เป็นเพราะ...
 ที่ผ่านมายังไม่เคยมีการดาเนินนโยบายสาธารณะเพือแก้ไขปัญหาความ
                                                   ่
       เหลื่อมล้าที่แท้จริงเลยแม้แต่นโยบายเดียว อีกนัยหนึ่ง เรายัง
                           ไม่มี Political will


                                                                     www.kpi.ac.th
ส่วนที่ ๓


จะก้าวไปข้างหน้า
  ได้อย่างไร?



                   www.kpi.ac.th
กลไกที่จะช่วยลดความเหลื่อมล้าด้านรายได้


                        ระบบภาษี
  มาตรการ
  การคลัง
                     การใช้จ่ายภาครัฐ


                                        www.kpi.ac.th
มาตรการการคลังของไทยสนับสนุนคนจนหรือไม่?

                                          บุคคลธรรมดา                     อัตราก้าวหน้า
           ทางตรง
                                            นิติบุคคล                     อัตราเดียวกัน


                      Ex. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา, ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ระบบภาษี                    เก็บจากบุคคลตามฐานรายได้และทรัพย์สิน


                                                                ครัวเรือนยากจนรับภาระภาษีสูงกว่า
                                                                รายได้คนจนน้อยลง เท่ากับเพิ่มความ
            ทางอ้อม                อัตราถดถอย                   เหลื่อมล้า และมีนัยว่าคนจนอุดหนุน
                                                                คนรวยในเรื่องการจ่ายภาษี


                       Ex. ภาษีมูลค่าเพิ่ม, ภาษีสรรพสามิต, ภาษีน้ามัน, ภาษีศุลกากร
                             เก็บจากการใช้จ่ายเมื่อมีการซื้อสินค้านั้น ๆ


                                                                                          www.kpi.ac.th
มาตรการที่ต่างประเทศใช้ประกอบความเหลื่อมล้า
เพิ่มภาษีทางตรง                ภาษี
                             ทรัพย์สิน
                                            ภาษี
                                            มรดก

                           มาตรการการคลัง
      ภาษีรายได้
      จากดอกเบี้ย             ภาษีเก็บจาก
                                รายได้
                    Text      การขายหุ้น




                                                   www.kpi.ac.th
เปรียบเทียบประเทศไทย          VS     ประเทศพัฒนาแล้ว
         สัดส่วนของภาษีทางตรงและภาษีทางอ้อม




                                                 www.kpi.ac.th
สรุปแนวทางที่รัฐบาลควรดาเนินการ

๑
    ควรจะต้องมีโครงการและบริการสาธารณะ(Public goods) ที่ประชาชนทุกคน
     จะได้ประโยชน์พอ ๆ กันให้มากกว่านี้ และควรจะเป็นสินค้าและบริการซึ่งจะ
          ส่งผลลดความเหลื่อมล้าโดยเฉพาะเกี่ยวกับสุขภาพ และการศึกษา


          รัฐบาลจะต้องหารายได้ภาษีเพิ่มขึ้น...
          - เพิ่มจานวนคนที่ต้องเสียภาษีเงินได้
          - ปรับปรุงภาษีรายได้จากดอกเบี้ยทียังต่า
                                            ่              โดยให้
          - การปฏิรูประบบภาษีและการจัดเก็บให้มี     การลดความเหลื่อมล้้า
           ประสิทธิภาพ                                 เป็นเป้าหมาย




                                                                           www.kpi.ac.th
สรุปแนวทางที่รัฐบาลควรดาเนินการ (ต่อ)

