SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ใบความรู้
แผ่นพับ (Folders)
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

“แผ่นพับ” มีความหมายตรงกับคาในภาษาอังกฤษว่า Folder(s) แต่นิยมเรียกว่า โบร์ชัวร์
(Brochure) ซึ่งหมายถึงเอกสารที่เย็บเป็นเล่มบางๆ และมีลักษณะคล้ายคลึงกัน
“แผ่นพับ” สามารถพับได้ตั้งแต่ 4 - 80 หน้า (หน้า -หลัง) แต่นิยมใช้กระดาษ A4 พับเป็น 3 ตอน 6
หน้า มากที่สุด เนื่องจากสะดวก และประหยัด เมื่อพับเสร็จแล้ว แผ่นพับจะมีขนาดเล็กพกพาได้สะดวก รวมทั้ง
แบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วนๆ ได้ โดยไม่ต้องมีเลขหน้ากากับ แผ่นพับเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่จัดเป็นการเผยแพร่ข้อมูลที่
เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายโดยตรงชนิดหนึ่ง
หลักการทั่วไปในการออกแบบแผ่นพับมี 2 เรื่องที่สาคัญคือ
1. สิ่งที่ต้องกาหนดและวางแผนก่อนการออกแบบแผ่นพับ
2. องค์ประกอบและการจัดวางองค์ประกอบในการออกแบบแผ่นพับ
สิ่งที่ต้องกาหนดและวางแผนก่อนการออกแบบแผ่นพับ
1. การกาหนดขนาดและรูปแบบของแผ่นพับ
2. การกาหนดลักษณะการส่ง
3. การกาหนดกระดาษ
4. การกาหนดลาดับของการอ่านตามลักษณะของแผ่นพับ
การกาหนดขนาดและรูปแบบของแผ่นพับ
1. แผ่นพับ มี ลักษณะคล้ายแผ่นปลิว แต่มีขนาดใหญ่กว่า (เมื่อคลี่ออกมา) เนื่องจากถูกออกแบบให้
บรรจุรายละเอียด ได้มากกว่าใบปลิว มีได้ตั้งแต่ 2-5 ทบ หรือมากกว่านั้น
2. วิธีการพับมีหลายแบบ เช่น พับทบกันไปมาเท่ากันทุกด้าน, พับไม่เท่ากันทุกด้าน และในปัจจุบันมี
การออกแบบให้มีลูกเล่นมากมายจะเป็น ไดคัด popup ดึง ฯลฯ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบและเจ้าของสินค้า
วิธีการจัดแจกเป็น เช่นเดียวกับใบปลิว
3. การผลิต รูปแบบของแผ่นพับจะเป็นกระดาษแผ่นเดียว พิมพ์ทั้งสองหน้า แล้วพับอย่างน้อย 1 พับ
4. เนื่องจากแผ่นพับมีวิธีการพับหลายแบบและไม่มีเลขหน้ากากับเหมือนกับหนังสือ ที่จะบังคับให้
ผู้อ่าน อ่านไปทีละหน้า ดังนั้นผู้ทาแผ่นพับจึงต้องออกแบบจัดเรียงลาดับการเสนอข้อความและรูปภาพใน การ
โฆษณาให้เหมาะสมกับลักษณะของการพับนั้น ๆ เพราะถ้าออกแบบไม่ดีแล้วจะทาให้ผู้อ่านเกิดความสับสนใจ
การอ่านได้ง่าย

