SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์

                    วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว)


                                     พระบรมมหาราชวัง


               วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร
                                              (วัดโพธิ์)
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว)




พระบรมมหาราชวัง




                  วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร
                                  (วัดโพธิ)
                                          ์




                              ภาพถ่าย : นายจิระเดช จันทร์แย้ม
วัดพระศรีรตนศาสดาราม (Temple of the Emerald Buddha) วัดพระแก้ว
            ั




วัดพระศรีรตนศาสดาราม หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า วัดพระแก้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
          ั
โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นพร้อมกับการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2325 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2327
      เป็นวัดที่สร้างขึ้นในเขตพระบรมมหาราชวัง ตามแบบวัดพระศรีสรรเพชญ สมัยอยุธยา วัดนี้อยู่ในเขต
พระราชฐานชั้นนอก ทางทิศตะวันออก มีพระระเบียงล้อมรอบเป็นบริเวณ เป็นวัดคู่กรุงทีไม่มีพระสงฆ์จา
                                                                              ่
พรรษา ใช้เป็นที่บวชนาคหลวง และประชุมข้าทูลละอองพระบาทถือน้าพระพิพนน์สัตยา
                                                                  ั
      รัชกาลที่ 1 โปรดเกล้าให้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรหรือพระแก้วมรกต
พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของไทย มาประดิษฐาน ณ ทีนี้ วัดพระศรีรตนศาสดารามนี้ ภายหลังจากการ
                                                 ่            ั
สถาปนาแล้ว ก็ได้รับการปฏิสังขรณ์สืบต่อมาทุกรัชกาล เพราะเป็นวัดสาคัญ จึงมีการปฏิสังขรณ์ใหญ่ทุก 50 ปี
คือในสมัยพระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หว พระบาทสมเด็จ
                              ่           ่                                     ั
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน
       เนืองในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี ในปี พ.ศ. 2525 ที่ผ่านมา การบูรณปฏิสังขรณ์ที่
          ่
ผ่านมามุ่งอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมอันเป็นมรดกชิ้นเอกของชาติ ให้คงความงามและรักษาคุณค่า
ของช่างศิลป์ไทยไว้อย่างดีที่สุด เพื่อให้วัดพระศรีรตนศาสดารามนี้อยู่คู่กับกรุงรัตนโกสินทร์ตลอดไป
                                                  ั
ตานานพระแก้วมรกต (สาหรับผูทสนใจครับ)
                          ้ ี่
       สันนิษฐานว่าพระแก้วมรกตนั้นสร้างขึ้นในสมัยเชียงแสน ทาจากหยกสีเขียวเข้ม จาหลักเป็นปางสมาธิ
หน้าตักกว้าง 43 ซม. สูง 55 ซม. พบครั้งแรกในเจดีย์วัดป่าญะ จ.เชียงราย ปีพ.ศ. 1977 เป็นพระปูนลงรักปิด
ทอง ต่อมาปูนกะเทาะจนเห็นองค์จริง พระเจ้าสามฝั่งแกน เจ้าเมืองเชียงใหม่ จึงจัดขบวนช้างมาอัญเชิญ แต่
ขบวนช้างไม่ยอมเข้าเมืองเชียงใหม่ เลยนาไปประดิษฐานที่วัดพระแก้วดอนเต้า จ.ลาปาง
        พ.ศ. 2011 พระเจ้าติโลกราชทรงอัญเชิญไปประดิษฐานที่วัดเจดีย์หลวง จ.เชียงใหม่ แต่ต่อมา พ.ศ.
2094 พระเจ้าไชยเชษฐา เจ้าเมืองเชียงใหม่ เสด็จไประงับเหตุพพาทที่หลวงพระบาง จึงอัญเชิญเสด็จไปด้วย
                                                         ิ
เมื่อหลวงพระบางถูกรุกรานจากพม่าในปี พ.ศ. 2107 พระเจ้าไชยเชษฐาได้ย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่เวียงจันทน์
พร้อมกับอัญเชิญพระแก้วมรกตไป
        จน พ.ศ. 2321 เมื่อเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกยกทัพไปตีเวียงจันทน์ ได้อญเชิญลงมาประดิษฐานยังโรง
                                                                           ั
พระแก้ว ณ พระราชวังเดิม ในกรุงธนบุรี ครันเสด็จไปปราบดาภิเษกขึ้นเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีแล้ว
                                             ้
ได้อัญเชิญมาประดิษฐานยังพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และพระราชทานนามว่า “พระพุทธมหามณี
รัตนปฏิมากร” พร้อมกับสร้างเครื่องทรงฤดูรอนและฤดูฝนถวาย ส่วนเครื่องทรงฤดูหนาวมาสร้างถวายใน
                                           ้
รัชกาลที่ 3 และใช้เรื่อยมาจนถึงรัชกาลปัจจุบัน จึงโปรดเกล้าฯ ให้กรมธนารักษ์จัดสร้างเครื่องทรงขึ้นใหม่
ทั้งหมด ส่วนของเดิมให้นาไปเก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
ภายในวัดพระแก้ว
    (สิ่งที่น่าสนใจในวัดพระแก้ว) เกร็ดความรู้
พระอุโบสถ
     สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๑ เป็นพระอุโบสถขนาดใหญ่ หลังคาลด ๔ ระดับ ๓ ซ้อน มีช่อฟ้า ๓ ชั้น ปิดทอง
ประดับกระจก ตัวพระอุโบสถมีระเบียงเดินได้โดยรอบ มีหลังคาเป็นพาไลคลุม รับด้วยเสานางรายปิดทอง
ประดับกระจกทั้งต้น พนักระเบียงรับเสานางราย ทาเป็นลูกฟักประดับด้วยกระเบื้องเคลือบสีอย่างจีน ตัวพระ
อุโบสถมีฐานปัทม์รับอีกชั้นหนึ่ง ประดับครุฑยุดนาคหล่อด้วยโลหะปิดทอง มีเสารายเทียนหล่อด้วยทองแดง
ล้อมรอบทั้งสี่ด้าน




จิตรกรรมฝาผนังวัดพระแก้ว
     เป็นจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์รอบพระระเบียงวัด ร้อยเรียง เล่าขานตานาน เรื่องรามเกียรติ์ถึง
178 ห้อง เป็นภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังที่ยาวที่สุดในโลก
พระพุทธมหามณีรตนปฏิมากร
              ั
ภายในพระอุโบสถเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร(พระแก้วมรกต)
   พระพุทธรูปปางสมาธิ ทาด้วยมณีสีเขียวเนื้อเดียวกันทังองค์ หน้าตักกว้าง ๔๘.๓ ซม. สูงตั้งแต่ฐานถึงยอด
                                                     ้
พระเศียร ๖๖ ซม. ประดิษฐานอยู่ในบุษบกทองคา พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร พระบาทสมเด็จพระพุทธ
ยอดฟ้าจุฬาโลก มีพระราชศรัทธาสร้างเครืองทรงถวายเป็นพุทธบูชา สาหรับฤดูร้อนและฤดูฝน
                                     ่
   เครื่องทรงสาหรับฤดูร้อน เป็นเครืองต้นประกอบด้วยมงกุฎพาหุรัด ทองกร พระสังวาล เป็นทองลงยา
                                   ่
ประดับมณีต่างๆ จอมมงกุฎประดับด้วยเพชร
    เครืองทรงสาหรับฤดูฝน เป็นทองคา เป็นกาบหุ้มองค์พระอย่างห่มดอง จาหลักลายที่เรียกว่าลายพุ่มข้าว
        ่
บิณฑ์ พระเศียรใช้ทองคาเป็นกาบหุ้ม ตั้งแต่ไรพระศกถึงจอมเมาฬี เม็ดพระศกลงยาสีน้าเงินแก่ พระลักษมี ทา
เวียนทักษิณาวรรต ประดับมณีและลงยาให้เข้ากับเม็ดพระศก
   พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างเครืองฤดูหนาวถวายอีกชุดหนึ่ง ทาด้วยทองเป็นหลอดลง
                                                   ่
ยาร้อยด้วยลวดทองเกลียว ทาให้ไหวได้ตลอดเหมือนกับผ้า ใช้คลุมทั้งสองพาหาขององค์พระ




กาหนดวันเปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้วมรกตมีดังนี้
วันแรม 1 ค่า เดือน 4 เปลี่ยนเครื่องทรงฤดูหนาวเป็นเครืองทรงฤดูร้อน
                                                     ่
วันแรม 1 ค่า เดือน 8 เปลี่ยนเครื่องทรงฤดูหนาวเป็นเครืองทรงฤดูฝน
                                                     ่
วันแรม 1 ค่า เดือน 12 เปลี่ยนเครืองทรงฤดูหนาวเป็นเครืองทรงฤดูหนาว
                                 ่                   ่


***มีการบันทึกภาพไว้ให้ผู้ที่สนใจดูทางโทรทัศน์
ปราสาทพระเทพบิดร
      เดิมเรียก “พุทธปรางค์ปราสาทเป็นปราสาทยอดปรางจัตุรมุข สร้างในสมัยรัชกาลที่ 4 ภายใน
ประดิษฐาน พระบรมรูปรัชกาลที่ 1-8 เปิดให้ประชาชนเข้าถวายบังคมพระบรมรูปในวันจักรี ( 6 เม.ย. ) ของ
ทุกปี




พระศรีรตนเจดีย์
       ั
     สร้างขึ้นตามแบบเจดีย์ดพระศรีสรรเพชญ์สมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งอยู่ด้านตะวันตกของพระมณฑป
ภายในมีเจดีย์ องค์เล็กประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ
พระอัษฏามหาเจดีย์
     บริเวณด้านหน้าพระอาราม สร้างสมัยรัชกาลที่ 1 เพื่อถวายแด่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ตั้งอยู่ภายนอกระเบียง 6
องค์ภายใน ระเบียง 2 องค์มีชื่อประจาทุกองค์




ยักษ์ทวารบาล
       ตังเรียงรายที่ช่องประตูพระระเบียงมีคเู่ ป็นยักษ์ตัวเอกจากเรื่องรามเกียรติ์ ยืนยามเฝ้ารอบพระอุโบสถ
         ้
วัดพระแก้ว นัน มี 12 ตน เป็นรูปปูนปั้นประดับกระเบื้อง ติดกระจก ยืนกุมกระบองอยู่ประจาประตูต่าง ๆ รอบ
               ้
พระอุโบสถ สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยรัชกาลที่ ๒ สูงประมาณ ๖ เมตร แต่ละตนก็มีสีสันและหน้าตาแตกต่าง
กัน ยักษ์เหล่านี้ สร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3พร้อมกับยักษ์วัดแจ้ง (วัดอรุณ
ราชวราราม) มีชื่อเรียงลาดับไปทางขวา โดยเริ่มจากบันไดหน้าปราสาทพระเทพบิดรดังนี้..สุริยาภพ (กายสี
แดง) อินทรชิต (กายสีเขียว) มังกรกัณฐ์ (กายสีเขียว)วิรุฬหก (กายสีขาบ หรือน้าเงินเข้ม) ทศคีรีธร (กายสี
เขียว) ทศคีรีวัน (กายสีหม้อไหม้)ักรวรรดิ (กายสีขาว)อัศกรรณมารา (กายสีม่วงเข้ม) ทศกัณฐ์ (กายสีเขียว)
สหัสเดชะ (กายสีขาว) ไมยราพณ์ (กายสีม่วงอ่อน)วิรัญจาบัง (กายสีขาวเจือดา
รายละเอียดเพิมเติม
             ่
เวลาทาการ: ทุกวัน 08.30-15.30 น. คนไทยเข้าชมฟรี ชาวต่างชาติ 200 บาท
กิจกรรม-เทศกาล :วันอาทิตย์ เทศนาธรรม 13.00 น.
                 วันพระ: เทศนาธรรม 09.00 น. และ13.00 น.
                  มัคคุเทศน์ 10.00 น. และ 14.00 น.
ข้อห้าม:ห้ามถ่ายรูปในพระอุโบสถ การแต่งกาย
       ผู้ชาย: ห้ามใส่กางเกงขาสั้น รองเท้าแตะ
       ผู้หญิง: ห้ามใส่เสื้อกล้าม ใส่เสื้อไม่มีแขนกางเกงสามส่วน รองเท้าแตะ


                                                                ทีสาคัญ: ห้ามสูบบุหรีภายในวัดนะ! ! !
                                                                  ่                  ่


                                            สาหรับท่านทีสนใจเดินทางไปส่วนตัว
                                                        ่
                                            การเดินทางไป วัดพระแก้ว
                                            วัดพระแก้วตั้งอยู่บนถนนหน้าพระลาน กรุงเทพมหานคร
                                            ใกล้ๆ กับท้องสนามหลวงและแม่น้าเจ้าพระยา มีรถโดยสาร
                                            ผ่านหลายสาย เดินทางไปชมได้สะดวกตลอดปี
                                            รถประจาทาง: 1 3 6 9 15 19 25 30 32 33 39 43 44 47 53
                                            59 60 64 65 70 80 82 91 123 201203
                                            รถปรับอากาศ: 1 8 25 38 39 44 506 507 512
                                            ที่จอดรถ: ท่าราชวรดิษฐ์,วัดมหาธาตุฯ ,ท่าพระจันทร์
พระบรมมหาราชวัง (Grand Palace)




