SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 2 เรื่อง สมบัติธาตุและสารประกอบ
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง
และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้
และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัดชั้นปี
ว 3.1 (1) สารวจและอธิบายองค์ประกอบสมบัติของธาตุและสารประกอบ
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- ธาตุ เป็นสารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยอะตอมชนิดเดียวกันและไม่สามารถแยกสลาย
เป็นสารอื่นได้อีกโดยวิธีการทางเคมี
- สารประกอบเป็นสารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยธาตุตั้งแต่สองธาตุขึ้นไปรวมตัวกัน
ด้วยอัตราส่วนโดยมวลคงที่ และมีสมบัติแตกต่างจากสมบัติเดิมของธาตุที่
เป็นองค์ประกอบ
สาระสาคัญ
ธาตุ คือ คือสารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วย ธาตุหรือสารชนิดเดียว ไม่สามารถแยกหรือสลาย
ออกเป็นสารอื่นได้ เช่น เงิน ทอง ออกซิเจน คาร์บอน เป็นต้น ในปัจจุบันมีการค้นพบธาตุประมาณ
107 ธาตุ เป็นธาตุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ 92 ธาตุ ที่เหลือเป็นธาตุที่สังเคราะห์ขึ้นในห้องทดลอง
จาแนกออกเป็น 3 ชนิด โลหะ อโลหะ และธาตุกึ่งโลหะ
สารประกอบ คือ สารที่ประกอบด้วยธาตุตั้งแต่ 2 ชนิด ขึ้นไป มาทาปฏิกิริยาเคมีกันด้วย
สัดส่วนที่แน่นอนกลายเป็นสารชนิดใหม่ มีสมบัติแตกต่างกันไป มีสมบัติแตกต่างกันไปจากธาตุที่เป็น
องค์ประกอบเดิม เช่น เกลือแกง น้า คาร์บอนไดออกไซด์ กรด และเบส เป็นต้น
จุดประสงค์การเรียนรู้มุ่งสู่ตัวชี้วัด
1. สืบค้นข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบความแตกต่างของธาตุและสารประกอบได้
2. อธิบาย และทาการทดลอง เพื่อตรวจสอบสมบัติบางประการของธาตุและสารประกอบได้
3. มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาตร์
สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K)
สมบัติธาตุและสารประกอบ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2
ทักษะ (P)
1. การสังเกต : ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัสสารวจ ระบุความคล้าย
และความแตกต่างของสิ่งที่สังเกต และเลือกใช้ตัวช่วยสาหรับประสาทสัมผัสต่าง ๆ ในการศึกษาได้ถูกต้อง
2. การตั้งสมมุติฐาน : การคิดหาคาตอบล่วงหน้าโดยอาศัยการสังเกต ความรู้
และประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐาน เพื่อระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม และตั้ง
คาถามที่สามารถตรวจสอบได้
3. การทดลอง : กระบวนการปฏิบัติการเพี่อหาคาตอบของสมมติฐานที่ตั้งไว้
คือ ปฏิบัติการทดลองตามขั้นตอน การใช้อุปกรณ์/เครื่องมือ และการบันทึกผลการทดลอง
4. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป : หมายถึง การแปลความหมายหรือบรรยาย
ลักษณะข้อมูลที่มีอยู่เพื่อสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลทั้งหมด
5. การสื่อความหมาย: การอธิบายแนวคิดที่ได้รับจากการสืบเสาะหาความรู้ผนวกกับ
ประสบการณ์เดิมเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1. ซื่อสัตย์ : เรียนรู้และทางานด้วยความซื่อสัตย์ทั้งทางกาย วาจาและใจ
2. มีวินัย : ความรับผิดชอบในการทางาน ยึดมั่นและปฏิบัติในข้อตกลง กฎเกณฑ์
งานส่งทันตามกาหนด ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
3. ใฝ่เรียนรู้ : มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ มีความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน
แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
4. มุ่งมั่นในการทางาน : ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วยความเพียรพยายาม
ทุ่มเทกาลังกาย กาลังใจ ในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆให้สาเร็จลุล่วงภาคภูมิใจในผลงาน
5. มีจิตสาธารณะ : มีส่วนร่วมในกิจกรรม เป็นผู้ให้และช่วยเหลือผู้อื่นเสียสละเพื่อ
ส่วนรวม อาสาช่วยเหลือสังคม โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 3
ส่วนประกอบในชุดกิจกรรมการเรียนรู้
1. บัตรคาสั่ง
2. แบบทดสอบก่อนเรียน
3. ใบความรู้ เรื่อง ธาตุและสัญลักษณ์
4. ใบความรู้ เรื่อง สารประกอบ
5. ใบกิจกรรม เรื่อง การแยกน้าด้วยกระแสไฟฟ้า
6. ใบงาน เรื่อง ธาตุและสารประกอบ
7. แบบทดสอบหลังเรียน
8. สรุปผลการประเมินด้านความรู้
9. แนวการบันทึกผลกิจกรรม เรื่อง แบบจาลองการเรียงตัวของอนุภาคของสาร
10. เฉลยใบงาน เรื่อง แบบจาลองอะตอม
11. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
12. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
13. แบบสังเกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
14. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
15. แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 4
บัตรคาสั่ง
คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละคนปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้
1. นักเรียนสามารถศึกษาเป็นรายบุคคลตามระดับความสามารถและเป็นรายกลุ่ม
ซึ่งควรมีสมาชิกประมาณกลุ่มละ 4-5 คน ในแต่ละกลุ่ม (คละ เก่ง ปานกลาง อ่อน)
2. อ่านคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเป็นรายบุคคล
4. ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ธาตุ และสัญลักษณ์ และสารประกอบด้วยความตั้งใจ
5. ศึกษาใบกิจกรรม
6. ปฏิบัติตามใบกิจกรรม
7. ทาใบงาน
8. ทาแบบทดสอบหลังเรียนเป็นรายบุคคล
