SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
จัดทำโดย
นำงสำว อรนิดำ วรรณรัตน์ เลขที่ 11
นำงสำว สิรำวรรณ รำพึงวรณ์ เลขที่ 19
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6/1
เสนอ
อำจำรย์ ศิริรัตน์ นำไทย
โรงเรียนตรำดสรรเสริญวิทยำคม
การประกันชีวิต เป็นวิธีการที่บุคคลกลุ่มหนึ่งร่วมกันเฉลี่ยภัยอัน
เนื่องจากการตาย การสูญเสียอวัยวะ ทุพพลภาพ และการสูญเสียรายได้ใน
ยามชรา โดยที่เมื่อบุคคลใดต้องประสบกับภัยเหล่านั้น ก็ได้รับเงินเฉลี่ย
ช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนแก่ตนเองและครอบครัว โดยบริษัท
ประกันชีวิตจะทาหน้าที่เป็นแกนกลางในการนาเงินก้อนดังกล่าวไปจ่าย
ให้แก่ผู้ได้รับภัย
1. ประเภทสามัญ เป็นการประกันชีวิตที่มีจานวนเงินเอาประกันภัยค่อนข้างสูง ตั้งแต่ 50,000 บาท
ขึ้นไป เหมาะสาหรับผู้ที่มีรายได้ปานกลางขึ้นไป ในการพิจารณารับประกันชีวิตอาจจะมีการตรวจ
สุขภาพหรือไม่ตรวจสุขภาพ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของบริษัท และมีการชาระเบี้ยประกันภัยเป็นรายปี,
ราย 6 เดือน, ราย 3 เดือน หรือรายเดือน
2. ประเภทอุตสาหกรรม เป็นการประกันชีวิตที่มีจานวนเงินเอาประกันภัยต่า โดยทั่วไปตั้งแต่
10,000 - 30,000 บาท เหมาะสาหรับผู้ที่มีรายได้ปานกลางถึงรายได้ต่า การชาระเบี้ยประกันภัยจะ
ชาระเป็นรายเดือน และไม่มีการตรวจสุขภาพ ฉะนั้นจึงมีระยะเวลารอคอย คือ ถ้าผู้เอาประกันภัย
เสียชีวิตด้วยโรคภัยไข้เจ็บตามธรรมชาติ บริษัทจะไม่จ่ายจานวนเงินเอาประกันภัยให้ แต่จะคืนเบี้ย
ประกันภัยที่ผู้เอาประกันภัยได้ชาระมาแล้วทั้งหมด
3. ประเภทกลุ่ม เป็นการประกันชีวิตที่กรมธรรม์หนึ่งจะมีผู้เอาประกันชีวิตร่วมกันตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป
ส่วนมากจะเป็นกลุ่มของพนักงานบริษัท ในการพิจารณารับประกันอาจจะมีการตรวจสุขภาพหรือไม่
ตรวจก็ได้ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของบริษัท การประกันชีวิตกลุ่มนี้อัตราเบี้ยประกันชีวิตจะต่ากว่า
ประเภทสามัญและประเภทอุตสาหกรรม
รูปแบบของกรมธรรม์จะมีหลายรูปแบบและตั้งชื่อเป็นนามเฉพาะของแต่ละบริษัททุกรูปแบบพร้อม
อัตราเบี้ยประกันภัยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนประกันชีวิต(อธิบดีกรมการประกันภัย) ก่อนจะ
นาเสนอขายแก่ประชาชน แต่โดยหลักวิชาการ ไม่ว่าจะเป็นกรมธรรม์รูปแบบใดหรือชื่ออะไรก็ตามจะอยู่ภายใต้
แบบของการประกันชีวิตรวม 4 แบบคือ
1. แบบชั่วระยะเวลา ให้ความคุ้มครองในช่วงระยะเวลาหนึ่งที่กาหนดไว้ในกรมธรรม์โดยบริษัทจะจ่ายเงินตาม
จานวนเงินเอาประกันภัยให้ผู้รับประโยชน์ ถ้าผู้เอาประกันภัยเสียชีวิตภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้นั้น
2. แบบตลอดชีพ บริษัทจะจ่ายเงินตามจานวนเงินเอาประกันภัย ให้ผู้รับประโยชน์ในกรณีที่ผู้เอาประกันภัย
เสียชีวิต ไม่ว่าจะเสียชีวิตเมื่อใดก็ตาม
** ทั้งแบบ 1 และแบบ 2 เป็นการจ่ายเงินให้แก่ผู้รับประโยชน์ในกรณีที่ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิตแล้วเท่านั้น
3. แบบสะสมทรัพย์ บริษัทจะจ่ายเงินตามจานวนที่เอาประกันภัยไว้ให้แก่ผู้รับประโยชน์ถ้าผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต
ภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้หรือจ่ายเงินเอาประกันชีวิตให้แก่ผู้เอาประกันภัยในกรณีที่มีชีวิตอยู่รอดพ้น
ระยะเวลาที่กาหนดไว้