      พระบรมมหาราชวัง เป็นทีประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จ
                              ่
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวง
พระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัตศาสตร์และ
                                                                                         ิ
อนุสาวรีย์ที่มีความสาคัญมากแห่งหนึ่งของประเทศไทย
          พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสร้างขึ้นพร้อมสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อ
แรกสร้างประกอบด้วย 3 ส่วนคือ พระมหาปราสาท พระราชมณเฑียรสถาน และวัดพระศรีรตนศาสดาราม มี
                                                                                   ั
เนื้อที่ 132 ไร่ ในอดีตพระบรมมหาราชวังเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ ลักษณะแบบแผนการก่อสร้าง
คล้ายคลึงกับพระบรมมหาราชวังเก่าในสมัยกรุงศรีอยุธยาคือ มีวัดพระศรีรตนศาสดารามอยู่ในบริเวณวัง
                                                                   ั
เหมือนกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 เริ่มรับอิทธิพล
จากตะวันตกทาให้สถาปัตยกรรมมีลักษณะผสมผสานกับทางตะวันตกมากขึ้น หมู่พระที่นงที่สาคัญมีดังนี้ คือ
                                                                              ั่
        พระทีนงดุสตมหาปราสาท เดิมชื่อพระที่นั่งอินทราภิเษกมหาปราสาท เป็นพระมหาปราสาทองค์แรกที่
             ่ ั่ ิ
สร้างขึ้นในพระราชวัง เป็นทีประดิษฐานพระบรมศพพระมหากษัตริย์ สมเด็จพระอัครมเหสี และพระบรมวงศา
                           ่
นุวงศ์ใช้ประกอบพระราชพิธีสาคัญ เช่น พระราชพิธีการมงคลและบาเพ็ญพระราชกุศลต่าง ๆ
        พระทีนงจักรีมหาปราสาท สร้างในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ.
             ่ ั่
2419 ใช้เป็นทีรับรองพระราชอาคันตุกะชันพระราชาธิบดี หรือชั้นประมุขของรัฐ นอกจากนี้ยังมีหมู่พระทีนั่ง
               ่                       ้                                                       ่
สาคัญอื่น ๆ เช่น พระที่นงราชกรัณยสภา พระที่นงมูลสถานบรมอาสน์ พระที่นงบรมราชสถิตย์มโหฬาร พระที่
                        ั่                   ั่                       ั่
นั่งจักรพรรดิพิมาน พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ฯลฯ
พระทีนงอาภรณ์พโมกข์ปราสาท อยู่ใกล้กับพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทใช้เป็นที่ประทับทรงพระราช
            ่ ั่      ิ
พาหนะ และประทับเปลื้องเครื่องในงานพระราชพิธีที่มีขบวนแห่ พระที่นงพิมานรัตยา สร้างเมื่อ พ.ศ. 2332
                                                                ั่
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหัว ทรงใช้เป็นที่บรรทม และทรงใช้เป็นที่ชุมนุมมหาสมาคม
                                      ่
สาหรับพระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชบริพารฝ่ายในเข้ารับพระราชทานเครื่องอิสริยยศ และ
เครืองราชอิสริยาภรณ์ และนอกจากนันยังเป็นที่สรงน้าพระบรมศพพระบรมวงศานุวงศ์ก่อนที่จะประดิษฐาน
    ่                            ้
พระบรมโกศในพระที่นงดุสิตมหาปราสาท
                   ั่
       ศาลาเครืองราชอิสริยยศและเหรียญกษาปณ์ ตังอยู่ภายในบริเวณพระบรมมหาราชวังด้านขวามือก่อน
               ่                                ้
ถึง ทางเข้าพระราชวังส่วนใน จัดแสดงเหรียญกษาปณ์ และเงินตราที่ใช้ในประเทศไทยรวมทั้ง
เครืองราชอิสริยาภรณ์ของสานักฝ่ายใน เปิดให้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30-16.00 น. ค่าเข้าชม 10 บาท
    ่




*** นอกจากนีพระบรมมหาราชวังยังอยู่บริเวณใกล้กับวัดพระศรีรัตนศาสดารามหรือวัดพระแก้วอีกด้วยเรียก
                ้
ได้ว่าได้ชมทั้งสองสถานที่สาคัญในเวลาติดๆกันเลยทีเดียว
สิงทีคณจะเห็นจนชินภายใน
  ่ ุ่
ทหารรักษาการ
      ทหารรักษาการที่ยืนประจาอยู่บริเวณหน้าพระบรมมหาราชวังนั้น ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยว
มาก เพราะพวกเขาปฏิบัติหน้าที่อย่างแข็งขัน ท่าทางเคร่งขรึม และยืนนิ่งตลอดเวลา แสดงให้เห็นถึงการให้
ความสาคัญกับพระบรมมหาราชวัง เพื่อให้ควรค่าแก่การปกป้องรักษาเอาไว้สืบไป และถึงแม้ทหารรักษาการ
จะต้องยืนนิงเป็นเวลานาน แต่พวกเขาก็มีความยินดีและปฏิบัติหน้าที่ด้วยความภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่ง
           ่




       บางเวลาก็จะเห็นรวมพลและเดินตรวจตราภายในพระบรมมหาราชวัง เป็นภาพทีหลายๆคนเห็นจนชิน
                                                                       ่
ถ้าเดินเที่ยวชมภายในเป็นเวลานาน
สาหรับผูทสนใจเดินทางมาด้วยตัวเอง
        ้ ี่
เวลาเปิดทาการ: พระบรมมหาราชวังเปิดให้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30-16.00 น.
(ห้องจาหบ่ายบัตรเข้าชม ปิดเวลา 15.30 น.)
การแต่งกายทีเ่ หมาะสมเมือเข้าชมพระบรมมหาราชวัง
                        ่
๑. ห้ามใส่กางเกงขาสั้น, กระโปรงสั้น,เสื้อรัดรูป
๒. ห้ามใส่เสื้อผ้า, กางเกง, กระโปรงที่บางจนเกินไป
๓. ห้ามใส่เสื้อกล้าม, เสื้อแขนกุด, รองเท้าแตะที่ไม่มีสายรัดข้อเท้า
๔. ห้ามเอาชายเสื้อออกนอกกางเกง
ค่าธรรมเนียม-ค่าเข้าชม: ชาวต่างชาติ 200 บาท
                         ชาวไทย ไม่เสียค่าเข้าชม
มัคคุเทศน์ 10.00 น. และ 14.00 น.
เครืองบรรยายภาษาต่างประเทศ: จีนกลาง ญี่ปุ่น ไทย ฝรั่งเศส สเปน เยอรมัน รัสเซีย อังกฤษ
    ่
ค่าธรรมเนียม: 100 บาท/2 ชั่วโมง
ค่าธรรมเนียม-ค่าเข้าชม: คนไทย 10 บาท มัคคุเทศน์ เข้าชมเป็นหมู่คณะตั้งแต่ 10 คน ขึ้นไปต้องทาหนังสือขอ
อนุญาตถึงผู้อานวยการสานักงานบริหารเงินตรา ล่วงหน้า 1 สัปดาห์
ข้อห้าม: ถ่ายภาพในอาคาร
รถประจาทาง: 1 3 6 9 15 19 25 30 32 33 39 43 44 47 53 59 60 64 65 70 80 82 91 123 201 203
รถปรับอากาศ: 1 8 25 38 39 44 506 507 512
ท่าเรือ: เรือด่วนเจ้าพระยา: ท่าช้าง
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (wat phra chetuphon wimon
           mangkhlaram ratchaworamahawihan) วัดโพธิ์




        สรรพศิลป์ สรรพศาสตร์ ในวัดโพธิ์พระอารามหลวงซึ่งบุรพมหากษัตริย์ แห่งราชวงศ์จักร รัชสมัย
รัชกาลที่ ๑ และรัชกาลที่ ๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์รวมกาลสมัยของ ๒ พระองค์ นาน
ถึง ๒๕ ปี ดังนัน การเข้าไปเที่ยวชมแต่ละครั้งที่เรามีเวลาอย่างน้อยครั้งละ ๒ - ๓ ชั่งโมงนั้น นับเป็นการชม
               ้
อย่างกวาดตา หากจะพินิจพิเคราะห์หยั่งลึกลงไปถึงแก่นแท้ แห่งภูมิปัญญาช่างศิลป์ไทยกันแล้ ว นับว่าชั่วชีวิต
กันทีเดียว
     พระอุโบสถ ตามคติความเชื่อของพุทธศาสนิกชน เขตวิสุงคามสีมา หรือพระอุโบสถ เป็นพุทธศาสน
สถานที่สาคัญที่สุด ถ้าวัดใดไม่มีอุโบสถ หรือมีอุโบสถแต่ยังไม่ได้ผูกพัทธสีมาจะเป็นวัดที่สาคัญยังไม่ได
       พระอุโบสถ สร้างสมัยรัชกาลที่ ๑ ตามแบบศิลปะอยุธยาตอนปลาย และขยายใหญ่ขึ้นเท่าทีเ่ ห็นในสมัย
รัชกาลที่ ๓ ซุ้มจรณัมประจาประตูหน้าต่างฉลัก (สลัก) ด้วย ไม้แก่น ยอดเป็นทรงมงกุฎลงรักปิดทอง ประดับ
กระจก บานประตูพระอุโบสถ ด้านนอกลายประดับมุก เป็นลายภาพเรื่อง รามเกียรติ์ ด้านในเขี ยนลายรดน้า
รูปพัดยศพระราชาคณะ พระครูสัญญาบัตร ฐานานุกรมเปรียญทั้งฝ่ายคามวาสีและอรัญวาสีในกรุงและหัว
เมือง
๙ สิงมหัศจรรย์วดโพธ์ทคณควรรูเ้ มือถึงวัดแล้ว
    ่          ั     ี่ ุ        ่
       ๙ สิ่งมหัศจรรย์วัดโพธิ์ เป็นความร่วมมือระหว่างการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และ วัดพระเชตุพน
วิมลมังคลาราม(วัดโพธิ์) มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนและสถาบัน
ศาสนา และสร้างจิตสานึกและความภาคภูมิใจในความเป็นไทย อีกทั้งอนุรักษ์วิถีความเป็นอยู่และ
ศิลปวันนธรรมไทยรวมทั้งสร้างกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวในยามค่าคืนในเขตโบราณสถานใน
กรุงเทพมหานคร
   1. มหัศจรรย์พระไสยาส พระพุทธรูปขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ โดยมีลักษณะพิเศษ คือ มี
ประดับมุกภาพมงคล 108 ประการที่พระบาท