ใบความรู้ แผ่นพับ

1
รูปแสดงตัวอย่างการพับแผ่นพับแบบต่างๆ

การกาหนดลาดับของการอ่านตามลักษณะของแผ่นพับ
1. เมื่อผู้อ่านได้รับแผ่นพับนั้นจะเป็นลักษณะที่ยังพับอยู่ ทาให้ผู้อ่านได้เห็นด้านหน้าก่อน จากนั้นเมื่อ
ผู้อ่านคลี่แผ่นพับออกก็จะค่อยๆ เห็นหน้าอื่นๆ
2. ดังนั้นจึงต้องกาหนดลาดับของเนื้อหาให้อยู่ในตาแหน่งหน้าที่สอดคล้องกับลาดับของการคลี่แผ่น
พับนั้นออกอ่าน
3. โดยต้องกาหนดว่าเนื้อหาส่วนใดควรมาก่อนส่วนใดควรมาทีหลัง แล้วจัดวางไปตามส่วนต่างๆ ให้
ถูกต้องตามลาดับของการคลี่ออกอ่าน
องค์ประกอบและการจัดวางองค์ประกอบในการออกแบบแผ่นพับที่ต้องกาหนดและวางแผนเฉพาะในส่วนที่
เกี่ยวข้องกับการออกแบบคือ
1. พาดหัว
2. ภาพประกอบ
3. ข้อความ
4. ภาพสินค้าและตราสัญลักษณ์
ใบความรู้ แผ่นพับ

2
พาดหัว
- มักเป็นตัวอักษรที่ใหญ่หรืออยู่ในตาแหน่งที่เด่น
- อยู่ด้านหน้าของแผ่นพับและนิยมวางไว้ในส่วนบนของหน้าแผ่นพับ
- เป็นข้อความสั้นๆ เข้าใจง่าย
ภาพประกอบ
- มักวางอยู่หน้าเดียวกับพาดหัว (แต่ไม่จาเป็นต้องมีคู่กันเสมอ)
- เป็นภาพที่จะช่วยดึงความสนใจของผู้อ่าน
- ตามข้อความอาจมีภาพประกอบเล็กๆ เพื่อใช้ประกอบเนื้อหา
ข้อความ
- เนื่องจากพื้นที่มีจากัดข้อความเนื้อหาจึงมักมีขนาดเล็ก แต่ไม่ควรเล็กกว่า 12 พอยต์
- ควรใช้ตัวอักษรสีเข้มบนพื้นสีอ่อน ดีกว่าตัวอักษรสีอ่อนบนพื้นเข้ม
- ควรใช้แบบอักษรเพียง 1-2 แบบ
- การวางข้อมูลต้องคานึงถึงลาดับการอ่านให้ถูกต้อง
- ควรเว้นพื้นที่ว่างไว้เพื่อไม่ให้มีข้อความมากเกินไปเพราะจะทาให้น่าเบื่อ
ภาพสินค้าและตราสัญลักษณ์
1. ภาพสินค้าอาจนามาเป็นภาพประกอบในหน้าแรกของแผ่นพับได้
2. หากภาพสินค้าไม่ใช่ภาพหลัก ควรมีภาพสินค้าอยู่ในแผ่นพับด้วย
3. ตราสัญลักษณ์ควรอยู่ที่ด้านหน้าแผ่นพับรวมกับพาดหัวหรือภาพประกอบหลัก
4. ควรมีตราสัญลักษณ์ในตอนท้ายของแผ่นพับด้วยเพื่อเป็นการย้าเตือนถึงสินค้าและสัญลักษณ์ของบริษัท
ข้อดีของแผ่นพับ
1. ผลิตและปรับปรุงได้ง่าย
2. เพิ่มโอกาสให้กับการขาย
3. สร้างความน่าเชื่อถือให้กับองค์กร
4. ลดต้นทุน ลดเวลา ในการตอบคาถาม
5. ประหยัด วงการศึกษามักใช้เผยแพร่โดยการถ่ายเอกสารขาวดา
6. ขนาดเล็ก พกพาสะดวก ผู้อ่านสามารถอ่านซ้าได้เมื่อต้องการ
7. นาไปใช้ได้ในหลายวัตถุประสงค์
ข้อควรคานึงในการออกแบบแผ่นพับ
1. หน้าแรกของแผ่นพับต้องออกแบบให้สวยงาม สะดุดตา และน่าหยิบมาอ่าน
2. จัดเรียงลาดับเนื้อหาให้เหมาะสม เพราะแผ่นพับไม่มีเลขหน้ากากับ ผู้อ่านอาจสับสนได้ควรจัดทา
โครงร่าง (Layout) การนาเสนอเนื้อหา ภาพ, กราฟิกประกอบ ฯลฯ
3. ควรพับง่ายไม่ซับซ้อน หลีกเลี่ยงการใช้แผ่นพับที่มีหลายหน้า เพราะจะทาให้อ่านยาก
4. นาเสนอข้อมูลให้จบในแต่ละส่วนที่พับ หากจาเป็นต้องข้ามส่วน ควรออกแบบให้สะดวกหรือ
ต่อเนื่อง เข้าใจง่าย
5. ภาพหรือกราฟิกที่ใช้ประกอบ ควรส่งเสริมหรือสอดคล้องกับเนื้อหา
ใบความรู้ แผ่นพับ