เวลาที่ใช้ 2 ชั่วโมง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 5
แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง สมบัติธาตุและสารประกอบ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลา 10 นาที
คาสั่ง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
1. ข้อใดจัดเป็นธาตุทุกสาร
ก. เหล็ก อากาศ ทองคา
ข. ไฮโดรเจน สารหนู นิเกิล
ค. พลวง ปรอท แอลกอฮอล์
ง. กามะถัน ด่างทับทิม ปรอท
2. ธาตุในข้อใดเป็นโลหะทั้งหมด
ก. Li, Al, P
ข. Al, B, Zi
ค. Na, Mg, C
ง. Zn, Ag, Na
3. สารในข้อใดเป็นสารประกอบทุกสาร
ก. ด่างทับทิม ปูนขาว เกลือแกง
ข. น้าอัดลม น้าปูนใส น้าตาลทราย
ค. แนฟทาลีน เหรียญบาท กามะถัน
ง. ทิงเจอร์ไอโอดีน น้าเชื่อม ทองเหลือง
4. การจัดเรียงธาตุในรูปแบบของตารางของเมนเดเลเยฟยึดหลักการจัดเรียงตามข้อใด
ก. เรียงจากเลขอะตอมจากน้อยไปหามาก
ข. เรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไปหามาก
ค. เรียงธาตุตามมวลอะตอมจากมากไปหาน้อย
ง. เรียงธาตุตามจานวนอิเล็กตรอนจากมากไปหาน้อย
5. ข้อใดถูกต้อง
ก. ในภาวะปกติ ธาตุมีได้ทั้ง 3 สถานะ
ข. ธาตุสามารถแยกเป็นองค์ประกอบย่อยได้อีก
ค. ธาตุอาจเป็นสารเนื้อเดียวกัน หรือสารเนื้อผสมก็ได้
ง. ธาตุสองชนิดขึ้นไปมาผสมกัน ต้องได้สารประกอบเสมอ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 6
6. สารในข้อใดเป็นสารประกอบ
ก. น้า ปรอท
ข. เกลือ น้าตาล
ค. อากาศ ออกซิเจน
ง. ทองเหลือง เงิน
7. (NH4)3 PO4 และ Na3Ag (SO3)2 มีจานวนอะตอมแตกต่างกันกี่อะตอม
ก. 4 อะตอม
ข. 8 อะตอม
ค. 14 อะตอม
ง. 20 อะตอม
8. อนุภาคมูลฐานของธาตุได้แก่ข้อใด
ก. โปรตอน นิวตรอน
ข. โปรตอน อิเล็กตรอน
ค. นิวตรอน อิเล็กตรอน
ง. โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน
9. ธาตุโซเดียม แมกนีเซียม แมงกานีส และดีบุก มีสัญลักษณ์ตามข้อใด เรียงลาดับให้ถูกต้อง
ที่สุด
ก. S, Mn, Mg, Sn
ข. S, Mg, Mn, Sn
ค. Na, Mg, Mn, Sn
ง. Na, Mn, Mg, Sn
10. ถ้าพิจารณาธาตุในตารางธาตุตามหมู่จากบนลงล่าง สมบัติของธาตุมีความสัมพันธ์กันตามข้อใด
ก. มีความเป็นอโลหะมากขึ้น
ข. จานวนระดับพลังงานเพิ่มขึ้น
ค. จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น
ง. ขนาดอะตอมเล็กลงเพราะจานวนประจุเพิ่มขึ้น
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 7
กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบก่อนเรียน
ชื่อ - สกุล……………………………………………………………………...….. เลขที่ ………………………...
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่………………… วันที่ …………..เดือน …………………………..พ.ศ. ………………
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
คะแนน ก่อนเรียน
เต็ม
ได้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 8
ใบความรู้
เรื่อง ธาตุ และสัญลักษณ์
มนุษย์พยายามศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับลักษณะโครงสร้างของสารมาเป็นเวลานาน จนในที่สุด
จอห์น ดอลตัน นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้เสนอแนวคิดว่า ถ้าแบ่งสสารชิ้นใดชิ้นหนึ่งเป็นหน่วย
ย่อยที่สุด โดยแต่ละชิ้นยังคงสมบัติเดิมของสารนั้นไว้ เรียกหน่วยย่อยที่สุดว่า อะตอม
ถ้านาสสารชิ้นใดมาศึกษาสมบัติของแต่ละอะตอมแล้ว ปรากฏว่าเป็นอะตอมชนิดเดียวกัน เรียก
สสารชิ้นนั้นว่า ธาตุ
1. ธาตุ คือ สารที่ประกอบด้วยอะตอมชนิดเดียวกันไม่สามารถทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงให้
กลายเป็นอนุภาคที่ย่อยกว่านี้ด้วยวิธีการทางเคมี เช่น เหล็ก ทองแดง เป็นต้น
2. สัญลักษณ์ของธาตุ เนื่องจากธาตุมีอยู่หลายชนิด จอห์น ดอลตัน จึงเสนอให้มีการใช้
รูปภาพเป็นสัญลักษณ์แทนชื่อธาตุ เช่น
ธาตุไฮโดรเจน ธาตุออกซิเจน ธาตุกามะถัน ธาตุไนโตรเจน
ในปี พ.ศ. 2361 นักเคมีชาวสวีเดนชื่อ จาคอบ เบอร์ซีเลีย (Jacob Berzelius) เห็นว่าได้มี
การค้นพบธาตุใหม่ ๆ เป็นจานวนมาก การใช้รูปภาพไม่สะดวก จึงเสนอให้ใช้ตัวอักษรแทนชื่อธาตุ
เพื่อให้สะดวกและมีความเป็นสากลมากขึ้น ควรใช้อักษรตัวต้นในภาษาอังกฤษหรือละติน เป็น
สัญลักษณ์แทนอะตอมของธาตุ เพื่อไม่ให้สัญลักษณ์ซ้ากันให้ใช้อักษรตัวรองหรือตัวถัดไปควบกับ
อักษรตัวต้น โดยเขียนตัวพิมพ์ใหญ่ สาหรับอักษรตัวต้น และใช้อักษรตัวเล็ก สาหรับตัวรอง
ตารางแสดงชื่อธาตุและสัญลักษณ์ของธาตุบางชนิด
ชื่อธาตุ ชื่อในภาษาอังกฤษ ชื่อในภาษาละติน สัญลักษณ์
เหล็ก Iron Ferrum Fe
ตะกั่ว Lead Plumbum Pb
ทองแดง Copper Cuprum Cu
เงิน Silver Argentum Ag
ดีบุก Tin Stannum Sn
ปรอท Mercury Hydragyrum Hg
อะลูมิเนียม Aluminium - Al
ทองคา Gold Aurum Au
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 9
ชื่อธาตุ ชื่อในภาษาอังกฤษ ชื่อในภาษาละติน สัญลักษณ์
สังกะสี Zinc - Zn
ชื่อธาตุ ชื่อในภาษาอังกฤษ ชื่อในภาษาละติน สัญลักษณ์
พลวง Antimony - Sb
สารหนู Arsenic - As
แมงกานีส Manganeese - Mn
โซเดียม Sodium Natrium Na
โพแทสเซียม Potassium Kalium K
แคลเซียม Calcium - Ca
คาร์บอน Carbon - C
ไนโตรเจน Nitrogen - N
ออกซิเจน Oxygen - O
ไฮโดรเจน Hydrogen - H
คลอรีน Chlorine - Cl
กามะถัน Sulphur - S
ฟอสฟอรัส Phosphorus - P
ไอโอดีน Iodine - I
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 10
ใบความรู้
เรื่อง สารประกอบ
สารประกอบ (Compound) หมายถึง “สารบริสุทธิ์เนื้อเดียวที่เกิดจากธาตุตั้งแต่สองชนิดขึ้น