    2. มหัศจรรย์ตาราเวชเชตุพน ศาลาจารึกตารานวดแผนโบราณ มีจิตรกรรมลายเส้นบอกตาแหน่งนวด
นับเป็นบันทึกทีรวบรวมสรรพวิชาทั้งการแพทย์ การเมือง การปกครอง ประวัติการสร้างวัด และ วรรณคดี
               ่
นับเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ
   3. มหัศจรรย์มหาเจดีย์ สี่รัชกาล เป็นมหาเจดีย์ขนาดใหญ่ 4 องค์ องค์พระเจดีนนเป็นแบบเจดีย์ย่อไม้สิบ
                                                                            ั้
สอง ประดับด้วยกระเบื้องเคลือบ อันประกอบด้วย พระมหาเจดีย์ประจารัชกาลที่ 1 - 4
4. มหัศจรรย์ตนตานานสงกรานต์ไทย คติความเชื่อตานานสงกรานต์ ซึ่งรัชกาลที่ 3 ให้จารึกลงในแผ่นศิลา
                  ้
ติดไว้ที่วัดโพธิ์ เป็นเรื่องเล่าถึงความเป็นมาของประเพณีดงกล่าว โดยสมมุติผ่านเรื่องราวธรรมบาลกุมารและ
                                                        ั
นางสงกรานต์ทงเจ็ดเทียบกับแต่ละวันในสัปดาห์
                    ั้
    5. มหัศจรรย์มรดกโลกวัดโพธิ์ ซึงรัชกาลที่ 3 ทรงให้นาองค์ความรู้จากปราชญ์ของไทยเช่น ตารา
                                     ่
การแพทย์ โบราณคดี วรรณกรรม โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอนฯลฯ จารึกลงบนแผ่นหินอ่อนประดับไว้ตาม
บริเวณผนังภายในวัดซึ่งความรู้ที่จารึกไว้บนแผ่นศิลาในปัจจุบันรวมเรียกว่า ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน โดย
องค์การยูเนสโกมีมติรับรองขึ้นทะเบียนศิลาจารึกพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นเอกสารมรดกความทรงจา
แห่งโลก
    6. มหัศจรรย์ตานานยักษ์วัดโพธิ์ บอกเล่าเรื่องราวตานานเกี่ยวกับยักษ์วัดโพธิ์และยักษ์ วัดแจ้งซึ่งทาให้
เกิดท่าเตียนในปัจจุบัน
   7. มหัศจรรย์ผ่านภพรัตนโกสินทร์ พระอุโบสถหลังเก่าของวัดโพธารามตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา แต่
ภายหลังการสถาปนาพระอุโบสถหลังใหม่ของวัดพระเชตุพนแล้ว จึงได้ลดฐานะเป็นศาลาการเปรียญ โดย
ภายในมี “พระพุทธศาสดา” ประดิษฐานเป็นพระประธาน




    8. มหัศจรรย์วิจิตรพระพุทธเทวปฏิมากร ภายในพระอุโบสถ ประดิษฐานพระพุทธเทวปฏิมากร เป็น
พระพุทธรูปปางสมาธิ ซึ่งรัชกาลที่ 1 ทรงอัญเชิญมาจากวัดศาลาสี่หน้า ด้วยประสงค์ตั้งมันแน่วแน่ว่า นี่จะ
                                                                                  ่
เป็นพระนครอย่างถาวร
    9. มหัศจรรย์ต้นตารับนวดแผนไทย รัชกาลที่ 1 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้รวบรวมการแพทย์แผน
โบราณและศิลปะวิทยาการครั้งกรุงศรีอยุธยาไว้ ทรงพระราชดารินาเอาท่าดัดตนอันเป็นการพักผ่อนอิริยาบถ
แก้เมื่อยตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย และประยุกต์กับคติไทยที่ยกย่องฤษีเป็นครูผู้ประสิทธิ์ประสาทวิทยาการ
ต่างๆ เป็นรูปฤาษีดดตน แสดงท่าไว้ที่วัดเพื่อให้ราษฎรทั่วไปได้ศึกษาเล่าเรียนและรักษาโรคได้อย่างกว้างขวาง
                  ั
สาหรับผูทสนใจจะเทียวชมด้วยตนเอง
        ้ ี่      ่
เปิดให้เข้าชมระหว่างเวลา 8.00-21.00 น. ทุกวัน
คนไทยเข้าชมฟรี ชาวต่างชาติ คนละ 50 บาท
สาหรับนักท่องเที่ยวต้องแต่งกายสุภาพ สุภาพสตรี ห้ามสวมกางเกงขาสั้นเหนือเข่าเข้าไปเที่ยวชม
ค่าบริการนวดชั่วโมงละ ๒๐๐ บาท
ค่าบริการนวดและประคบสมุนไพร ชั่วโมงละ ๓๐๐ บาท
ค่าบริการนวดเท้า ชั่วโมงละ ๒๕๐ บาท
๑. รถประจาทางธรรมดา สาย 1 3 6 9 12 25 32 43 44 47 48 51 52 82 103
๒. รถประจาทางปรับอากาศ ปอ.1 ปอ.6 ปอ.7 ปอ.8 ปอ.12 ปอ.44
๓. เดินทางโดยเรือด่วนเจ้าพระยา สามารถขึ้นฝั่งทีท่าเรือท่าช้าง, ท่าเรือท่าเตียน, ท่าเรือปากคลองตลาด แล้ว
                                               ่
เดินเข้าประตูทางถนนท้ายวังได้

More Related Content

What's hot

การเขียนสารคดี ขนมจีน (แก้ไขอันใหม่)
การเขียนสารคดี ขนมจีน (แก้ไขอันใหม่)การเขียนสารคดี ขนมจีน (แก้ไขอันใหม่)
การเขียนสารคดี ขนมจีน (แก้ไขอันใหม่)
Maii's II
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
Milky' __
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
krurutsamee
 
งานนำเสนอ Ppt. วิจัย
งานนำเสนอ Ppt. วิจัยงานนำเสนอ Ppt. วิจัย
งานนำเสนอ Ppt. วิจัย
savokclash
 
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
Kobwit Piriyawat
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
chemnpk
 
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
วิริยะ ทองเต็ม
 

What's hot (20)

วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน (แก้ไขอันใหม่)
การเขียนสารคดี ขนมจีน (แก้ไขอันใหม่)การเขียนสารคดี ขนมจีน (แก้ไขอันใหม่)
การเขียนสารคดี ขนมจีน (แก้ไขอันใหม่)
 