3
6. ใช้หลักองค์ประกอบศิลป์ช่วยออกแบบ

ลักษณะการสร้างแผ่นพับ
กระดาษแผ่นที่ 1

6

1

ปกหลัง

5

หน้าปก

ผู้จัดทา
กระดาษแผ่นที่ 2

2

ใบความรู้ แผ่นพับ

3

4

4

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
แบบฟอร์มหนังสือภายนอก
แบบฟอร์มหนังสือภายนอกแบบฟอร์มหนังสือภายนอก
แบบฟอร์มหนังสือภายนอกjustymew
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความHom Rim
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
ตัวอย่างหนังสือประกาศ
ตัวอย่างหนังสือประกาศตัวอย่างหนังสือประกาศ
ตัวอย่างหนังสือประกาศWoodyThailand
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...Prachoom Rangkasikorn
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 

What's hot (20)

ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
แบบฟอร์มหนังสือภายนอก
แบบฟอร์มหนังสือภายนอกแบบฟอร์มหนังสือภายนอก
แบบฟอร์มหนังสือภายนอก
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ตัวอย่างหนังสือประกาศ
ตัวอย่างหนังสือประกาศตัวอย่างหนังสือประกาศ
ตัวอย่างหนังสือประกาศ
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 

Viewers also liked

คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำ252413
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์uniquejupjang5603
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุมแผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุมSircom Smarnbua
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 

Viewers also liked (8)

แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำ
 
แผ่นพับ Is
แผ่นพับ Isแผ่นพับ Is
แผ่นพับ Is
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุมแผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 

More from devilp Nnop

ใบงาน3 1 - เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบงาน3 1 - เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบงาน3 1 - เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบงาน3 1 - เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับdevilp Nnop
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์devilp Nnop
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 1-html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 1-htmlหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 1-html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 1-htmldevilp Nnop
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 htmlหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 htmldevilp Nnop
 

More from devilp Nnop (14)

ใบงาน3 1 - เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบงาน3 1 - เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบงาน3 1 - เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบงาน3 1 - เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับ
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 1-html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 1-htmlหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 1-html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 1-html
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 htmlหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
 