ไปเป็นองค์ประกอบในอัตราส่วนที่แน่นอน” สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของธาตุโดยวิธีการทาง
เคมี สามารถแยกสลายให้เกิดเป็นสารใหม่หรือกลับคืนเป็นธาตุเดิมได้ สารประกอบจะมีสมบัติ
เฉพาะตัวที่แตกต่างจากธาตุเดิม มีทั้งสถานะที่เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส เช่น น้า มีสูตรเคมี
เป็น H2O น้าเป็นสารประกอบที่เกิดจากธาตุไฮโดรเจน(H) และออกซิเจน (O) ในอัตราส่วน 2 : 1
เกลือที่ใช้ประกอบอาหาร เรียกว่า เกลือแกง มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า โซเดียมคลอไรด์ ซึ่งมีธาตุ
โซเดียม (Na) กับธาตุคลอรีน (Cl) เป็นองค์ประกอบในอัตราส่วน 1 : 1 มีสูตรเคมี คือ NaCl
สมบัติพื้นฐานของสารประกอบ
1. สารประกอบเกิดจากปฏิกิริยาทางเคมี ซึ่งทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นพลังงาน
ความร้อนและแสงสว่าง เช่น การเผาไหม้ ของคาร์บอนไดออกไซด์ จะได้ความร้อนและแสงสว่าง
2. สารประกอบจะมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันไป จากคุณสมบัติของธาตุ ที่เป็นองค์ประกอบ
ของสารประกอบนั้น ๆ
3. สามารถใช้กระบวนการทางเคมี แยกตัวสารประกอบให้เป็นสสารพื้นฐานได้
4. ธาตุที่ประกอบกันขึ้นเป็นสารประกอบ จะมีสัดส่วนของมวลที่คงที่แน่นอน ในการรวมกัน
เป็นสารประกอบนั้นๆ
5. สารประกอบจะมีจุดหลอมเหลวและมีจุดเดือดคงที่ แต่จุดหลอมเหลวของสารประกอบ
จะแตกต่างจากธาตุที่เป็นสารประกอบ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 11
ใบกิจกรรม
เรื่อง การแยกน้าด้วยไฟฟ้า
คาชี้แจง : ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม แล้วตอบคาถามท้ายกิจกรรม
จุดประสงค์ของกิขกรรม: เพื่อสืบค้นและทดลองสมบัติบางประการของธษตุและสารประกอบได้
วัสดุอุปกรณ์
1. น้าประปา 100 ลบ.ซม.
2. ธูป 1 ดอก
3. ไม้ขีดไฟ 1 กลัก
4. ชุดแยกน้าด้วยไฟฟ้า 1 ชุด
5. กระบะถ่านพร้อมถ่านไฟฉาย 4 ก้อน 1 ชุด
6. หลอดทดลองขนาดเล็ก 2 หลอด
7. กระจกปิดสไลด์ 2 แผ่น
8. ขาตั้งพร้อมที่จับหลอดทดลอง 2 ชุด
วิธีการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ใส่น้าประปาลงในถ้วยพลาสติกของชุดแยกน้าด้วยไฟฟ้าจนเต็มปิดฝาครอบที่มีหลอด
ทดลองและขั้วไฟฟ้า ดังรูป
2. ใช้นิ้วมือปิดรูระบายอากาศที่ฝากล่องพลาสติก แล้วคว่าถ้วยพลาสติกลงให้น้าในถ้วย
พลาสติกไหลเข้าในหลอดทดลองแทนที่อากาศจนเต็มแล้วหงายถ้วยพลาสติกขึ้น
3. ต่อสายไฟฟ้าจากกระบะถ่านไฟฉายขนาด 6 โวลต์ เข้ากับชุดแยกน้าด้วยไฟฟ้าโดยให้
ขั้วบวกและขั้วลบของกระบะถ่านไฟฉายต่อกับขั้วบวกและขั้วลบของชุดแยกน้าด้วยไฟฟ้า สังเกตการ
เปลี่ยนแปลงในหลอดทดลองทั้งสองแล้วบันทึกผลที่เกิดขึ้น
4. เมื่อได้แก๊สเต็มหลอดแล้วถอดสายไฟออก ใช้จุกยางปิดปากหลอดทดลองไว้
ทาเครื่องหมายแสดงขั้วไฟฟ้าที่หลอดทดลองทั้งสองว่ามาจากขั้วไฟฟ้าใด
5. ทดสอบการติดไฟของแก๊สในหลอดทดลองทั้งสอง โดยใช้ไม้ขีดไฟที่ลุกเป็นเปลวจ่อ
บริเวณปากหลอดทันทีที่เปิดจุกยาง สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง บันทึกผล
6. ทาการทดลองซ้า แต่การทดสอบการติดไฟของแก๊สในหลอดทั้งสอง โดยใช้ธูปที่ติดไฟ
เหลือแต่ถ่านแดงหย่อนลงไปในแต่ละหลอดทดลองทันทีที่เปิดจุกยางแทน สังเกตการเปลี่ยนแปลง
แล้วบันทึกผลที่เกิดขึ้น
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 12
หมายเหตุ
ถ้าน้าประปาที่นามาทดสอบไม่นาไฟฟ้าให้ใส่โซเดียมซัลเฟต จานวน 3 ช้อน เบอร์ 2
ลงในน้าแล้วคนด้วยแท่งแก้วคนสารให้โซเดียมซัลเฟตละลายจนหมด
ขั้นตอนการแยกน้าด้วยไฟฟ้า
บันทึกผลการสังเกต
ขั้นตอนการศึกษา
ผลการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้
หลอดที่ต่อกับขั้วบวก หลอดที่ต่อกับขั้วลบ
เมื่อต่อสายไฟฟ้ากับชุดแยกน้าด้วย
ไฟฟ้ากับขั้วกระบะถ่านไฟฉาย
เมื่อจ่อไม้ขีดไฟที่ลุกเป็นเปลวที่
ปากหลอดทดลอง
เมื่อนาธูปที่ติดไฟเหลือแต่ถ่านแดง
หย่อนลงในหลอดทดลอง
สรุปผล
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 13
คาถาม
1. แก๊สที่เกิดในหลอดทดลองทั้งสองเป็นแก๊สชนิดเดียวกันหรือไม่ นักเรียนสามารถทดสอบ
ด้วยวิธีการใด
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
2. นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดการทดสอบการแยกน้าด้วยไฟฟ้าจึงใช้น้าประปาแทนการใช้น้า
กลั่นซึ่ง เป็นน้าบริสุทธิ์
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
3. นักเรียนคิดว่าน้ามีส่วนประกอบพื้นฐานอะไร
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 14
ใบงาน
เรื่อง ธาตุและสารประกอบ
ตอนที่ 1 คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนชื่อธาตุและสัญลักษณ์ของธาตุลงในตาราง
ชื่อธาตุ ชื่อภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์ของธาตุ
ตะกั่ว
ดีบุก
Cu
Manganese
โซเดียม
Hydrogen
Ca
คาร์บอน
คลอรีน
เงิน
Cadmium
ซิลิคอน
ทองคา
ซีลีเนียม
O
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 15
ตอนที่ 2 คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนสูตรเคมีเพื่อแยกองค์ประกอบของสารประกอบ
สารประกอบ สูตรเคมี ธาตุองค์ประกอบ
น้า H2O
ไฮโดรเจน (H) 2 อะตอม
ออกซิเจน (O) 1 อะตอม
1. น้าตาลทราย(น้าตาลซูโครส) .................................................
.................................................
.................................................
2. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ .................................................
.................................................