2                 ต้องหลีกเลี่ยงระบบภาษีที่จะเพิ่มความเหลื่อมล้า




           ในประเด็นนี้ข้อมูลที่มอยู่ชชัดว่า...
                                 ี ี้
           2.1 ถ้าจะเพิ่มรายได้จากภาษี   ต้องหลีกเลี่ยงที่จะ
           เพิ่มภาษีทางอ้อม แต่หันไปเพิ่มชนิดของภาษี
           ทางตรงใหม่ ๆ                                          โดยผลักดันให้ผู้มี
           2.2 ต้องคิดถึงการมีภาษีมรดก และภาษี                   ทรัพย์สินมาก ๆ ใช้
           ทรัพย์สินที่มีเป้าหมายเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ที่มี      ทรัพย์สินดังกล่าว
           ทรัพย์สินมาก ๆ เก็บไว้เพื่อการเก็งกาไร                 ให้เป็นประโยชน์
                                                               ได้แก่ การสร้างผลผลิต
                                                                   และการจ้างงาน

                                                                                       www.kpi.ac.th
สรุปแนวทางที่รัฐบาลควรดาเนินการ (ต่อ)

                ต้องพยายามเลิกเงินอุดหนุนประเภทต่าง ๆ
3                ที่ให้ประโยชน์กับคนรวยมากกว่าคนจน




               ผลการศึกษาวิจัยของ Harberger (1974) ...
               - นโยบายการคลังที่ประกอบด้วยภาษีก้าวหน้า
                                     &
               - การใช้จ่ายภาครัฐที่ให้ประโยชน์กับทุกคน




                                                          www.kpi.ac.th
ส่วนที่ ๔


การเมืองไทย?




               www.kpi.ac.th
Political will
       ..อีกสาเหตุหนึ่งที่ทาให้นโยบาย
เพื่อเพิ่มความเท่าเทียมกันในอดีตไม่บังเกิด..


เนื่องมาจากการไม่มี “Political will”…

         ผู้ต้องการนโยบายไม่เคยมีโอกาสเป็นรัฐบาล
         ผู้ต้องการนโยบายไม่ประสบความสาเร็จ
         ในการผลักดันรัฐบาลให้เปลี่ยนนโยบายได้




                                                   www.kpi.ac.th
ประชาธิปไตย

    แม้ประสบการณ์ของประเทศต่าง ๆ จะบอกว่า
Political will ที่จะทาให้เกิดนโยบายเพื่อความเท่า
เทียมกันมากขึ้น น่าจะมีโอกาสดีทสุดภายใต้ระบอบ
                                    ี่
 ประชาธิปไตย ที่มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด
           ซึ่งการันตีสิทธิเสรีภาพของพลเมือง
แต่ก็มีผู้ไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอนี้ โดยพยายามบอกว่า
   ระบอบประชาธิปไตยไม่เหมาะกับสังคมไทย...




                                                     www.kpi.ac.th
ข้อโต้แย้งและข้อวิจารณ์ระบอบประชาธิปไตย
                                                                                          ระบอบประชาธิปไตย
                     คนไทยจานวนมากยังยากจน
                                                                                   อิงความเห็นของคนส่วนใหญ่เป็นหลัก
                    และยังไม่ได้รับการศึกษาที่ดีพอ
                                                                               ท้ายสุดจะนาไปสู่การปกครองที่ Mob เป็นใหญ่




         ประชาธิปไตย                                                                               ประชาธิปไตยเป็นผลเสีย
เปิดช่องให้นักการเมืองซื้อเสียงได้                      ข้อวิจารณ์                                  กับการพัฒนาเศรษฐกิจ
                                                                                              ที่ต้องการการตัดสินใจที่รวดเร็ว




                                                     ประเด็นปัญหาคอร์รัปชั่น
                                                         โดยนักการเมือง
                                                                                                               www.kpi.ac.th
คุณค่าของระบอบประชาธิปไตย




                            www.kpi.ac.th
ฝาก




      www.kpi.ac.th
ประการแรก

    ○ เราไม่สามารถสร้างประชาธิปไตยได้เพียงชั่วข้ามคืน ○

 ผ่านกระบวนการทาไปเรียนไป + ความต่อเนื่องของระบบ
      “ป้องกันไม่ให้มีการท้ารัฐประหารอย่างเต็มก้าลัง”