Pat2 ครุั้งที่2/2554
Pat2 ครุั้งที่2/2554Pat2 ครุั้งที่2/2554
Pat2 ครุั้งที่2/2554
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
สงครามเปอร์เซีย
สงครามเปอร์เซียสงครามเปอร์เซีย
สงครามเปอร์เซีย
 
ใบความรู้ สภาพอากาศ ป.1+420+dltvsocp1+55t2soc p01 f16-1page
ใบความรู้ สภาพอากาศ ป.1+420+dltvsocp1+55t2soc p01 f16-1pageใบความรู้ สภาพอากาศ ป.1+420+dltvsocp1+55t2soc p01 f16-1page
ใบความรู้ สภาพอากาศ ป.1+420+dltvsocp1+55t2soc p01 f16-1page
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 
งานนำเสนอ Ppt. วิจัย
งานนำเสนอ Ppt. วิจัยงานนำเสนอ Ppt. วิจัย
งานนำเสนอ Ppt. วิจัย
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
 
ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
อบรมภาวะโลกร้อน
อบรมภาวะโลกร้อน อบรมภาวะโลกร้อน
อบรมภาวะโลกร้อน
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
 
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 

Similar to วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)

วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
Junior'z Pimmada Saelim
 
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1  วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
Junior'z Pimmada Saelim
 
วัดพระศรี..
วัดพระศรี..วัดพระศรี..
วัดพระศรี..
yuparat4118
 
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 4121
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 4121วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 4121
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 4121
marut4121
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
guest70f05c
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
ไนซ์ ไนซ์
 
พระราชวังเดิม
พระราชวังเดิมพระราชวังเดิม
พระราชวังเดิม
PRINTT
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
PRINTT
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
zubasa_potato
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
ไนซ์ ไนซ์
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
Makuro DarkSoul
 

Similar to วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ) (20)

วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
 
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1  วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
 
วัด
วัดวัด
วัด
 
วัดพระศรี..
วัดพระศรี..วัดพระศรี..
วัดพระศรี..
 
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 4121
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 4121วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 4121
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 4121
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
พระราชวังเดิม
พระราชวังเดิมพระราชวังเดิม
พระราชวังเดิม
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
Ita
ItaIta
Ita
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 

วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)