.................................................
3. น้าส้มสายชู (กรดแอซิติก) .................................................
.................................................
.................................................
4. โซดาไฟ(โซเดียมไฮดรอกไซด์) .................................................
.................................................
.................................................
5. ทราย(ซิลิกอนไดออกไซด์) .................................................
.................................................
.................................................
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 16
แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง สมบัติธาตุและสารประกอบ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลา 10 นาที
คาสั่ง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
1. สารในข้อใดเป็นสารประกอบ
ก. น้า ปรอท
ข. เกลือ น้าตาล
ค. อากาศ ออกซิเจน
ง. ทองเหลือง เงิน
2. การจัดเรียงธาตุในรูปแบบของตารางของเมนเดเลเยฟยึดหลักการจัดเรียงตามข้อใด
ก. เรียงจากเลขอะตอมจากน้อยไปหามาก
ข. เรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไปหามาก
ค. เรียงธาตุตามมวลอะตอมจากมากไปหาน้อย
ง. เรียงธาตุตามจานวนอิเล็กตรอนจากมากไปหาน้อย
3. ข้อใดถูกต้อง
ก. ในภาวะปกติ ธาตุมีได้ทั้ง 3 สถานะ
ข. ธาตุสามารถแยกเป็นองค์ประกอบย่อยได้อีก
ค. ธาตุอาจเป็นสารเนื้อเดียวกัน หรือสารเนื้อผสมก็ได้
ง. ธาตุสองชนิดขึ้นไปมาผสมกัน ต้องได้สารประกอบเสมอ
4. สารในข้อใดเป็นสารประกอบทุกสาร
ก. ด่างทับทิม ปูนขาว เกลือแกง
ข. น้าอัดลม น้าปูนใส น้าตาลทราย
ค. แนฟทาลีน เหรียญบาท กามะถัน
ง. ทิงเจอร์ไอโอดีน น้าเชื่อม ทองเหลือง
5. ถ้าพิจารณาธาตุในตารางธาตุตามหมู่จากบนลงล่าง สมบัติของธาตุมีความสัมพันธ์กันตามข้อใด
ก. มีความเป็นอโลหะมากขึ้น
ข. จานวนระดับพลังงานเพิ่มขึ้น
ค. จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น
ง. ขนาดอะตอมเล็กลงเพราะจานวนประจุเพิ่มขึ้น
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 17
6. (NH4)3 PO4 และ Na3Ag (SO3)2 มีจานวนอะตอมแตกต่างกันกี่อะตอม
ก. 4 อะตอม
ข. 14 อะตอม
ค. 8 อะตอม
ง. 20 อะตอม
7. ธาตุในข้อใดเป็นโลหะทั้งหมด
ก. Li, Al, P
ข. Al, B, Zi
ค. Na, Mg, C
ง. Zn, Ag, Na
8. อนุภาคมูลฐานของธาตุได้แก่ข้อใด
ก. โปรตอน นิวตรอน
ข. โปรตอน อิเล็กตรอน
ค. นิวตรอน อิเล็กตรอน
ง. โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน
9. ข้อใดจัดเป็นธาตุทุกสาร
ก. เหล็ก อากาศ ทองคา
ข. ไฮโดรเจน สารหนู นิเกิล
ค. พลวง ปรอท แอลกอฮอล์
ง. กามะถัน ด่างทับทิม ปรอท
10. ธาตุโซเดียม แมกนีเซียม แมงกานีส และดีบุก มีสัญลักษณ์ตามข้อใด เรียงลาดับให้ถูกต้อง
ที่สุด
ก. S, Mn, Mg, Sn
ข. S, Mg, Mn, Sn
ค. Na, Mg, Mn, Sn
ง. Na, Mn, Mg, Sn
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 18
กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบหลังเรียน
ชื่อ - สกุล……………………………………………………………………...….. เลขที่ ………………………...
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่………………… วันที่ …………..เดือน …………………………..พ.ศ. ………………
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
คะแนน หลังเรียน
เต็ม
ได้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 19
สรุปผลการประเมินด้านความรู้
ชื่อ - สกุล……………………………………………………………………...….. เลขที่ ………………………...
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่………………… วันที่ …………..เดือน …………………………..พ.ศ. ………………
ประเมินผล ใบงาน หลังเรียน รวม
คะแนนเต็ม 10 10 30
คะแนนที่ได้
ร้อยละ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 20
แนวการบันทึกผลกิจกรรม
เรื่อง การแยกน้าด้วยไฟฟ้า
คาชี้แจง : ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม แล้วตอบคาถามท้ายกิจกรรม
วัสดุอุปกรณ์
1. น้าประปา 100 ลบ.ซม.
2. ธูป 1 ดอก
3. ไม้ขีดไฟ 1 กลัก
4. ชุดแยกน้าด้วยไฟฟ้า 1 ชุด
5. กระบะถ่านพร้อมถ่านไฟฉาย 4 ก้อน 1 ชุด
6. หลอดทดลองขนาดเล็ก 2 หลอด
7. กระจกปิดสไลด์ 2 แผ่น
8. ขาตั้งพร้อมที่จับหลอดทดลอง 2 ชุด
วิธีการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ใส่น้าประปาลงในถ้วยพลาสติกของชุดแยกน้าด้วยไฟฟ้าจนเต็มปิดฝาครอบที่มีหลอด
ทดลองและขั้วไฟฟ้า ดังรูป
2. ใช้นิ้วมือปิดรูระบายอากาศที่ฝากล่องพลาสติก แล้วคว่าถ้วยพลาสติกลงให้น้าในถ้วย
พลาสติกไหลเข้าในหลอดทดลองแทนที่อากาศจนเต็มแล้วหงายถ้วยพลาสติกขึ้น
3. ต่อสายไฟฟ้าจากกระบะถ่านไฟฉายขนาด 6 โวลต์ เข้ากับชุดแยกน้าด้วยไฟฟ้าโดยให้
ขั้วบวกและขั้วลบของกระบะถ่านไฟฉายต่อกับขั้วบวกและขั้วลบของชุดแยกน้าด้วยไฟฟ้า สังเกตการ
เปลี่ยนแปลงในหลอดทดลองทั้งสองแล้วบันทึกผลที่เกิดขึ้น
4. เมื่อได้แก๊สเต็มหลอดแล้วถอดสายไฟออก ใช้จุกยางปิดปากหลอดทดลองไว้
ทาเครื่องหมายแสดงขั้วไฟฟ้าที่หลอดทดลองทั้งสองว่ามาจากขั้วไฟฟ้าใด
5. ทดสอบการติดไฟของแก๊สในหลอดทดลองทั้งสอง โดยใช้ไม้ขีดไฟที่ลุกเป็นเปลวจ่อ
บริเวณปากหลอดทันทีที่เปิดจุกยาง สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง บันทึกผล
6. ทาการทดลองซ้า แต่การทดสอบการติดไฟของแก๊สในหลอดทั้งสอง โดยใช้ธูปที่ติดไฟ
เหลือแต่ถ่านแดงหย่อนลงไปในแต่ละหลอดทดลองทันทีที่เปิดจุกยางแทน สังเกตการเปลี่ยนแปลง
แล้วบันทึกผลที่เกิดขึ้น