Act3
Act3Act3
Act3
 
Act2
Act2Act2
Act2
 
Act1
Act1Act1
Act1
 
Act1
Act1Act1
Act1
 

ใบความรู้แผ่นพับ

  • 1. ใบความรู้ แผ่นพับ (Folders) ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- “แผ่นพับ” มีความหมายตรงกับคาในภาษาอังกฤษว่า Folder(s) แต่นิยมเรียกว่า โบร์ชัวร์ (Brochure) ซึ่งหมายถึงเอกสารที่เย็บเป็นเล่มบางๆ และมีลักษณะคล้ายคลึงกัน “แผ่นพับ” สามารถพับได้ตั้งแต่ 4 - 80 หน้า (หน้า -หลัง) แต่นิยมใช้กระดาษ A4 พับเป็น 3 ตอน 6 หน้า มากที่สุด เนื่องจากสะดวก และประหยัด เมื่อพับเสร็จแล้ว แผ่นพับจะมีขนาดเล็กพกพาได้สะดวก รวมทั้ง แบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วนๆ ได้ โดยไม่ต้องมีเลขหน้ากากับ แผ่นพับเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่จัดเป็นการเผยแพร่ข้อมูลที่ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายโดยตรงชนิดหนึ่ง หลักการทั่วไปในการออกแบบแผ่นพับมี 2 เรื่องที่สาคัญคือ 1. สิ่งที่ต้องกาหนดและวางแผนก่อนการออกแบบแผ่นพับ 2. องค์ประกอบและการจัดวางองค์ประกอบในการออกแบบแผ่นพับ สิ่งที่ต้องกาหนดและวางแผนก่อนการออกแบบแผ่นพับ 1. การกาหนดขนาดและรูปแบบของแผ่นพับ 2. การกาหนดลักษณะการส่ง 3. การกาหนดกระดาษ 4. การกาหนดลาดับของการอ่านตามลักษณะของแผ่นพับ การกาหนดขนาดและรูปแบบของแผ่นพับ 1. แผ่นพับ มี ลักษณะคล้ายแผ่นปลิว แต่มีขนาดใหญ่กว่า (เมื่อคลี่ออกมา) เนื่องจากถูกออกแบบให้ บรรจุรายละเอียด ได้มากกว่าใบปลิว มีได้ตั้งแต่ 2-5 ทบ หรือมากกว่านั้น 2. วิธีการพับมีหลายแบบ เช่น พับทบกันไปมาเท่ากันทุกด้าน, พับไม่เท่ากันทุกด้าน และในปัจจุบันมี การออกแบบให้มีลูกเล่นมากมายจะเป็น ไดคัด popup ดึง ฯลฯ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบและเจ้าของสินค้า วิธีการจัดแจกเป็น เช่นเดียวกับใบปลิว 3. การผลิต รูปแบบของแผ่นพับจะเป็นกระดาษแผ่นเดียว พิมพ์ทั้งสองหน้า แล้วพับอย่างน้อย 1 พับ 4. เนื่องจากแผ่นพับมีวิธีการพับหลายแบบและไม่มีเลขหน้ากากับเหมือนกับหนังสือ ที่จะบังคับให้ ผู้อ่าน อ่านไปทีละหน้า ดังนั้นผู้ทาแผ่นพับจึงต้องออกแบบจัดเรียงลาดับการเสนอข้อความและรูปภาพใน การ โฆษณาให้เหมาะสมกับลักษณะของการพับนั้น ๆ เพราะถ้าออกแบบไม่ดีแล้วจะทาให้ผู้อ่านเกิดความสับสนใจ การอ่านได้ง่าย ใบความรู้ แผ่นพับ 1