 ใช้ความรู้ที่สั่งสมมาจากประสบการณ์ ปรับปรุงสถาบันต่าง ๆ
ที่จาเป็นอย่างต่อเนื่อง

                                                          www.kpi.ac.th
ประการที่สอง

○ เราต้องมีสังคมที่ทุกคนยอมรับกันว่า Fair ○
                   เพื่อจะได้มีสังคมที่สันติสข
                                             ุ
                 ระบอบการเมืองที่ประกอบด้วย
                  ระบบรัฐสภาและรัฐธรรมนูญ
            ที่รับประกันสิทธิขั้นพื้นฐาน เสรีภาพ
               และกาหนดกฎเกณฑ์ทางการเมือง
  เปิดโอกาสให้เราได้บรรลุถึงเป้าประสงค์อันดีงามได้ดในที่สุด
                                                   ี



                                                              www.kpi.ac.th
LOGO
www.kpi.ac.th
LOGO
www.kpi.ac.th

More Related Content

Similar to สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45

พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยพุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยพุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียนKUJEAB
 
10101910105956 11070716165858
10101910105956 1107071616585810101910105956 11070716165858
10101910105956 11070716165858kuoil
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...freelance
 
Why Occupy Wall Street Protesters are Upset
Why Occupy Wall Street Protesters are UpsetWhy Occupy Wall Street Protesters are Upset
Why Occupy Wall Street Protesters are UpsetSarinee Achavanuntakul
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงfreelance
 
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาดกลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาดfreelance
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงfreelance
 
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาSaiiew
 
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compressเตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน CompressOrange Wongwaiwit
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 

Similar to สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45 (20)

พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยพุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
 
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยพุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
10101910105956 11070716165858
10101910105956 1107071616585810101910105956 11070716165858
10101910105956 11070716165858
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
 
Econ
EconEcon
Econ
 
Econ
EconEcon
Econ
 
Why Occupy Wall Street Protesters are Upset
Why Occupy Wall Street Protesters are UpsetWhy Occupy Wall Street Protesters are Upset
Why Occupy Wall Street Protesters are Upset
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาดกลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
 
Generation z
Generation zGeneration z
Generation z
 
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
 
H&f august 10
H&f august 10H&f august 10
H&f august 10
 
เบญจศีล
เบญจศีลเบญจศีล
เบญจศีล
 
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compressเตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
1111
11111111
1111
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45