หมายเหตุ
ถ้าน้าประปาที่นามาทดสอบไม่นาไฟฟ้าให้ใส่โซเดียมซัลเฟต จานวน 3 ช้อน เบอร์ 2
ลงในน้าแล้วคนด้วยแท่งแก้วคนสารให้โซเดียมซัลเฟตละลายจนหมด
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 21
ขั้นตอนการแยกน้าด้วยไฟฟ้า
บันทึกผลการสังเกต
ขั้นตอนการศึกษา
ผลการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้
หลอดที่ต่อกับขั้วบวก หลอดที่ต่อกับขั้วลบ
เมื่อต่อสายไฟฟ้ากับชุดแยกน้าด้วย
ไฟฟ้ากับขั้วกระบะถ่านไฟฉาย
เกิดแก๊สช้ากว่า เกิดแก๊สเร็วกว่าประมาณ
เท่าตัว
เมื่อจ่อไม้ขีดไฟที่ลุกเป็นเปลวที่
ปากหลอดทดลอง
เปลวไฟจากก้านไม้ขีดไฟสว่าง
ขึ้นจากเดิมเล็กน้อย
เกิดไฟลุกที่ปากหลอดทดลอง
และมีเสียง
เมื่อนาธูปที่ติดไฟเหลือแต่ถ่านแดง
หย่อนลงในหลอดทดลอง
ธูปเกิดเปลวไฟลุกสว่างขึ้น ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
สรุปผล
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
1. เมื่อผ่านไฟฟ้ากระแสตรง (จากกระบะถ่ายไฟฉาย) เข้าชุดแยกน้้าด้วยไฟฟ้าที่มี
น้้าประปาอยู่เต็มจะมีแก๊สเกิดขึ้นในหลอดทดลองทั้งสองที่ต่ออยู่กับขั้วไฟฟ้า
2. แก๊สที่เกิดขึ้นที่ขั้วไฟฟ้าบวกจะช่วยให้ธูปที่เหลือแต่ถ่านแดงไฟติดได้ ส่วนแก๊สที่เกิดขึ้นที่
ขั้วไฟฟ้าลบจะช่วยให้ติดไฟ เกิดไฟลุกที่ปากหลอดทดลองได้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 22
1. แก๊สที่เกิดในหลอดทดลองทั้งสองเป็นแก๊สชนิดเดียวกันหรือไม่ นักเรียนสามารถทดสอบด้วย
วิธีการใด
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
2. นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดการทดสอบการแยกน้าด้วยไฟฟ้าจึงใช้น้าประปาแทนการใช้น้ากลั่นซึ่ง
เป็นน้าบริสุทธิ์
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
3. นักเรียนคิดว่าน้ามีส่วนประกอบพื้นฐานอะไร
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
แก๊สที่เกิดขึ้นในหลอดทดลองทั้งสองเป็นแก๊สคนละชนิดกัน ทดสอบได้โดยน้าธูปที่ติดไฟ
เหลือแต่ถ่านแดงกับน้าไม้ขีดที่มีเปลวไฟไปจ่อทีปากหลอดทดลอง พบว่าจะ ให้ผลการทดสอบ
แตกต่างกัน
เพราะในน้้าประปาจะมีสารบางชนิดเจือปนท้าให้น้าไฟฟ้าได้ เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าจะ
เกิดปฏิกิริยาและให้แก๊สได้
แก๊สที่แตกต่างกัน 2 ชนิด
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 23
เฉลย ใบงาน
เรื่อง ธาตุและสารประกอบ
ตอนที่ 1 คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนชื่อธาตุและสัญลักษณ์ของธาตุลงในตาราง
ชื่อธาตุ ชื่อภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์ของธาตุ
ตะกั่ว Lead Pb
ดีบุก Tin Sn
Copper Cu
Manganese Mn
โซเดียม Sodium Na
Hydrogen H
Calcium Ca
คาร์บอน Carbon C
คลอรีน Chlorine Cl
เงิน Silver Ag
Cadmium Cd
ซิลิคอน Silicon Si
ทองคา Gold Au
ซีลีเนียม Selenium Se
Oxygen O
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 24
ตอนที่ 2 คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนสูตรเคมีเพื่อแยกองค์ประกอบของสารประกอบ
สารประกอบ สูตรเคมี ธาตุองค์ประกอบ
น้า H2O
ไฮโดรเจน (H) 2 อะตอม
ออกซิเจน (O) 1 อะตอม
1. น้าตาลทราย(น้าตาลซูโครส) C2H22O11
คาร์บอน (C) 12 อะตอม
ไฮโดรเจน (H) 22 อะตอม
ออกซิเจน (O) 11 อะตอม
2. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ CO2
คาร์บอน (C) 1 อะตอม
ออกซิเจน (O) 2 อะตอม
3. น้าส้มสายชู (กรดแอซิติก) CH3COOH
คาร์บอน (C) 2 อะตอม
ไฮโดรเจน (H) 4 อะตอม
ออกซิเจน (O) 2 อะตอม
4. โซดาไฟ(โซเดียมไฮดรอกไซด์) NaOH
โซเดียม (Na) 1 อะตอม
ไฮโดรเจน (H) 1 อะตอม
ออกซิเจน (O) 1 อะตอม
5. ทราย(ซิลิกอนไดออกไซด์) SiO2
ซิลิกอน (Si) 1 อะตอม
ออกซิเจน (O) 2 อะตอม
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 25
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
ข้อ คาตอบ
1 ข
2 ง
3 ก
4 ข
5 ก
6 ข
7 ข
8 ง
9 ค
10 ข
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 26
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ คาตอบ
1 ข
2 ข
3 ก
4 ก
5 ข
6 ค
7 ง
8 ง
9 ข
10 ค
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 27
แบบสังเกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ / กลุ่มที่
วันที่ เดือน พ.ศ
ข้อเสนอแนะ
เกณฑ์การให้คะแนน
- ถูก 3 รายการ ให้ 3 คะแนน
- ผิด 1 รายการ ให้ 2 คะแนน
- ผิด 2 รายการ ให้ 1 คะแนน
- ผิด 3 รายการ ให้ 0 คะแนน
เกณฑ์การสรุปผล: ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 นักเรียนต้องได้คะแนนขั้นต่า 12 คะแนนขึ้นไป
สรุปผลสังเกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อยู่ในระดับคุณภาพ
 ผ่าน  ไม่ผ่าน
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
( )
ที่
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ระดับพฤติกรรม คะแนน
ที่ได้ดีเยี่ยม
(3)
ดี
(2)
ผ่าน
(1)
ไม่ผ่าน
(0)
1. ทักษะการสังเกต
2. ทักษะการตั้งสมมุติฐาน
3. ทักษะการทดลอง
4. ทักษะการตีความข้อมูลและลงข้อสรุป
5. ทักษะการสื่อความหมาย
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 28
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ชื่อ นามสกุล เลขที่
ผู้ประเมิน ตนเอง เพื่อน ครู
ผู้รับการประเมิน/กลุ่ม ระดับชั้น/ห้อง
ประเมินครั้งที่ วันที่ เดือน พ.ศ.
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่
ข้อเสนอแนะ
เกณฑ์การให้คะแนน