4. แบบเงินได้ประจา บริษัทจะจ่ายเงินได้ประจา หรือเงินบานาญให้แก่ผู้เอาประกันภัยโดยเริ่มจ่ายตั้งแต่วันที่ผู้เอา
ประกันภัยไม่สามารถประกอบอาชีพได้ตามปกติเนื่องจากความชราไปจนถึงวันที่กาหนดไว้(อาจเป็นชั่ว
ระยะเวลาหนึ่ง หรือตลอดอายุก็ได้)
** แบบ 3 ส่วนท้าย และแบบ 4 เป็นการจ่ายเงินโดยมีเงื่อนไขว่าผู้เอาประกันภัยต้องมีชีวิตรอดอยู่จนพ้นระยะเวลาที่กาหนดไว้
ในการขอรับเงินผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ หรือที่เข้าใจกันทั่วไปว่าเป็นการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนนั้น ให้ดาเนินการดังนี้
1. ติดต่อบริษัทประกันภัยให้เร็วที่สุด
2. กรณีผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต จะแยกเป็นกรณีตามสาเหตุของการเสียชีวิต ดังนี้
2.1 เสียชีวิตด้วยโรคภัยไข้เจ็บ
** ต้องแจ้งให้ทราบภายใน 14 วัน และเตรียมหลักฐานประกอบด้วย
(1) กรมธรรม์ประกันชีวิต (ถ้าหายให้แจ้งความแล้วนาสาเนา รายงานประจาวันรับแจ้งเอกสารหายไปแสดงแทน)
(2) ใบเสร็จรับเงินงวดสุดท้าย
(3) ใบมรณบัตรของผู้เอาประกันภัย
(4) ทะเบียนบ้านของผู้รับประโยชน์
(5) บัตรประชาชนของผู้รับประโยชน์
2.2 เสียชีวิตโดยฆ่าตัวตาย
* เตรียมหลักฐานตาม 2.1(1) - (5) โดยเพิ่ม
(6) สาเนาบันทึกประจาวันรับแจ้งเหตุของเจ้าหน้าที่ตารวจ
(7) ใบชันสูตรพลิกศพ
2.3 เสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุ
* เตรียมหลักฐานตาม 2.1(1) - (5) โดยเพิ่ม
(6) สาเนาบันทึกประจาวันรับแจ้งเหตุของเจ้าหน้าที่ตารวจ
(7) สาเนาบันทึกประจาวันหลังกลับจากสถานที่เกิดเหตุของเจ้าหน้าที่ตารวจ
(8) ใบชันสูตรพลิกศพ
3. กรณีเรียกร้องค่ารักษาพยาบาล ทุพพลภาพ และสูญเสียอวัยวะ
* แจ้งบริษัททราบภายใน 10 วัน และเตรียมหลักฐานดังนี้
(1) กรอกแบบฟอร์มใบเรียกร้องค่าทดแทนของบริษัท
(2) ใบเสร็จรับเงินค่ารักษาพยาบาลที่ระบุวันเริ่มต้น และวันสุดท้ายในการรักษาตัวใน
โรงพยาบาล
(3) อื่น ๆ เช่น ฟิล์มเอ็กซซเรย์
4. กรณีกรมธรรม์ครบกาหนด
ในกรณีเป็นการประกันชีวิต ประเภทสะสมทรัพย์ที่มีเงินคืนเมื่อกรมธรรม์ครบกาหนด ให้
ดาเนินการและเตรียมหลักฐาน
(1) ติดต่อบริษัทประกันภัย
(2) กรมธรรม์ประกันชีวิต
(3) บัตรประชาชนของผู้เอาประกันภัย
ข้อจากัดบางประการที่บริษัทประกันชีวิตยกเว้นการจ่ายเงินเอาประกัน จากสาเหตุการตายดังนี้
1. ผู้รับประโยชน์ฆ่าผู้เอาประกันตาย
2. ผู้เอาประกันฆ่าตัวตายภายใน 1 ปี นับจากวันทาสัญญาหรือวันต่ออายุสัญญาครั้งสุดท้าย
ความตายที่เกิดจากสาเหตุข้างต้นดังกล่าว บริษัทประกันชีวิตจะไม่จ่ายจานวนเงินเอาประกันชีวิตให้ แต่จะ
คืนเบี้ยประกันชีวิต
ที่ได้ชาระมาแล้วทั้งหมดเท่านั้น
ผู้เอาประกันชีวิตมีสิทธิที่จะได้รับการผ่อนผันการชาระเงินได้ โดยการยืดระยะเวลาได้ประมาณ 30
หรือ 60 วัน
ผู้เอาประกันชีวิตสามารถนามาหักภาษีรายได้บุคคลได้โดยรัฐบาลได้เพิ่มจานวนเงินเบี้ยประกัน
ชีวิตที่สามารถนาไปหักภาษีได้ไม่เกิน 100,000 บาท
1. ถ้ำเสียชีวิตในกรณีเจ็บไข้ ต้องแจ้งประกันภำยในกี่วัน
ก.
ข.
ค.
ง.
20 วัน
7 วัน
14 วัน
30 วัน
ไปข้อ 2
2. กำรประกันภัยประเภทอุตสำหกรรม โดยทั่วไปจะมี
วงเงินอย่ำงต่ำกี่บำท จึงจะเหมำะสำหรับผู้ที่มีรำยได้ปำน
กลำงถึงรำยได้ต่ำ
ก.
ข.
ค.
ง.
10,000-30,000 บาท
9,000-10,000 บาท
50,000-100,000 บาท
5,000-7,000 บาท สิ้นสุด
กลับไปข้อที่ 1 กลับไปข้อที่ 2
กลับไปข้อที่ 1 กลับไปข้อที่ 2
งานนำเสนอ1 นะดา-จ๋า