  • 2. ลักษณะสังคมไทยในอดีต เป็นสังคมเกษตรกรรม โครงสร้างแบบหลวมๆ ยึดสถานภาพ ทรัพย์สมบัติ อานาจ เกียรติยศ คุณงามความดี เป็นเกณฑ์การ แบ่งชนชั้น รักอิสระอยู่อย่างเรียบง่าย พึ่งพาธรรมชาติ มีจิตใจอ่อนโยนเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เกื้อกูลกันและกัน ผูกพันกันในระหว่างเครือญาติ มีการแลกเปลี่ยน แบ่งปัน ยึดมั่นในพระพุทธศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณีในการดาเนินชีวิต เทิดทูนสถาบันกษัตริย์ ให้ความสาคัญในเรื่องอาวุโส ยกย่องผู้ใหญ่ ไม่เคร่งครัดกฎเกณฑ์ระเบียบ รักถิ่นฐานบ้านเกิดของตน
  • 3. สังคมเมือง มีประชากรมากและอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น เป็นศูนย์กลางการเมืองการปกครอง การศึกษา การค้า อุตสาหกรรมและการบริการ มีรายได้และรายจ่ายทางเศรษฐกิจสูง เป็นศูนย์รวมทางศาสนา สาธารณูปโภค การคมนาคมและ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ เคร่งครัดในศาสนาน้อยกว่าในชนบท มีการเปลี่ยนแปลงและเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
  • 4. สังคมชนบท มีประชากรเบาบาง กระจัดกระจายเป็นหมู่บ้าน มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ระดับการศึกษาค่อนข้างต่่า โอกาสทางการศึกษามีน้อย กว่าในเมือง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ชาวนา ชาวไร่ ผลิตผลการเกษตรค่อนข้างต่่า รายได้ไม่แน่นอน มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองน้อย เชื่อถือศรัทธาในศาสนาสูง เคร่งครัดในประเพณี การสื่อสาร การคมนาคมขนส่งไม่สะดวก
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9. ความหมายของคาว่า “ Fair ” สู่สังคม สู่สังคม เป็นธรรม ยุติธรรม สู่สังคม เท่าเทียม กัน การเห็นพ้องต้องกัน www.kpi.ac.th
  • 10. สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair “ Fair ” เท่าเทียมกันในเรื่อง การที่ลูกหลาน ความมั่นคง การมีส่วนร่วม โอกาส จะมีอนาคต ในชีวิต ในทางการเมือง แจ่มใสพอๆ กัน www.kpi.ac.th
  • 11. หัวข้อในการบรรยาย 1l สังคมไทยเหลื่อมล้่าสูงแค่ไหน? 2 ท่าไมไทยจึงเป็นสังคมเหลื่อมล้่าสูง? 3 จะก้าวไปข้างหน้าได้อย่างไร? 4 ทิ การเมืองไทย? www.kpi.ac.th
  • 13. ความไม่เท่าเทียมกัน วัฒนธรรม สังคม การเมือง เศรษฐกิจ www.kpi.ac.th
  • 14. ตัวบ่งชี้ รายได้ ความ เหลื่อมล้าทาง เศรษฐกิจ ความ มั่งคั่ง www.kpi.ac.th
  • 15. ความมั่งคั่ง ๑% ๓% ๙% ๑๘% ๑ = จนสุด - ๕ = รวยสุด ที่มา : Kiatpong, Wilatluk and Nalin, 2007