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจน และสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
- ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน
เกณฑ์การสรุปผล : ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 นักเรียนต้องได้คะแนนขั้นต่า 12 คะแนนขึ้นไป
ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยู่ในระดับคุณภาพ
 ดีเยี่ยม  ดี  ผ่าน  ไม่ผ่าน
สรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยู่ในระดับคุณภาพ
 ผ่าน  ไม่ผ่าน
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
( )
ที่ คุณลักษณะ/พฤติกรรมบ่งชี้
ระดับพฤติกรรม คะแนน
ที่ได้ดีเยี่ยม
(3)
ดี
(2)
ผ่าน
(1)
ไม่ผ่าน
(0)
1. ซื่อสัตย์-สุจริต
2. มีวินัย
3. ใฝ่เรียนรู้
4. มุ่งมั่นในการทางาน
5. มีจิตสาธารณะ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 29
แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ชื่อ-สกุล . เลขที่
คาชี้แจง : ให้ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคุณภาพ
สมรรถนะด้าน ข้อประเมิน
ระดับคุณภาพ สรุปผล
การ
ประเมิน
ดีมาก
(3)
ดี
(2)
พอใช้
(1)
ปรับปรุง
(0)
1.ความสามารถ
ในการสื่อสาร
1.1 มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร
 ดีเยี่ยม
 ดี
 ผ่าน
 ไม่ผ่าน
1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้
ความคิด-เข้าใจ โดยใช้ภาษาที่เหมาะสม
1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม
มีประสิทธิภาพ
1.4 เจรจาต่อรอง เพื่อขจัดและลดปัญหา
ความขัดแย้งต่าง ๆ ได้
1.5 เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วย
เหตุผลและถูกต้อง
2.ความสามารถ
ในการคิด
2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์
 ดีเยี่ยม
 ดี
 ผ่าน
 ไม่ผ่าน
2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่าง
สร้างสรรค์
2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ
2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้
2.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้
อย่างเหมาะสม
3.ความสามารถ
ในการแก้ปัญหา
3.1 สามารถแก้ปัญหา และอุปสรรค
ต่าง ๆ ที่เผชิญได้
 ดีเยี่ยม
 ดี
 ผ่าน
 ไม่ผ่าน
3.2 ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา
3.3 เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงในสังคม
3.4 แสวงหาความรู้ ประยุกต์ควมรู้มาใช้ใน
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
3.5 สามารถตัดสินใจได้เหมาะสมตามวัย
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 30
สมรรถนะด้าน ข้อประเมิน
ระดับคุณภาพ สรุปผล
การ
ประเมิน
ดีมาก
(3)
ดี
(2)
พอใช้
(1)
ปรับปรุง
(0)
4.ความสามารถ
ในการใช้ทักษะ
ชีวิต
4.1 เรียนรู้ด้วยตนเองได้เหมาะสมตามวัย
 ดีเยี่ยม
 ดี
 ผ่าน
 ไม่ผ่าน
4.2 สามารถทางานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้
4.3 นาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจาวัน
4.4 จัดการปัญหาและความขัดแย้งได้
เหมาะสม
4.5 หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่
ส่งผลกระทบต่อตนเอง
5.ความสามารถใน
การใช้เทคโนโลยี
5.1 เลือกและใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสมตามวัย
 ดีเยี่ยม
 ดี
 ผ่าน
 ไม่ผ่าน
5.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
5.3 สามารถนาเทคโนโลยีไปใช้พัฒนาตนเอง
5.4 ใช้เทคโนโลยีในการแก้ปัญหาอย่าง
สร้างสรรค์
5.5 มีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้
เทคโนโลยี
ข้อเสนอแนะ
เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจน และสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจน และบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
- ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน
เกณฑ์การสรุปผล : ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ต้องมีคะแนนขั้นต่า 20 คะแนนขึ้นไป
ผลการประเมินสมรรถนะ 5 ด้าน อยู่ในระดับคุณภาพ
 ดีเยี่ยม  ดี  ผ่าน  ไม่ผ่าน
สรุปผลการประเมินสมรรถนะ 5 ด้าน อยู่ในระดับคุณภาพ
 ผ่าน  ไม่ผ่าน
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
( )
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 31
บรรณานุกรม
บัญชา แสนทวี และคณะ. แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ม 1
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
วัฒนาพานิช จากัด, 2554.
พัชรินทร์ แสนพลเมือง. แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์ จากัด, 2552.
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.). คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ บริษัทพัฒนา
คุณภาพวิชาการ จากัด, 2554.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 2 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553.
________. คู่มือครู รายวิชาวิทยาศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว, 2554.
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา
ทักษะการคิด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด, 2553.
ธาตุและสารประกอบ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.nakhamwit.ac.th/pingpong_web/
Element&Compounds.htm. 15 มกราคม 2557.
________ . (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.myfirstbrain.com/student_
view.aspx?ID=73971. 15 มกราคม 2557.