More Related Content

Viewers also liked

บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจ
บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจบทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจ
บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจnunlove
 
บทที่6
บทที่6 บทที่6
บทที่6 lovenoon
 
บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจ
บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจบทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจ
บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจไมค์' ซัง
 
บทที่6
บทที่6 บทที่6
บทที่6 lovenoon
 
การนำเสนอเพจ
การนำเสนอเพจการนำเสนอเพจ
การนำเสนอเพจAnchisa Ingkhanon
 
บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจ
บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจบทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจ
บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจSukkhawit Chamruang
 
บทที่6
บทที่6 บทที่6
บทที่6 lovenoon
 
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยคิง เกอร์
 

Viewers also liked (14)

บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจ
บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจบทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจ
บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจ
 
บทที่6
บทที่6 บทที่6
บทที่6
 
ด.ช.อภิรมย์ พลอยคีรี เลขที่33
ด.ช.อภิรมย์ พลอยคีรี เลขที่33ด.ช.อภิรมย์ พลอยคีรี เลขที่33
ด.ช.อภิรมย์ พลอยคีรี เลขที่33
 
บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจ
บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจบทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจ
บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจ
 
555555
555555555555
555555
 
บทที่6
บทที่6 บทที่6
บทที่6
 
การนำเสนอเพจ
การนำเสนอเพจการนำเสนอเพจ
การนำเสนอเพจ
 
นำเสนอผ่านเว็บเพจ
นำเสนอผ่านเว็บเพจนำเสนอผ่านเว็บเพจ
นำเสนอผ่านเว็บเพจ
 
บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจ
บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจบทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจ
บทที่ 6 การนำเสนอผ่านเว็บเพจ
 