  • 16. ตัวชี้วัดความมั่งคั่ง สถิติโดยธนาคารแห่งประเทศไทย(มิถุนายน ๕๒) : ร้อยละ ๔๒ ของ เงินออมในธนาคาร เงินฝากทั้งประเทศถูกถือโดย ๗๐,๐๐๐ บัญชี กระจุกตัวอยู่ในมือคน กลุ่มเล็ก ๆ สูงมาก คนมีเงินฝากมาก ๆ ก็มีโอกาสที่จะลงทุนและ แสวงหารายได้มากกว่าคนไม่มี การกระจายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ : ระหว่างปี ๒๕๓๘ หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ ถึงปี ๒๕๔๗ พบว่า ๑๑ ตระกูลผลัดกันเป็นเจ้าของหุ้นที่ มีมูลค่าสูงสุด ๕ อันดับแรก การกระจายการถือครองที่ดินของครัวเรือนเกษตรในประเทศไทย พ.ศ. ที่ดิน ๒๕๔๙ พบว่า ร้อยละ ๔๒ ของเกษตรกรมีที่ดิน ๑๐ ไร่หรือน้อยกว่า หรือไม่มีที่ดินเลย ซึ่งนับว่าเป็นสัดส่วนที่สูงมาก www.kpi.ac.th
  • 17. การกระจายการถือครองที่ดิน ปี ๒๕๔๙ 1 ขนาดที่ดิน ร้อยละ ไม่มีที่ดินเลย ๑๘.๔๒ น้อยกว่า ๑๐ ไร่ ๒๓.๙๔ มี ๑๐ - ๑๙ ไร่ ๒๔.๙๑ มี ๒๐ ไร่หรือมากกว่า ๒๒.๗๓ www.kpi.ac.th
  • 18. การกระจายรายได้ ๑ ● ข้อมูลด้านรายได้ในกลุมคนรวย มักจะต่ากว่าความเป็นจริง ่ -สานักงานสถิตเิ ข้าไม่ถึงครอบครัวอันดับต้น ๆที่มีอยู่น้อยราย และแม้จะเข้าถึง ผู้ตอบก็จะไม่ บอกความจริงทั้งหมด -คนรวยมักจะได้รับผลประโยชน์ทางอ้อมมากกว่าคนฐานะด้อยกว่า จากการใช้จ่ายเงินของ รัฐบาล (เช่น การสร้างถนนตัดผ่านที่ดิน ทาให้ราคาที่ดินสูงขึ้น และอื่นๆ) ๒ ● สัดส่วนคนจนของไทยที่มีรายได้ใกล้เคียงกับเส้นความยากจนมีร้อยละ ๒๐ - เมื่อคานวณรายได้เฉลี่ยของคนจนสุด ๒๐% สุดท้าย พบว่าไม่ต่างจากระดับรายได้ที่ กาหนดเส้นความยากจนที่ ๑,๔๔๓ บาทต่อเดือน www.kpi.ac.th
  • 19. การกระจายรายได้ (ต่อ) ๓ ความต่างระหว่างครัวเรือนรวยสุดกับครัวเรือนจนสุด เท่ากับ ๑๓ เท่า หากเปรียบเทียบกับประเทศในต่างประเทศจะต่ากว่าของไทยมาก www.kpi.ac.th
  • 20. การกระจายรายได้ (ต่อ) ๔ ● เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน ไทยมีความเหลื่อมล้าด้านรายได้สูงกว่ามาก - (ตามแผนภาพ) แสดงค่าสัมประสิทธิ์จีนี่ ที่ชี้ระดับความเหลื่อมล้า ค่ายิ่งสูงความเหลื่อมล้ายิ่งสูง แผนภาพที่แสดง บอกว่า ของไทยสูงขึนโดยตลอด และสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้านทั้งหมด ขณะที่ในประเทศเพื่อนบ้านมีแนวโน้มลดลง ้ Gini coefficients of household income, selected Southeast Asian countries Malaysia Thailand 0.50 Philippines 0.40 Indonesia 0.30 1960 1965 1970 1975 1980 1985 1990 1995 2000 2005 Source: Adapted from a graph prepared by Hal Hill, ANU www.kpi.ac.th
  • 21. ส่วนที่ ๒ ท่าไมไทยจึงเป็น สังคมเหลื่อมล้่าสูง? www.kpi.ac.th