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docxข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docxssuser920267
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docxข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
3เฉลย 31
3เฉลย 313เฉลย 31
3เฉลย 31
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 

Similar to 4.เล่มที่ 2

สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารZee Gopgap
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารZee Gopgap
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 

Similar to 4.เล่มที่ 2 (10)

Punmanee study 2
Punmanee study 2Punmanee study 2
Punmanee study 2
 
Punmanee study 7
Punmanee study 7Punmanee study 7
Punmanee study 7
 
Punmanee study 8
Punmanee study 8Punmanee study 8
Punmanee study 8
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสารเนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
 
Punmanee study 6
Punmanee study 6Punmanee study 6
Punmanee study 6
 

More from kai kk

เอกสารแนบท้ายประกาศ
เอกสารแนบท้ายประกาศเอกสารแนบท้ายประกาศ
เอกสารแนบท้ายประกาศkai kk
 
ตารางประเภทกีฬาที่รับสมัคร
ตารางประเภทกีฬาที่รับสมัครตารางประเภทกีฬาที่รับสมัคร
ตารางประเภทกีฬาที่รับสมัครkai kk
 
โรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลฯ ประกาศรับสมัครนักเรียนใหม่ ปี ๒๕๖๑
โรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลฯ ประกาศรับสมัครนักเรียนใหม่ ปี ๒๕๖๑โรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลฯ ประกาศรับสมัครนักเรียนใหม่ ปี ๒๕๖๑
โรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลฯ ประกาศรับสมัครนักเรียนใหม่ ปี ๒๕๖๑kai kk
 
แผนรับนักเรียน ปี-60
แผนรับนักเรียน ปี-60แผนรับนักเรียน ปี-60
แผนรับนักเรียน ปี-60kai kk
 
ประกาศโรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลราชธานี รับสมัคร-2560
ประกาศโรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลราชธานี รับสมัคร-2560ประกาศโรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลราชธานี รับสมัคร-2560
ประกาศโรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลราชธานี รับสมัคร-2560kai kk
 
ประกาศสถาบันการพลศึกษา เรื่องการรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560
ประกาศสถาบันการพลศึกษา เรื่องการรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560ประกาศสถาบันการพลศึกษา เรื่องการรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560
ประกาศสถาบันการพลศึกษา เรื่องการรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560kai kk
 
เอกสารแนบท้าย ประกาศรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560
เอกสารแนบท้าย ประกาศรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560เอกสารแนบท้าย ประกาศรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560
เอกสารแนบท้าย ประกาศรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560kai kk
 
ประกาศสถาบันการพลศึกษา เรื่องการรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560
ประกาศสถาบันการพลศึกษา เรื่องการรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560ประกาศสถาบันการพลศึกษา เรื่องการรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560
ประกาศสถาบันการพลศึกษา เรื่องการรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560kai kk
 
ระเบียบสระว่ายน้ำ
ระเบียบสระว่ายน้ำระเบียบสระว่ายน้ำ
ระเบียบสระว่ายน้ำkai kk
 
5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้าkai kk
 
2.a1 บทคัดย่อ
2.a1 บทคัดย่อ2.a1 บทคัดย่อ
2.a1 บทคัดย่อkai kk
 
6.ปกหลัง
6.ปกหลัง6.ปกหลัง
6.ปกหลังkai kk
 
1.ปกหน้า
1.ปกหน้า1.ปกหน้า
1.ปกหน้าkai kk
 
3.คำนำ สารบัญ
3.คำนำ สารบัญ3.คำนำ สารบัญ
3.คำนำ สารบัญkai kk
 
แผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนวแผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนวkai kk
 

More from kai kk (15)

เอกสารแนบท้ายประกาศ
เอกสารแนบท้ายประกาศเอกสารแนบท้ายประกาศ
เอกสารแนบท้ายประกาศ
 
ตารางประเภทกีฬาที่รับสมัคร
ตารางประเภทกีฬาที่รับสมัครตารางประเภทกีฬาที่รับสมัคร
ตารางประเภทกีฬาที่รับสมัคร
 
โรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลฯ ประกาศรับสมัครนักเรียนใหม่ ปี ๒๕๖๑
โรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลฯ ประกาศรับสมัครนักเรียนใหม่ ปี ๒๕๖๑โรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลฯ ประกาศรับสมัครนักเรียนใหม่ ปี ๒๕๖๑
โรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลฯ ประกาศรับสมัครนักเรียนใหม่ ปี ๒๕๖๑
 
แผนรับนักเรียน ปี-60
แผนรับนักเรียน ปี-60แผนรับนักเรียน ปี-60
แผนรับนักเรียน ปี-60
 
ประกาศโรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลราชธานี รับสมัคร-2560
ประกาศโรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลราชธานี รับสมัคร-2560ประกาศโรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลราชธานี รับสมัคร-2560
ประกาศโรงเรียนกีฬาจังหวัดอุบลราชธานี รับสมัคร-2560
 
ประกาศสถาบันการพลศึกษา เรื่องการรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560
ประกาศสถาบันการพลศึกษา เรื่องการรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560ประกาศสถาบันการพลศึกษา เรื่องการรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560
ประกาศสถาบันการพลศึกษา เรื่องการรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560
 
เอกสารแนบท้าย ประกาศรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560
เอกสารแนบท้าย ประกาศรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560เอกสารแนบท้าย ประกาศรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560
เอกสารแนบท้าย ประกาศรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560
 
ประกาศสถาบันการพลศึกษา เรื่องการรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560
ประกาศสถาบันการพลศึกษา เรื่องการรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560ประกาศสถาบันการพลศึกษา เรื่องการรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560
ประกาศสถาบันการพลศึกษา เรื่องการรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2560
 
ระเบียบสระว่ายน้ำ
ระเบียบสระว่ายน้ำระเบียบสระว่ายน้ำ
ระเบียบสระว่ายน้ำ
 
5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า
 
2.a1 บทคัดย่อ
2.a1 บทคัดย่อ2.a1 บทคัดย่อ
2.a1 บทคัดย่อ
 
6.ปกหลัง
6.ปกหลัง6.ปกหลัง
6.ปกหลัง
 
1.ปกหน้า
1.ปกหน้า1.ปกหน้า
1.ปกหน้า
 
3.คำนำ สารบัญ
3.คำนำ สารบัญ3.คำนำ สารบัญ
3.คำนำ สารบัญ
 
แผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนวแผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนว
 