  • 2. รูปแสดงตัวอย่างการพับแผ่นพับแบบต่างๆ การกาหนดลาดับของการอ่านตามลักษณะของแผ่นพับ 1. เมื่อผู้อ่านได้รับแผ่นพับนั้นจะเป็นลักษณะที่ยังพับอยู่ ทาให้ผู้อ่านได้เห็นด้านหน้าก่อน จากนั้นเมื่อ ผู้อ่านคลี่แผ่นพับออกก็จะค่อยๆ เห็นหน้าอื่นๆ 2. ดังนั้นจึงต้องกาหนดลาดับของเนื้อหาให้อยู่ในตาแหน่งหน้าที่สอดคล้องกับลาดับของการคลี่แผ่น พับนั้นออกอ่าน 3. โดยต้องกาหนดว่าเนื้อหาส่วนใดควรมาก่อนส่วนใดควรมาทีหลัง แล้วจัดวางไปตามส่วนต่างๆ ให้ ถูกต้องตามลาดับของการคลี่ออกอ่าน องค์ประกอบและการจัดวางองค์ประกอบในการออกแบบแผ่นพับที่ต้องกาหนดและวางแผนเฉพาะในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับการออกแบบคือ 1. พาดหัว 2. ภาพประกอบ 3. ข้อความ 4. ภาพสินค้าและตราสัญลักษณ์ ใบความรู้ แผ่นพับ 2
  • 3. พาดหัว - มักเป็นตัวอักษรที่ใหญ่หรืออยู่ในตาแหน่งที่เด่น - อยู่ด้านหน้าของแผ่นพับและนิยมวางไว้ในส่วนบนของหน้าแผ่นพับ - เป็นข้อความสั้นๆ เข้าใจง่าย ภาพประกอบ - มักวางอยู่หน้าเดียวกับพาดหัว (แต่ไม่จาเป็นต้องมีคู่กันเสมอ) - เป็นภาพที่จะช่วยดึงความสนใจของผู้อ่าน - ตามข้อความอาจมีภาพประกอบเล็กๆ เพื่อใช้ประกอบเนื้อหา ข้อความ - เนื่องจากพื้นที่มีจากัดข้อความเนื้อหาจึงมักมีขนาดเล็ก แต่ไม่ควรเล็กกว่า 12 พอยต์ - ควรใช้ตัวอักษรสีเข้มบนพื้นสีอ่อน ดีกว่าตัวอักษรสีอ่อนบนพื้นเข้ม - ควรใช้แบบอักษรเพียง 1-2 แบบ - การวางข้อมูลต้องคานึงถึงลาดับการอ่านให้ถูกต้อง - ควรเว้นพื้นที่ว่างไว้เพื่อไม่ให้มีข้อความมากเกินไปเพราะจะทาให้น่าเบื่อ ภาพสินค้าและตราสัญลักษณ์ 1. ภาพสินค้าอาจนามาเป็นภาพประกอบในหน้าแรกของแผ่นพับได้ 2. หากภาพสินค้าไม่ใช่ภาพหลัก ควรมีภาพสินค้าอยู่ในแผ่นพับด้วย 3. ตราสัญลักษณ์ควรอยู่ที่ด้านหน้าแผ่นพับรวมกับพาดหัวหรือภาพประกอบหลัก 4. ควรมีตราสัญลักษณ์ในตอนท้ายของแผ่นพับด้วยเพื่อเป็นการย้าเตือนถึงสินค้าและสัญลักษณ์ของบริษัท ข้อดีของแผ่นพับ 1. ผลิตและปรับปรุงได้ง่าย 2. เพิ่มโอกาสให้กับการขาย 3. สร้างความน่าเชื่อถือให้กับองค์กร 4. ลดต้นทุน ลดเวลา ในการตอบคาถาม 5. ประหยัด วงการศึกษามักใช้เผยแพร่โดยการถ่ายเอกสารขาวดา 6. ขนาดเล็ก พกพาสะดวก ผู้อ่านสามารถอ่านซ้าได้เมื่อต้องการ 7. นาไปใช้ได้ในหลายวัตถุประสงค์ ข้อควรคานึงในการออกแบบแผ่นพับ 1. หน้าแรกของแผ่นพับต้องออกแบบให้สวยงาม สะดุดตา และน่าหยิบมาอ่าน 2. จัดเรียงลาดับเนื้อหาให้เหมาะสม เพราะแผ่นพับไม่มีเลขหน้ากากับ ผู้อ่านอาจสับสนได้ควรจัดทา โครงร่าง (Layout) การนาเสนอเนื้อหา ภาพ, กราฟิกประกอบ ฯลฯ 3. ควรพับง่ายไม่ซับซ้อน หลีกเลี่ยงการใช้แผ่นพับที่มีหลายหน้า เพราะจะทาให้อ่านยาก 4. นาเสนอข้อมูลให้จบในแต่ละส่วนที่พับ หากจาเป็นต้องข้ามส่วน ควรออกแบบให้สะดวกหรือ ต่อเนื่อง เข้าใจง่าย 5. ภาพหรือกราฟิกที่ใช้ประกอบ ควรส่งเสริมหรือสอดคล้องกับเนื้อหา ใบความรู้ แผ่นพับ 3