  • 22. ความเจริญทางเศรษฐกิจ VS การกระจายรายได้ 1 ในช่วงต้นของการพัฒนาเศรษฐกิจ เงินออมกระจุก ศาสตราจารย์ ไซมอน คุซเน็ท ศึกษา ตัวอยู่ในกลุ่มคนจานวนน้อยกลุ่มหนึ่งที่สามารถลงทุน ความโยงใยระหว่ า งความเจริ ญ ทาง หารายได้ได้มากกว่าคนอืน ๆ ่ เศรษฐกิ จ กั บ การกระจายรายได้ ใน 2 ประเทศสหรัฐฯ เยอรมนี และอังกฤษ บางสาขาเศรษฐกิจมีความสามารถผลิต (ผลิตภาพ) พบว่า เมื่อประเทศเหล่านี้เริ่มพัฒนา สาเหตุ สูงกว่าสาขาอื่น ๆ เช่น อุตสาหกรรมโตเร็วกว่าภาค ในสมัยแรก ๆ นั้น รายได้ต่อหัวเพิ่งจะ มาจาก เกษตร รายได้ของคนทางานในสาขาดังกล่าวก็จะเพิ่ม เริ่ ม ผงกหั ว ขึ้ น ความเหลื่ อ มล้ าด้ า น ในอัตราสูงกว่าสาขาอื่น ๆ นาไปสู่ความเหลื่อมล้า รายได้มีสูง แต่เมื่อพัฒนาไป รายได้ต่อ 3 หัวก็เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่อเพิ่มถึง ภายในภาคเมือง ค่าแรงของคนงานมีฝีมือสูงกว่า จุดหนึ่ง ความเหลื่อมล้้าก็ค่อย ๆ ลดลง คนงานไร้ฝีมือ ผลกาไรของนายจ้างเจ้าของโรงงานก็ เพิ่มได้เร็วกว่า ทาให้ความเหลื่อมล้าสูงขึ้น เมื่อถึงจุดหนึ่ง ความเหลื่อมล้านี้จะค่อย ๆ ลดลง ด้วยหลายสาเหตุเช่นกัน เช่น เมื่อการกระจุกตัวของเงินออมผ่อน คลายลง เนื่องจากกลุ่ม คนอื่น ๆ ที่มี รายได้ สูง ขึ้น มี โอกาสออมมากขึ้น ขณะเดี ยวกัน กลุ่ม ใหม่ ๆ ที่ มีพ ลัง ทาง เศรษฐกิจเริ่มประสบความสาเร็จเรียกร้องให้รัฐบาลดาเนินนโยบายสาธารณะเพื่อลดความเหลื่อมล้าของรายได้
  • 23. จากประวัติศาสตร์ ใช้ระบบภาษีและเงิน ทางหนึ่งคือ โอนเพื่อสร้างความ เท่าเทียมกันด้านความ มั่งคั่งและรายได้ มีสองแนวทางต่างกันที่ จะลดความเหลื่อมล้าด้าน รายได้ ให้พลังทางสังคมเป็น ทางสองคือ ตัวส่งแรงกดดันให้ลด ความเหลื่อมล้า www.kpi.ac.th
  • 24. กรณีศึกษา เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ บิสมาร์ค รับเอาระบบประกันสังคมซึ่ง เยอรมนี กลุ่มสหภาพแรงงานได้เรียกร้องให้รัฐบาลจัดทามาเป็นเวลานาน เป็นหนึ่ง ในนโยบายสาธารณะ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ ๑ และ ๒ รัฐบาลดาเนินนโยบายที่เพิ่มความเท่า อังกฤษ เทียมกันระหว่างชนชั้นต่าง ๆ และเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง มี การเปลี่ยนแปลงทีสาคัญคือ พรรคแรงงานชนะการเลือกตั้ง จึงมีโอกาส ่ เปลี่ยนอังกฤษเป็นรัฐสวัสดิการอยู่พักใหญ่ หลังจากที่ทหารยิงปืนใส่คนงาน ซึ่งกาลังพิพาทกับนายจ้างในปี ๒๔๗๕ สวีเดน ส่งผลให้พรรค Social Democracy ชนะการเลือกตังทั่วไปในปีนั้น ้ พรรคนี้ได้เป็นรัฐบาลและเปลี่ยนสวีเดนเป็นรัฐสวัสดิการ www.kpi.ac.th
  • 25. กรณีศึกษา ญี่ปุ่น สังคมที่มีความเท่าเทียมกันสูงนโยบายสาธารณะมีบทบาทสาคัญ - การยกเลิกระบบชนชั้นสมัยฟิวดัล - การยกเลิกระบบเจ้าของที่ดินและผู้เช่านา - การปฏิรปที่ดิน ู - การล้มเลิกชนชั้นอภิสิทธิ์ - การปฏิรปการเมืองที่ยอมให้พรรคการเมืองและ ู กลุ่มผลประโยชน์ที่หลากหลายมีส่วนร่วมในการเมือง - ระบบภาษีทรัพย์สินเก็บภาษีมรดกเพื่อลดความ เหลื่อมล้าและป้องกันไม่ให้มีการเก็งกาไรแบบเสือนอนกิน www.kpi.ac.th