  • 1. วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) พระบรมมหาราชวัง วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ์)
  • 2. วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) พระบรมมหาราชวัง วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ) ์ ภาพถ่าย : นายจิระเดช จันทร์แย้ม
  • 3. วัดพระศรีรตนศาสดาราม (Temple of the Emerald Buddha) วัดพระแก้ว ั วัดพระศรีรตนศาสดาราม หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า วัดพระแก้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ั โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นพร้อมกับการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2325 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2327 เป็นวัดที่สร้างขึ้นในเขตพระบรมมหาราชวัง ตามแบบวัดพระศรีสรรเพชญ สมัยอยุธยา วัดนี้อยู่ในเขต พระราชฐานชั้นนอก ทางทิศตะวันออก มีพระระเบียงล้อมรอบเป็นบริเวณ เป็นวัดคู่กรุงทีไม่มีพระสงฆ์จา ่ พรรษา ใช้เป็นที่บวชนาคหลวง และประชุมข้าทูลละอองพระบาทถือน้าพระพิพนน์สัตยา ั รัชกาลที่ 1 โปรดเกล้าให้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรหรือพระแก้วมรกต พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของไทย มาประดิษฐาน ณ ทีนี้ วัดพระศรีรตนศาสดารามนี้ ภายหลังจากการ ่ ั สถาปนาแล้ว ก็ได้รับการปฏิสังขรณ์สืบต่อมาทุกรัชกาล เพราะเป็นวัดสาคัญ จึงมีการปฏิสังขรณ์ใหญ่ทุก 50 ปี คือในสมัยพระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หว พระบาทสมเด็จ ่ ่ ั พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน เนืองในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี ในปี พ.ศ. 2525 ที่ผ่านมา การบูรณปฏิสังขรณ์ที่ ่ ผ่านมามุ่งอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมอันเป็นมรดกชิ้นเอกของชาติ ให้คงความงามและรักษาคุณค่า ของช่างศิลป์ไทยไว้อย่างดีที่สุด เพื่อให้วัดพระศรีรตนศาสดารามนี้อยู่คู่กับกรุงรัตนโกสินทร์ตลอดไป ั
  • 4. ตานานพระแก้วมรกต (สาหรับผูทสนใจครับ) ้ ี่ สันนิษฐานว่าพระแก้วมรกตนั้นสร้างขึ้นในสมัยเชียงแสน ทาจากหยกสีเขียวเข้ม จาหลักเป็นปางสมาธิ หน้าตักกว้าง 43 ซม. สูง 55 ซม. พบครั้งแรกในเจดีย์วัดป่าญะ จ.เชียงราย ปีพ.ศ. 1977 เป็นพระปูนลงรักปิด ทอง ต่อมาปูนกะเทาะจนเห็นองค์จริง พระเจ้าสามฝั่งแกน เจ้าเมืองเชียงใหม่ จึงจัดขบวนช้างมาอัญเชิญ แต่ ขบวนช้างไม่ยอมเข้าเมืองเชียงใหม่ เลยนาไปประดิษฐานที่วัดพระแก้วดอนเต้า จ.ลาปาง พ.ศ. 2011 พระเจ้าติโลกราชทรงอัญเชิญไปประดิษฐานที่วัดเจดีย์หลวง จ.เชียงใหม่ แต่ต่อมา พ.ศ. 2094 พระเจ้าไชยเชษฐา เจ้าเมืองเชียงใหม่ เสด็จไประงับเหตุพพาทที่หลวงพระบาง จึงอัญเชิญเสด็จไปด้วย ิ เมื่อหลวงพระบางถูกรุกรานจากพม่าในปี พ.ศ. 2107 พระเจ้าไชยเชษฐาได้ย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่เวียงจันทน์ พร้อมกับอัญเชิญพระแก้วมรกตไป จน พ.ศ. 2321 เมื่อเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกยกทัพไปตีเวียงจันทน์ ได้อญเชิญลงมาประดิษฐานยังโรง ั พระแก้ว ณ พระราชวังเดิม ในกรุงธนบุรี ครันเสด็จไปปราบดาภิเษกขึ้นเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีแล้ว ้ ได้อัญเชิญมาประดิษฐานยังพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และพระราชทานนามว่า “พระพุทธมหามณี รัตนปฏิมากร” พร้อมกับสร้างเครื่องทรงฤดูรอนและฤดูฝนถวาย ส่วนเครื่องทรงฤดูหนาวมาสร้างถวายใน ้ รัชกาลที่ 3 และใช้เรื่อยมาจนถึงรัชกาลปัจจุบัน จึงโปรดเกล้าฯ ให้กรมธนารักษ์จัดสร้างเครื่องทรงขึ้นใหม่ ทั้งหมด ส่วนของเดิมให้นาไปเก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
  • 5. ภายในวัดพระแก้ว (สิ่งที่น่าสนใจในวัดพระแก้ว) เกร็ดความรู้ พระอุโบสถ สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๑ เป็นพระอุโบสถขนาดใหญ่ หลังคาลด ๔ ระดับ ๓ ซ้อน มีช่อฟ้า ๓ ชั้น ปิดทอง ประดับกระจก ตัวพระอุโบสถมีระเบียงเดินได้โดยรอบ มีหลังคาเป็นพาไลคลุม รับด้วยเสานางรายปิดทอง ประดับกระจกทั้งต้น พนักระเบียงรับเสานางราย ทาเป็นลูกฟักประดับด้วยกระเบื้องเคลือบสีอย่างจีน ตัวพระ อุโบสถมีฐานปัทม์รับอีกชั้นหนึ่ง ประดับครุฑยุดนาคหล่อด้วยโลหะปิดทอง มีเสารายเทียนหล่อด้วยทองแดง ล้อมรอบทั้งสี่ด้าน จิตรกรรมฝาผนังวัดพระแก้ว เป็นจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์รอบพระระเบียงวัด ร้อยเรียง เล่าขานตานาน เรื่องรามเกียรติ์ถึง 178 ห้อง เป็นภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังที่ยาวที่สุดในโลก
  • 6. พระพุทธมหามณีรตนปฏิมากร ั ภายในพระอุโบสถเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร(พระแก้วมรกต) พระพุทธรูปปางสมาธิ ทาด้วยมณีสีเขียวเนื้อเดียวกันทังองค์ หน้าตักกว้าง ๔๘.๓ ซม. สูงตั้งแต่ฐานถึงยอด ้ พระเศียร ๖๖ ซม. ประดิษฐานอยู่ในบุษบกทองคา พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร พระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลก มีพระราชศรัทธาสร้างเครืองทรงถวายเป็นพุทธบูชา สาหรับฤดูร้อนและฤดูฝน ่ เครื่องทรงสาหรับฤดูร้อน เป็นเครืองต้นประกอบด้วยมงกุฎพาหุรัด ทองกร พระสังวาล เป็นทองลงยา ่ ประดับมณีต่างๆ จอมมงกุฎประดับด้วยเพชร เครืองทรงสาหรับฤดูฝน เป็นทองคา เป็นกาบหุ้มองค์พระอย่างห่มดอง จาหลักลายที่เรียกว่าลายพุ่มข้าว ่ บิณฑ์ พระเศียรใช้ทองคาเป็นกาบหุ้ม ตั้งแต่ไรพระศกถึงจอมเมาฬี เม็ดพระศกลงยาสีน้าเงินแก่ พระลักษมี ทา เวียนทักษิณาวรรต ประดับมณีและลงยาให้เข้ากับเม็ดพระศก พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างเครืองฤดูหนาวถวายอีกชุดหนึ่ง ทาด้วยทองเป็นหลอดลง ่ ยาร้อยด้วยลวดทองเกลียว ทาให้ไหวได้ตลอดเหมือนกับผ้า ใช้คลุมทั้งสองพาหาขององค์พระ กาหนดวันเปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้วมรกตมีดังนี้ วันแรม 1 ค่า เดือน 4 เปลี่ยนเครื่องทรงฤดูหนาวเป็นเครืองทรงฤดูร้อน ่ วันแรม 1 ค่า เดือน 8 เปลี่ยนเครื่องทรงฤดูหนาวเป็นเครืองทรงฤดูฝน ่ วันแรม 1 ค่า เดือน 12 เปลี่ยนเครืองทรงฤดูหนาวเป็นเครืองทรงฤดูหนาว ่ ่ ***มีการบันทึกภาพไว้ให้ผู้ที่สนใจดูทางโทรทัศน์