ศศิธร
ศศิธรศศิธร
ศศิธร
 
บทที่6
บทที่6 บทที่6
บทที่6
 
นำเสนอผ่านเพจ
นำเสนอผ่านเพจนำเสนอผ่านเพจ
นำเสนอผ่านเพจ
 
Mindmap3 1
Mindmap3 1Mindmap3 1
Mindmap3 1
 
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
 

Similar to งานนำเสนอ1 นะดา-จ๋า

การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )Maneerat Amrapal
 
การประกันชีวิต นก@ตุ๊ก
การประกันชีวิต นก@ตุ๊กการประกันชีวิต นก@ตุ๊ก
การประกันชีวิต นก@ตุ๊กNok Le Dy
 
การประกันภัย (สลุตา)
การประกันภัย (สลุตา)การประกันภัย (สลุตา)
การประกันภัย (สลุตา)Maneerat Amrapal
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยDiZz Tang Art Zii
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยDiZz Tang Art Zii
 
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61Manow Butnow
 
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย55
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย55ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย55
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย55nontiya1110
 

Similar to งานนำเสนอ1 นะดา-จ๋า (10)

คปภ
คปภคปภ
คปภ
 
คปภ
คปภคปภ
คปภ
 
การประกันภัยตาม พ
การประกันภัยตาม พการประกันภัยตาม พ
การประกันภัยตาม พ
 
การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )
 
การประกันชีวิต นก@ตุ๊ก
การประกันชีวิต นก@ตุ๊กการประกันชีวิต นก@ตุ๊ก
การประกันชีวิต นก@ตุ๊ก
 
การประกันภัย (สลุตา)
การประกันภัย (สลุตา)การประกันภัย (สลุตา)
การประกันภัย (สลุตา)
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ย
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ย
 
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
 
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย55
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย55ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย55
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย55
 