  • 26. ทาไมความเหลื่อมล้าจึงไม่ลดลงในเมืองไทย? เมื่อ ๒ - ๓ ทศวรรษ ที่ผ่านมา อานาจ ระบบรัฐสภา กองทัพ ถูกผูกขาดอยู่ในระบบ ได้พัฒนาขึ้นมาแต่ก็ยังอยู่ในกากับของ ยังคงเป็นใหญ่ใน ราชการรวมศูนย์และ นักธุรกิจและข้าราชการเกษียณจานวน การเมืองไทยและยังคง ทหารพาณิชย์ หยิบมือหนึ่ง สามารถก่อการรัฐประหาร (ทั้งฝ่ายพลเรือนและทหาร) ล้มรัฐธรรมนูญและ รัฐสภาที่มาจากการ เลือกตัง ้
  • 27. โดยสรุป เหตุที่ความเหลื่อมล้้ายังไม่ลดลง ในเมืองไทย เป็นเพราะ... ที่ผ่านมายังไม่เคยมีการดาเนินนโยบายสาธารณะเพือแก้ไขปัญหาความ ่ เหลื่อมล้าที่แท้จริงเลยแม้แต่นโยบายเดียว อีกนัยหนึ่ง เรายัง ไม่มี Political will www.kpi.ac.th
  • 28. ส่วนที่ ๓ จะก้าวไปข้างหน้า ได้อย่างไร? www.kpi.ac.th
  • 29. กลไกที่จะช่วยลดความเหลื่อมล้าด้านรายได้ ระบบภาษี มาตรการ การคลัง การใช้จ่ายภาครัฐ www.kpi.ac.th
  • 30. มาตรการการคลังของไทยสนับสนุนคนจนหรือไม่? บุคคลธรรมดา อัตราก้าวหน้า ทางตรง นิติบุคคล อัตราเดียวกัน Ex. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา, ภาษีเงินได้นิติบุคคล ระบบภาษี เก็บจากบุคคลตามฐานรายได้และทรัพย์สิน ครัวเรือนยากจนรับภาระภาษีสูงกว่า รายได้คนจนน้อยลง เท่ากับเพิ่มความ ทางอ้อม อัตราถดถอย เหลื่อมล้า และมีนัยว่าคนจนอุดหนุน คนรวยในเรื่องการจ่ายภาษี Ex. ภาษีมูลค่าเพิ่ม, ภาษีสรรพสามิต, ภาษีน้ามัน, ภาษีศุลกากร เก็บจากการใช้จ่ายเมื่อมีการซื้อสินค้านั้น ๆ www.kpi.ac.th
  • 31. มาตรการที่ต่างประเทศใช้ประกอบความเหลื่อมล้า เพิ่มภาษีทางตรง ภาษี ทรัพย์สิน ภาษี มรดก มาตรการการคลัง ภาษีรายได้ จากดอกเบี้ย ภาษีเก็บจาก รายได้ Text การขายหุ้น www.kpi.ac.th
  • 32. เปรียบเทียบประเทศไทย VS ประเทศพัฒนาแล้ว สัดส่วนของภาษีทางตรงและภาษีทางอ้อม www.kpi.ac.th
  • 33. สรุปแนวทางที่รัฐบาลควรดาเนินการ ๑ ควรจะต้องมีโครงการและบริการสาธารณะ(Public goods) ที่ประชาชนทุกคน จะได้ประโยชน์พอ ๆ กันให้มากกว่านี้ และควรจะเป็นสินค้าและบริการซึ่งจะ ส่งผลลดความเหลื่อมล้าโดยเฉพาะเกี่ยวกับสุขภาพ และการศึกษา รัฐบาลจะต้องหารายได้ภาษีเพิ่มขึ้น... - เพิ่มจานวนคนที่ต้องเสียภาษีเงินได้ - ปรับปรุงภาษีรายได้จากดอกเบี้ยทียังต่า ่ โดยให้ - การปฏิรูประบบภาษีและการจัดเก็บให้มี การลดความเหลื่อมล้้า ประสิทธิภาพ เป็นเป้าหมาย www.kpi.ac.th