  • 7. ปราสาทพระเทพบิดร เดิมเรียก “พุทธปรางค์ปราสาทเป็นปราสาทยอดปรางจัตุรมุข สร้างในสมัยรัชกาลที่ 4 ภายใน ประดิษฐาน พระบรมรูปรัชกาลที่ 1-8 เปิดให้ประชาชนเข้าถวายบังคมพระบรมรูปในวันจักรี ( 6 เม.ย. ) ของ ทุกปี พระศรีรตนเจดีย์ ั สร้างขึ้นตามแบบเจดีย์ดพระศรีสรรเพชญ์สมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งอยู่ด้านตะวันตกของพระมณฑป ภายในมีเจดีย์ องค์เล็กประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ
  • 8. พระอัษฏามหาเจดีย์ บริเวณด้านหน้าพระอาราม สร้างสมัยรัชกาลที่ 1 เพื่อถวายแด่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ตั้งอยู่ภายนอกระเบียง 6 องค์ภายใน ระเบียง 2 องค์มีชื่อประจาทุกองค์ ยักษ์ทวารบาล ตังเรียงรายที่ช่องประตูพระระเบียงมีคเู่ ป็นยักษ์ตัวเอกจากเรื่องรามเกียรติ์ ยืนยามเฝ้ารอบพระอุโบสถ ้ วัดพระแก้ว นัน มี 12 ตน เป็นรูปปูนปั้นประดับกระเบื้อง ติดกระจก ยืนกุมกระบองอยู่ประจาประตูต่าง ๆ รอบ ้ พระอุโบสถ สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยรัชกาลที่ ๒ สูงประมาณ ๖ เมตร แต่ละตนก็มีสีสันและหน้าตาแตกต่าง กัน ยักษ์เหล่านี้ สร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3พร้อมกับยักษ์วัดแจ้ง (วัดอรุณ ราชวราราม) มีชื่อเรียงลาดับไปทางขวา โดยเริ่มจากบันไดหน้าปราสาทพระเทพบิดรดังนี้..สุริยาภพ (กายสี แดง) อินทรชิต (กายสีเขียว) มังกรกัณฐ์ (กายสีเขียว)วิรุฬหก (กายสีขาบ หรือน้าเงินเข้ม) ทศคีรีธร (กายสี เขียว) ทศคีรีวัน (กายสีหม้อไหม้)ักรวรรดิ (กายสีขาว)อัศกรรณมารา (กายสีม่วงเข้ม) ทศกัณฐ์ (กายสีเขียว) สหัสเดชะ (กายสีขาว) ไมยราพณ์ (กายสีม่วงอ่อน)วิรัญจาบัง (กายสีขาวเจือดา
  • 9. รายละเอียดเพิมเติม ่ เวลาทาการ: ทุกวัน 08.30-15.30 น. คนไทยเข้าชมฟรี ชาวต่างชาติ 200 บาท กิจกรรม-เทศกาล :วันอาทิตย์ เทศนาธรรม 13.00 น. วันพระ: เทศนาธรรม 09.00 น. และ13.00 น. มัคคุเทศน์ 10.00 น. และ 14.00 น. ข้อห้าม:ห้ามถ่ายรูปในพระอุโบสถ การแต่งกาย ผู้ชาย: ห้ามใส่กางเกงขาสั้น รองเท้าแตะ ผู้หญิง: ห้ามใส่เสื้อกล้าม ใส่เสื้อไม่มีแขนกางเกงสามส่วน รองเท้าแตะ ทีสาคัญ: ห้ามสูบบุหรีภายในวัดนะ! ! ! ่ ่ สาหรับท่านทีสนใจเดินทางไปส่วนตัว ่ การเดินทางไป วัดพระแก้ว วัดพระแก้วตั้งอยู่บนถนนหน้าพระลาน กรุงเทพมหานคร ใกล้ๆ กับท้องสนามหลวงและแม่น้าเจ้าพระยา มีรถโดยสาร ผ่านหลายสาย เดินทางไปชมได้สะดวกตลอดปี รถประจาทาง: 1 3 6 9 15 19 25 30 32 33 39 43 44 47 53 59 60 64 65 70 80 82 91 123 201203 รถปรับอากาศ: 1 8 25 38 39 44 506 507 512 ที่จอดรถ: ท่าราชวรดิษฐ์,วัดมหาธาตุฯ ,ท่าพระจันทร์
  • 10. พระบรมมหาราชวัง (Grand Palace) พระบรมมหาราชวัง เป็นทีประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จ ่ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวง พระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัตศาสตร์และ ิ อนุสาวรีย์ที่มีความสาคัญมากแห่งหนึ่งของประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสร้างขึ้นพร้อมสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อ แรกสร้างประกอบด้วย 3 ส่วนคือ พระมหาปราสาท พระราชมณเฑียรสถาน และวัดพระศรีรตนศาสดาราม มี ั เนื้อที่ 132 ไร่ ในอดีตพระบรมมหาราชวังเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ ลักษณะแบบแผนการก่อสร้าง คล้ายคลึงกับพระบรมมหาราชวังเก่าในสมัยกรุงศรีอยุธยาคือ มีวัดพระศรีรตนศาสดารามอยู่ในบริเวณวัง ั เหมือนกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 เริ่มรับอิทธิพล จากตะวันตกทาให้สถาปัตยกรรมมีลักษณะผสมผสานกับทางตะวันตกมากขึ้น หมู่พระที่นงที่สาคัญมีดังนี้ คือ ั่ พระทีนงดุสตมหาปราสาท เดิมชื่อพระที่นั่งอินทราภิเษกมหาปราสาท เป็นพระมหาปราสาทองค์แรกที่ ่ ั่ ิ สร้างขึ้นในพระราชวัง เป็นทีประดิษฐานพระบรมศพพระมหากษัตริย์ สมเด็จพระอัครมเหสี และพระบรมวงศา ่ นุวงศ์ใช้ประกอบพระราชพิธีสาคัญ เช่น พระราชพิธีการมงคลและบาเพ็ญพระราชกุศลต่าง ๆ พระทีนงจักรีมหาปราสาท สร้างในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. ่ ั่ 2419 ใช้เป็นทีรับรองพระราชอาคันตุกะชันพระราชาธิบดี หรือชั้นประมุขของรัฐ นอกจากนี้ยังมีหมู่พระทีนั่ง ่ ้ ่ สาคัญอื่น ๆ เช่น พระที่นงราชกรัณยสภา พระที่นงมูลสถานบรมอาสน์ พระที่นงบรมราชสถิตย์มโหฬาร พระที่ ั่ ั่ ั่ นั่งจักรพรรดิพิมาน พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ฯลฯ
  • 11. พระทีนงอาภรณ์พโมกข์ปราสาท อยู่ใกล้กับพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทใช้เป็นที่ประทับทรงพระราช ่ ั่ ิ พาหนะ และประทับเปลื้องเครื่องในงานพระราชพิธีที่มีขบวนแห่ พระที่นงพิมานรัตยา สร้างเมื่อ พ.ศ. 2332 ั่ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหัว ทรงใช้เป็นที่บรรทม และทรงใช้เป็นที่ชุมนุมมหาสมาคม ่ สาหรับพระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชบริพารฝ่ายในเข้ารับพระราชทานเครื่องอิสริยยศ และ เครืองราชอิสริยาภรณ์ และนอกจากนันยังเป็นที่สรงน้าพระบรมศพพระบรมวงศานุวงศ์ก่อนที่จะประดิษฐาน ่ ้ พระบรมโกศในพระที่นงดุสิตมหาปราสาท ั่ ศาลาเครืองราชอิสริยยศและเหรียญกษาปณ์ ตังอยู่ภายในบริเวณพระบรมมหาราชวังด้านขวามือก่อน ่ ้ ถึง ทางเข้าพระราชวังส่วนใน จัดแสดงเหรียญกษาปณ์ และเงินตราที่ใช้ในประเทศไทยรวมทั้ง เครืองราชอิสริยาภรณ์ของสานักฝ่ายใน เปิดให้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30-16.00 น. ค่าเข้าชม 10 บาท ่ *** นอกจากนีพระบรมมหาราชวังยังอยู่บริเวณใกล้กับวัดพระศรีรัตนศาสดารามหรือวัดพระแก้วอีกด้วยเรียก ้ ได้ว่าได้ชมทั้งสองสถานที่สาคัญในเวลาติดๆกันเลยทีเดียว
  • 12. สิงทีคณจะเห็นจนชินภายใน ่ ุ่ ทหารรักษาการ ทหารรักษาการที่ยืนประจาอยู่บริเวณหน้าพระบรมมหาราชวังนั้น ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยว มาก เพราะพวกเขาปฏิบัติหน้าที่อย่างแข็งขัน ท่าทางเคร่งขรึม และยืนนิ่งตลอดเวลา แสดงให้เห็นถึงการให้ ความสาคัญกับพระบรมมหาราชวัง เพื่อให้ควรค่าแก่การปกป้องรักษาเอาไว้สืบไป และถึงแม้ทหารรักษาการ จะต้องยืนนิงเป็นเวลานาน แต่พวกเขาก็มีความยินดีและปฏิบัติหน้าที่ด้วยความภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่ง ่ บางเวลาก็จะเห็นรวมพลและเดินตรวจตราภายในพระบรมมหาราชวัง เป็นภาพทีหลายๆคนเห็นจนชิน ่ ถ้าเดินเที่ยวชมภายในเป็นเวลานาน