งานนำเสนอ1 นะดา-จ๋า

  • 1. จัดทำโดย นำงสำว อรนิดำ วรรณรัตน์ เลขที่ 11 นำงสำว สิรำวรรณ รำพึงวรณ์ เลขที่ 19 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6/1 เสนอ อำจำรย์ ศิริรัตน์ นำไทย โรงเรียนตรำดสรรเสริญวิทยำคม
  • 2. การประกันชีวิต เป็นวิธีการที่บุคคลกลุ่มหนึ่งร่วมกันเฉลี่ยภัยอัน เนื่องจากการตาย การสูญเสียอวัยวะ ทุพพลภาพ และการสูญเสียรายได้ใน ยามชรา โดยที่เมื่อบุคคลใดต้องประสบกับภัยเหล่านั้น ก็ได้รับเงินเฉลี่ย ช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนแก่ตนเองและครอบครัว โดยบริษัท ประกันชีวิตจะทาหน้าที่เป็นแกนกลางในการนาเงินก้อนดังกล่าวไปจ่าย ให้แก่ผู้ได้รับภัย
  • 3. 1. ประเภทสามัญ เป็นการประกันชีวิตที่มีจานวนเงินเอาประกันภัยค่อนข้างสูง ตั้งแต่ 50,000 บาท ขึ้นไป เหมาะสาหรับผู้ที่มีรายได้ปานกลางขึ้นไป ในการพิจารณารับประกันชีวิตอาจจะมีการตรวจ สุขภาพหรือไม่ตรวจสุขภาพ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของบริษัท และมีการชาระเบี้ยประกันภัยเป็นรายปี, ราย 6 เดือน, ราย 3 เดือน หรือรายเดือน 2. ประเภทอุตสาหกรรม เป็นการประกันชีวิตที่มีจานวนเงินเอาประกันภัยต่า โดยทั่วไปตั้งแต่ 10,000 - 30,000 บาท เหมาะสาหรับผู้ที่มีรายได้ปานกลางถึงรายได้ต่า การชาระเบี้ยประกันภัยจะ ชาระเป็นรายเดือน และไม่มีการตรวจสุขภาพ ฉะนั้นจึงมีระยะเวลารอคอย คือ ถ้าผู้เอาประกันภัย เสียชีวิตด้วยโรคภัยไข้เจ็บตามธรรมชาติ บริษัทจะไม่จ่ายจานวนเงินเอาประกันภัยให้ แต่จะคืนเบี้ย ประกันภัยที่ผู้เอาประกันภัยได้ชาระมาแล้วทั้งหมด 3. ประเภทกลุ่ม เป็นการประกันชีวิตที่กรมธรรม์หนึ่งจะมีผู้เอาประกันชีวิตร่วมกันตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป ส่วนมากจะเป็นกลุ่มของพนักงานบริษัท ในการพิจารณารับประกันอาจจะมีการตรวจสุขภาพหรือไม่ ตรวจก็ได้ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของบริษัท การประกันชีวิตกลุ่มนี้อัตราเบี้ยประกันชีวิตจะต่ากว่า ประเภทสามัญและประเภทอุตสาหกรรม
  • 4. รูปแบบของกรมธรรม์จะมีหลายรูปแบบและตั้งชื่อเป็นนามเฉพาะของแต่ละบริษัททุกรูปแบบพร้อม อัตราเบี้ยประกันภัยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนประกันชีวิต(อธิบดีกรมการประกันภัย) ก่อนจะ นาเสนอขายแก่ประชาชน แต่โดยหลักวิชาการ ไม่ว่าจะเป็นกรมธรรม์รูปแบบใดหรือชื่ออะไรก็ตามจะอยู่ภายใต้ แบบของการประกันชีวิตรวม 4 แบบคือ 1. แบบชั่วระยะเวลา ให้ความคุ้มครองในช่วงระยะเวลาหนึ่งที่กาหนดไว้ในกรมธรรม์โดยบริษัทจะจ่ายเงินตาม จานวนเงินเอาประกันภัยให้ผู้รับประโยชน์ ถ้าผู้เอาประกันภัยเสียชีวิตภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้นั้น 2. แบบตลอดชีพ บริษัทจะจ่ายเงินตามจานวนเงินเอาประกันภัย ให้ผู้รับประโยชน์ในกรณีที่ผู้เอาประกันภัย เสียชีวิต ไม่ว่าจะเสียชีวิตเมื่อใดก็ตาม ** ทั้งแบบ 1 และแบบ 2 เป็นการจ่ายเงินให้แก่ผู้รับประโยชน์ในกรณีที่ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิตแล้วเท่านั้น 3. แบบสะสมทรัพย์ บริษัทจะจ่ายเงินตามจานวนที่เอาประกันภัยไว้ให้แก่ผู้รับประโยชน์ถ้าผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต ภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้หรือจ่ายเงินเอาประกันชีวิตให้แก่ผู้เอาประกันภัยในกรณีที่มีชีวิตอยู่รอดพ้น