  • 34. สรุปแนวทางที่รัฐบาลควรดาเนินการ (ต่อ) 2 ต้องหลีกเลี่ยงระบบภาษีที่จะเพิ่มความเหลื่อมล้า ในประเด็นนี้ข้อมูลที่มอยู่ชชัดว่า... ี ี้ 2.1 ถ้าจะเพิ่มรายได้จากภาษี ต้องหลีกเลี่ยงที่จะ เพิ่มภาษีทางอ้อม แต่หันไปเพิ่มชนิดของภาษี ทางตรงใหม่ ๆ โดยผลักดันให้ผู้มี 2.2 ต้องคิดถึงการมีภาษีมรดก และภาษี ทรัพย์สินมาก ๆ ใช้ ทรัพย์สินที่มีเป้าหมายเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ที่มี ทรัพย์สินดังกล่าว ทรัพย์สินมาก ๆ เก็บไว้เพื่อการเก็งกาไร ให้เป็นประโยชน์ ได้แก่ การสร้างผลผลิต และการจ้างงาน www.kpi.ac.th
  • 35. สรุปแนวทางที่รัฐบาลควรดาเนินการ (ต่อ) ต้องพยายามเลิกเงินอุดหนุนประเภทต่าง ๆ 3 ที่ให้ประโยชน์กับคนรวยมากกว่าคนจน ผลการศึกษาวิจัยของ Harberger (1974) ... - นโยบายการคลังที่ประกอบด้วยภาษีก้าวหน้า & - การใช้จ่ายภาครัฐที่ให้ประโยชน์กับทุกคน www.kpi.ac.th
  • 37. Political will ..อีกสาเหตุหนึ่งที่ทาให้นโยบาย เพื่อเพิ่มความเท่าเทียมกันในอดีตไม่บังเกิด.. เนื่องมาจากการไม่มี “Political will”… ผู้ต้องการนโยบายไม่เคยมีโอกาสเป็นรัฐบาล ผู้ต้องการนโยบายไม่ประสบความสาเร็จ ในการผลักดันรัฐบาลให้เปลี่ยนนโยบายได้ www.kpi.ac.th
  • 38. ประชาธิปไตย แม้ประสบการณ์ของประเทศต่าง ๆ จะบอกว่า Political will ที่จะทาให้เกิดนโยบายเพื่อความเท่า เทียมกันมากขึ้น น่าจะมีโอกาสดีทสุดภายใต้ระบอบ ี่ ประชาธิปไตย ที่มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด ซึ่งการันตีสิทธิเสรีภาพของพลเมือง แต่ก็มีผู้ไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอนี้ โดยพยายามบอกว่า ระบอบประชาธิปไตยไม่เหมาะกับสังคมไทย... www.kpi.ac.th
  • 39. ข้อโต้แย้งและข้อวิจารณ์ระบอบประชาธิปไตย ระบอบประชาธิปไตย คนไทยจานวนมากยังยากจน อิงความเห็นของคนส่วนใหญ่เป็นหลัก และยังไม่ได้รับการศึกษาที่ดีพอ ท้ายสุดจะนาไปสู่การปกครองที่ Mob เป็นใหญ่ ประชาธิปไตย ประชาธิปไตยเป็นผลเสีย เปิดช่องให้นักการเมืองซื้อเสียงได้ ข้อวิจารณ์ กับการพัฒนาเศรษฐกิจ ที่ต้องการการตัดสินใจที่รวดเร็ว ประเด็นปัญหาคอร์รัปชั่น โดยนักการเมือง www.kpi.ac.th
  • 41. ฝาก www.kpi.ac.th
  • 42. ประการแรก ○ เราไม่สามารถสร้างประชาธิปไตยได้เพียงชั่วข้ามคืน ○  ผ่านกระบวนการทาไปเรียนไป + ความต่อเนื่องของระบบ “ป้องกันไม่ให้มีการท้ารัฐประหารอย่างเต็มก้าลัง”  ใช้ความรู้ที่สั่งสมมาจากประสบการณ์ ปรับปรุงสถาบันต่าง ๆ ที่จาเป็นอย่างต่อเนื่อง www.kpi.ac.th
  • 43. ประการที่สอง ○ เราต้องมีสังคมที่ทุกคนยอมรับกันว่า Fair ○ เพื่อจะได้มีสังคมที่สันติสข ุ ระบอบการเมืองที่ประกอบด้วย ระบบรัฐสภาและรัฐธรรมนูญ ที่รับประกันสิทธิขั้นพื้นฐาน เสรีภาพ และกาหนดกฎเกณฑ์ทางการเมือง เปิดโอกาสให้เราได้บรรลุถึงเป้าประสงค์อันดีงามได้ดในที่สุด ี www.kpi.ac.th