  • 13. สาหรับผูทสนใจเดินทางมาด้วยตัวเอง ้ ี่ เวลาเปิดทาการ: พระบรมมหาราชวังเปิดให้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30-16.00 น. (ห้องจาหบ่ายบัตรเข้าชม ปิดเวลา 15.30 น.) การแต่งกายทีเ่ หมาะสมเมือเข้าชมพระบรมมหาราชวัง ่ ๑. ห้ามใส่กางเกงขาสั้น, กระโปรงสั้น,เสื้อรัดรูป ๒. ห้ามใส่เสื้อผ้า, กางเกง, กระโปรงที่บางจนเกินไป ๓. ห้ามใส่เสื้อกล้าม, เสื้อแขนกุด, รองเท้าแตะที่ไม่มีสายรัดข้อเท้า ๔. ห้ามเอาชายเสื้อออกนอกกางเกง ค่าธรรมเนียม-ค่าเข้าชม: ชาวต่างชาติ 200 บาท ชาวไทย ไม่เสียค่าเข้าชม มัคคุเทศน์ 10.00 น. และ 14.00 น. เครืองบรรยายภาษาต่างประเทศ: จีนกลาง ญี่ปุ่น ไทย ฝรั่งเศส สเปน เยอรมัน รัสเซีย อังกฤษ ่ ค่าธรรมเนียม: 100 บาท/2 ชั่วโมง ค่าธรรมเนียม-ค่าเข้าชม: คนไทย 10 บาท มัคคุเทศน์ เข้าชมเป็นหมู่คณะตั้งแต่ 10 คน ขึ้นไปต้องทาหนังสือขอ อนุญาตถึงผู้อานวยการสานักงานบริหารเงินตรา ล่วงหน้า 1 สัปดาห์ ข้อห้าม: ถ่ายภาพในอาคาร รถประจาทาง: 1 3 6 9 15 19 25 30 32 33 39 43 44 47 53 59 60 64 65 70 80 82 91 123 201 203 รถปรับอากาศ: 1 8 25 38 39 44 506 507 512 ท่าเรือ: เรือด่วนเจ้าพระยา: ท่าช้าง
  • 14. วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (wat phra chetuphon wimon mangkhlaram ratchaworamahawihan) วัดโพธิ์ สรรพศิลป์ สรรพศาสตร์ ในวัดโพธิ์พระอารามหลวงซึ่งบุรพมหากษัตริย์ แห่งราชวงศ์จักร รัชสมัย รัชกาลที่ ๑ และรัชกาลที่ ๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์รวมกาลสมัยของ ๒ พระองค์ นาน ถึง ๒๕ ปี ดังนัน การเข้าไปเที่ยวชมแต่ละครั้งที่เรามีเวลาอย่างน้อยครั้งละ ๒ - ๓ ชั่งโมงนั้น นับเป็นการชม ้ อย่างกวาดตา หากจะพินิจพิเคราะห์หยั่งลึกลงไปถึงแก่นแท้ แห่งภูมิปัญญาช่างศิลป์ไทยกันแล้ ว นับว่าชั่วชีวิต กันทีเดียว พระอุโบสถ ตามคติความเชื่อของพุทธศาสนิกชน เขตวิสุงคามสีมา หรือพระอุโบสถ เป็นพุทธศาสน สถานที่สาคัญที่สุด ถ้าวัดใดไม่มีอุโบสถ หรือมีอุโบสถแต่ยังไม่ได้ผูกพัทธสีมาจะเป็นวัดที่สาคัญยังไม่ได พระอุโบสถ สร้างสมัยรัชกาลที่ ๑ ตามแบบศิลปะอยุธยาตอนปลาย และขยายใหญ่ขึ้นเท่าทีเ่ ห็นในสมัย รัชกาลที่ ๓ ซุ้มจรณัมประจาประตูหน้าต่างฉลัก (สลัก) ด้วย ไม้แก่น ยอดเป็นทรงมงกุฎลงรักปิดทอง ประดับ กระจก บานประตูพระอุโบสถ ด้านนอกลายประดับมุก เป็นลายภาพเรื่อง รามเกียรติ์ ด้านในเขี ยนลายรดน้า รูปพัดยศพระราชาคณะ พระครูสัญญาบัตร ฐานานุกรมเปรียญทั้งฝ่ายคามวาสีและอรัญวาสีในกรุงและหัว เมือง
  • 15. ๙ สิงมหัศจรรย์วดโพธ์ทคณควรรูเ้ มือถึงวัดแล้ว ่ ั ี่ ุ ่ ๙ สิ่งมหัศจรรย์วัดโพธิ์ เป็นความร่วมมือระหว่างการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และ วัดพระเชตุพน วิมลมังคลาราม(วัดโพธิ์) มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนและสถาบัน ศาสนา และสร้างจิตสานึกและความภาคภูมิใจในความเป็นไทย อีกทั้งอนุรักษ์วิถีความเป็นอยู่และ ศิลปวันนธรรมไทยรวมทั้งสร้างกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวในยามค่าคืนในเขตโบราณสถานใน กรุงเทพมหานคร 1. มหัศจรรย์พระไสยาส พระพุทธรูปขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ โดยมีลักษณะพิเศษ คือ มี ประดับมุกภาพมงคล 108 ประการที่พระบาท 2. มหัศจรรย์ตาราเวชเชตุพน ศาลาจารึกตารานวดแผนโบราณ มีจิตรกรรมลายเส้นบอกตาแหน่งนวด นับเป็นบันทึกทีรวบรวมสรรพวิชาทั้งการแพทย์ การเมือง การปกครอง ประวัติการสร้างวัด และ วรรณคดี ่ นับเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ 3. มหัศจรรย์มหาเจดีย์ สี่รัชกาล เป็นมหาเจดีย์ขนาดใหญ่ 4 องค์ องค์พระเจดีนนเป็นแบบเจดีย์ย่อไม้สิบ ั้ สอง ประดับด้วยกระเบื้องเคลือบ อันประกอบด้วย พระมหาเจดีย์ประจารัชกาลที่ 1 - 4
  • 16. 4. มหัศจรรย์ตนตานานสงกรานต์ไทย คติความเชื่อตานานสงกรานต์ ซึ่งรัชกาลที่ 3 ให้จารึกลงในแผ่นศิลา ้ ติดไว้ที่วัดโพธิ์ เป็นเรื่องเล่าถึงความเป็นมาของประเพณีดงกล่าว โดยสมมุติผ่านเรื่องราวธรรมบาลกุมารและ ั นางสงกรานต์ทงเจ็ดเทียบกับแต่ละวันในสัปดาห์ ั้ 5. มหัศจรรย์มรดกโลกวัดโพธิ์ ซึงรัชกาลที่ 3 ทรงให้นาองค์ความรู้จากปราชญ์ของไทยเช่น ตารา ่ การแพทย์ โบราณคดี วรรณกรรม โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอนฯลฯ จารึกลงบนแผ่นหินอ่อนประดับไว้ตาม บริเวณผนังภายในวัดซึ่งความรู้ที่จารึกไว้บนแผ่นศิลาในปัจจุบันรวมเรียกว่า ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน โดย องค์การยูเนสโกมีมติรับรองขึ้นทะเบียนศิลาจารึกพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นเอกสารมรดกความทรงจา แห่งโลก 6. มหัศจรรย์ตานานยักษ์วัดโพธิ์ บอกเล่าเรื่องราวตานานเกี่ยวกับยักษ์วัดโพธิ์และยักษ์ วัดแจ้งซึ่งทาให้ เกิดท่าเตียนในปัจจุบัน 7. มหัศจรรย์ผ่านภพรัตนโกสินทร์ พระอุโบสถหลังเก่าของวัดโพธารามตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ ภายหลังการสถาปนาพระอุโบสถหลังใหม่ของวัดพระเชตุพนแล้ว จึงได้ลดฐานะเป็นศาลาการเปรียญ โดย ภายในมี “พระพุทธศาสดา” ประดิษฐานเป็นพระประธาน 8. มหัศจรรย์วิจิตรพระพุทธเทวปฏิมากร ภายในพระอุโบสถ ประดิษฐานพระพุทธเทวปฏิมากร เป็น พระพุทธรูปปางสมาธิ ซึ่งรัชกาลที่ 1 ทรงอัญเชิญมาจากวัดศาลาสี่หน้า ด้วยประสงค์ตั้งมันแน่วแน่ว่า นี่จะ ่ เป็นพระนครอย่างถาวร 9. มหัศจรรย์ต้นตารับนวดแผนไทย รัชกาลที่ 1 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้รวบรวมการแพทย์แผน โบราณและศิลปะวิทยาการครั้งกรุงศรีอยุธยาไว้ ทรงพระราชดารินาเอาท่าดัดตนอันเป็นการพักผ่อนอิริยาบถ แก้เมื่อยตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย และประยุกต์กับคติไทยที่ยกย่องฤษีเป็นครูผู้ประสิทธิ์ประสาทวิทยาการ ต่างๆ เป็นรูปฤาษีดดตน แสดงท่าไว้ที่วัดเพื่อให้ราษฎรทั่วไปได้ศึกษาเล่าเรียนและรักษาโรคได้อย่างกว้างขวาง ั
  • 17. สาหรับผูทสนใจจะเทียวชมด้วยตนเอง ้ ี่ ่ เปิดให้เข้าชมระหว่างเวลา 8.00-21.00 น. ทุกวัน คนไทยเข้าชมฟรี ชาวต่างชาติ คนละ 50 บาท สาหรับนักท่องเที่ยวต้องแต่งกายสุภาพ สุภาพสตรี ห้ามสวมกางเกงขาสั้นเหนือเข่าเข้าไปเที่ยวชม ค่าบริการนวดชั่วโมงละ ๒๐๐ บาท ค่าบริการนวดและประคบสมุนไพร ชั่วโมงละ ๓๐๐ บาท ค่าบริการนวดเท้า ชั่วโมงละ ๒๕๐ บาท ๑. รถประจาทางธรรมดา สาย 1 3 6 9 12 25 32 43 44 47 48 51 52 82 103 ๒. รถประจาทางปรับอากาศ ปอ.1 ปอ.6 ปอ.7 ปอ.8 ปอ.12 ปอ.44 ๓. เดินทางโดยเรือด่วนเจ้าพระยา สามารถขึ้นฝั่งทีท่าเรือท่าช้าง, ท่าเรือท่าเตียน, ท่าเรือปากคลองตลาด แล้ว ่ เดินเข้าประตูทางถนนท้ายวังได้