ระยะเวลาที่กาหนดไว้ 4. แบบเงินได้ประจา บริษัทจะจ่ายเงินได้ประจา หรือเงินบานาญให้แก่ผู้เอาประกันภัยโดยเริ่มจ่ายตั้งแต่วันที่ผู้เอา ประกันภัยไม่สามารถประกอบอาชีพได้ตามปกติเนื่องจากความชราไปจนถึงวันที่กาหนดไว้(อาจเป็นชั่ว ระยะเวลาหนึ่ง หรือตลอดอายุก็ได้) ** แบบ 3 ส่วนท้าย และแบบ 4 เป็นการจ่ายเงินโดยมีเงื่อนไขว่าผู้เอาประกันภัยต้องมีชีวิตรอดอยู่จนพ้นระยะเวลาที่กาหนดไว้
  • 5. ในการขอรับเงินผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ หรือที่เข้าใจกันทั่วไปว่าเป็นการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนนั้น ให้ดาเนินการดังนี้ 1. ติดต่อบริษัทประกันภัยให้เร็วที่สุด 2. กรณีผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต จะแยกเป็นกรณีตามสาเหตุของการเสียชีวิต ดังนี้ 2.1 เสียชีวิตด้วยโรคภัยไข้เจ็บ ** ต้องแจ้งให้ทราบภายใน 14 วัน และเตรียมหลักฐานประกอบด้วย (1) กรมธรรม์ประกันชีวิต (ถ้าหายให้แจ้งความแล้วนาสาเนา รายงานประจาวันรับแจ้งเอกสารหายไปแสดงแทน) (2) ใบเสร็จรับเงินงวดสุดท้าย (3) ใบมรณบัตรของผู้เอาประกันภัย (4) ทะเบียนบ้านของผู้รับประโยชน์ (5) บัตรประชาชนของผู้รับประโยชน์ 2.2 เสียชีวิตโดยฆ่าตัวตาย * เตรียมหลักฐานตาม 2.1(1) - (5) โดยเพิ่ม (6) สาเนาบันทึกประจาวันรับแจ้งเหตุของเจ้าหน้าที่ตารวจ (7) ใบชันสูตรพลิกศพ
  • 6. 2.3 เสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุ * เตรียมหลักฐานตาม 2.1(1) - (5) โดยเพิ่ม (6) สาเนาบันทึกประจาวันรับแจ้งเหตุของเจ้าหน้าที่ตารวจ (7) สาเนาบันทึกประจาวันหลังกลับจากสถานที่เกิดเหตุของเจ้าหน้าที่ตารวจ (8) ใบชันสูตรพลิกศพ 3. กรณีเรียกร้องค่ารักษาพยาบาล ทุพพลภาพ และสูญเสียอวัยวะ * แจ้งบริษัททราบภายใน 10 วัน และเตรียมหลักฐานดังนี้ (1) กรอกแบบฟอร์มใบเรียกร้องค่าทดแทนของบริษัท (2) ใบเสร็จรับเงินค่ารักษาพยาบาลที่ระบุวันเริ่มต้น และวันสุดท้ายในการรักษาตัวใน โรงพยาบาล (3) อื่น ๆ เช่น ฟิล์มเอ็กซซเรย์ 4. กรณีกรมธรรม์ครบกาหนด ในกรณีเป็นการประกันชีวิต ประเภทสะสมทรัพย์ที่มีเงินคืนเมื่อกรมธรรม์ครบกาหนด ให้ ดาเนินการและเตรียมหลักฐาน (1) ติดต่อบริษัทประกันภัย (2) กรมธรรม์ประกันชีวิต (3) บัตรประชาชนของผู้เอาประกันภัย
  • 7. ข้อจากัดบางประการที่บริษัทประกันชีวิตยกเว้นการจ่ายเงินเอาประกัน จากสาเหตุการตายดังนี้ 1. ผู้รับประโยชน์ฆ่าผู้เอาประกันตาย 2. ผู้เอาประกันฆ่าตัวตายภายใน 1 ปี นับจากวันทาสัญญาหรือวันต่ออายุสัญญาครั้งสุดท้าย ความตายที่เกิดจากสาเหตุข้างต้นดังกล่าว บริษัทประกันชีวิตจะไม่จ่ายจานวนเงินเอาประกันชีวิตให้ แต่จะ คืนเบี้ยประกันชีวิต ที่ได้ชาระมาแล้วทั้งหมดเท่านั้น ผู้เอาประกันชีวิตมีสิทธิที่จะได้รับการผ่อนผันการชาระเงินได้ โดยการยืดระยะเวลาได้ประมาณ 30 หรือ 60 วัน ผู้เอาประกันชีวิตสามารถนามาหักภาษีรายได้บุคคลได้โดยรัฐบาลได้เพิ่มจานวนเงินเบี้ยประกัน ชีวิตที่สามารถนาไปหักภาษีได้ไม่เกิน 100,000 บาท
  • 9. 2. กำรประกันภัยประเภทอุตสำหกรรม โดยทั่วไปจะมี วงเงินอย่ำงต่ำกี่บำท จึงจะเหมำะสำหรับผู้ที่มีรำยได้ปำน กลำงถึงรำยได้ต่ำ ก. ข. ค. ง. 10,000-30,000 บาท 9,000-10,000 บาท 50,000-100,000 บาท 5,000-7,000 บาท สิ้นสุด