4.เล่มที่ 2

  • 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 2 เรื่อง สมบัติธาตุและสารประกอบ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัดชั้นปี ว 3.1 (1) สารวจและอธิบายองค์ประกอบสมบัติของธาตุและสารประกอบ สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ธาตุ เป็นสารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยอะตอมชนิดเดียวกันและไม่สามารถแยกสลาย เป็นสารอื่นได้อีกโดยวิธีการทางเคมี - สารประกอบเป็นสารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยธาตุตั้งแต่สองธาตุขึ้นไปรวมตัวกัน ด้วยอัตราส่วนโดยมวลคงที่ และมีสมบัติแตกต่างจากสมบัติเดิมของธาตุที่ เป็นองค์ประกอบ สาระสาคัญ ธาตุ คือ คือสารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วย ธาตุหรือสารชนิดเดียว ไม่สามารถแยกหรือสลาย ออกเป็นสารอื่นได้ เช่น เงิน ทอง ออกซิเจน คาร์บอน เป็นต้น ในปัจจุบันมีการค้นพบธาตุประมาณ 107 ธาตุ เป็นธาตุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ 92 ธาตุ ที่เหลือเป็นธาตุที่สังเคราะห์ขึ้นในห้องทดลอง จาแนกออกเป็น 3 ชนิด โลหะ อโลหะ และธาตุกึ่งโลหะ สารประกอบ คือ สารที่ประกอบด้วยธาตุตั้งแต่ 2 ชนิด ขึ้นไป มาทาปฏิกิริยาเคมีกันด้วย สัดส่วนที่แน่นอนกลายเป็นสารชนิดใหม่ มีสมบัติแตกต่างกันไป มีสมบัติแตกต่างกันไปจากธาตุที่เป็น องค์ประกอบเดิม เช่น เกลือแกง น้า คาร์บอนไดออกไซด์ กรด และเบส เป็นต้น จุดประสงค์การเรียนรู้มุ่งสู่ตัวชี้วัด 1. สืบค้นข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบความแตกต่างของธาตุและสารประกอบได้ 2. อธิบาย และทาการทดลอง เพื่อตรวจสอบสมบัติบางประการของธาตุและสารประกอบได้ 3. มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาตร์ สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) สมบัติธาตุและสารประกอบ
  • 2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2 ทักษะ (P) 1. การสังเกต : ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัสสารวจ ระบุความคล้าย และความแตกต่างของสิ่งที่สังเกต และเลือกใช้ตัวช่วยสาหรับประสาทสัมผัสต่าง ๆ ในการศึกษาได้ถูกต้อง 2. การตั้งสมมุติฐาน : การคิดหาคาตอบล่วงหน้าโดยอาศัยการสังเกต ความรู้ และประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐาน เพื่อระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม และตั้ง คาถามที่สามารถตรวจสอบได้ 3. การทดลอง : กระบวนการปฏิบัติการเพี่อหาคาตอบของสมมติฐานที่ตั้งไว้ คือ ปฏิบัติการทดลองตามขั้นตอน การใช้อุปกรณ์/เครื่องมือ และการบันทึกผลการทดลอง 4. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป : หมายถึง การแปลความหมายหรือบรรยาย ลักษณะข้อมูลที่มีอยู่เพื่อสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลทั้งหมด 5. การสื่อความหมาย: การอธิบายแนวคิดที่ได้รับจากการสืบเสาะหาความรู้ผนวกกับ ประสบการณ์เดิมเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 1. ซื่อสัตย์ : เรียนรู้และทางานด้วยความซื่อสัตย์ทั้งทางกาย วาจาและใจ 2. มีวินัย : ความรับผิดชอบในการทางาน ยึดมั่นและปฏิบัติในข้อตกลง กฎเกณฑ์ งานส่งทันตามกาหนด ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น 3. ใฝ่เรียนรู้ : มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ มีความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน 4. มุ่งมั่นในการทางาน : ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเทกาลังกาย กาลังใจ ในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆให้สาเร็จลุล่วงภาคภูมิใจในผลงาน 5. มีจิตสาธารณะ : มีส่วนร่วมในกิจกรรม เป็นผู้ให้และช่วยเหลือผู้อื่นเสียสละเพื่อ ส่วนรวม อาสาช่วยเหลือสังคม โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
  • 3. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 3 ส่วนประกอบในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. บัตรคาสั่ง 2. แบบทดสอบก่อนเรียน 3. ใบความรู้ เรื่อง ธาตุและสัญลักษณ์ 4. ใบความรู้ เรื่อง สารประกอบ 5. ใบกิจกรรม เรื่อง การแยกน้าด้วยกระแสไฟฟ้า 6. ใบงาน เรื่อง ธาตุและสารประกอบ 7. แบบทดสอบหลังเรียน 8. สรุปผลการประเมินด้านความรู้ 9. แนวการบันทึกผลกิจกรรม เรื่อง แบบจาลองการเรียงตัวของอนุภาคของสาร 10. เฉลยใบงาน เรื่อง แบบจาลองอะตอม 11. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 12. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 13. แบบสังเกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 14. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 15. แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
  • 4. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 4 บัตรคาสั่ง คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละคนปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. นักเรียนสามารถศึกษาเป็นรายบุคคลตามระดับความสามารถและเป็นรายกลุ่ม ซึ่งควรมีสมาชิกประมาณกลุ่มละ 4-5 คน ในแต่ละกลุ่ม (คละ เก่ง ปานกลาง อ่อน) 2. อ่านคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเป็นรายบุคคล 4. ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ธาตุ และสัญลักษณ์ และสารประกอบด้วยความตั้งใจ 5. ศึกษาใบกิจกรรม 6. ปฏิบัติตามใบกิจกรรม 7. ทาใบงาน 8. ทาแบบทดสอบหลังเรียนเป็นรายบุคคล เวลาที่ใช้ 2 ชั่วโมง
  • 5. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 5 แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง สมบัติธาตุและสารประกอบ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลา 10 นาที คาสั่ง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. ข้อใดจัดเป็นธาตุทุกสาร ก. เหล็ก อากาศ ทองคา ข. ไฮโดรเจน สารหนู นิเกิล ค. พลวง ปรอท แอลกอฮอล์ ง. กามะถัน ด่างทับทิม ปรอท 2. ธาตุในข้อใดเป็นโลหะทั้งหมด ก. Li, Al, P ข. Al, B, Zi ค. Na, Mg, C ง. Zn, Ag, Na 3. สารในข้อใดเป็นสารประกอบทุกสาร ก. ด่างทับทิม ปูนขาว เกลือแกง ข. น้าอัดลม น้าปูนใส น้าตาลทราย ค. แนฟทาลีน เหรียญบาท กามะถัน ง. ทิงเจอร์ไอโอดีน น้าเชื่อม ทองเหลือง 4. การจัดเรียงธาตุในรูปแบบของตารางของเมนเดเลเยฟยึดหลักการจัดเรียงตามข้อใด ก. เรียงจากเลขอะตอมจากน้อยไปหามาก ข. เรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไปหามาก ค. เรียงธาตุตามมวลอะตอมจากมากไปหาน้อย ง. เรียงธาตุตามจานวนอิเล็กตรอนจากมากไปหาน้อย 5. ข้อใดถูกต้อง ก. ในภาวะปกติ ธาตุมีได้ทั้ง 3 สถานะ ข. ธาตุสามารถแยกเป็นองค์ประกอบย่อยได้อีก ค. ธาตุอาจเป็นสารเนื้อเดียวกัน หรือสารเนื้อผสมก็ได้ ง. ธาตุสองชนิดขึ้นไปมาผสมกัน ต้องได้สารประกอบเสมอ
  • 6. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 6 6. สารในข้อใดเป็นสารประกอบ ก. น้า ปรอท ข. เกลือ น้าตาล ค. อากาศ ออกซิเจน ง. ทองเหลือง เงิน 7. (NH4)3 PO4 และ Na3Ag (SO3)2 มีจานวนอะตอมแตกต่างกันกี่อะตอม ก. 4 อะตอม ข. 8 อะตอม ค. 14 อะตอม ง. 20 อะตอม 8. อนุภาคมูลฐานของธาตุได้แก่ข้อใด ก. โปรตอน นิวตรอน ข. โปรตอน อิเล็กตรอน ค. นิวตรอน อิเล็กตรอน ง. โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน 9. ธาตุโซเดียม แมกนีเซียม แมงกานีส และดีบุก มีสัญลักษณ์ตามข้อใด เรียงลาดับให้ถูกต้อง ที่สุด ก. S, Mn, Mg, Sn ข. S, Mg, Mn, Sn ค. Na, Mg, Mn, Sn ง. Na, Mn, Mg, Sn 10. ถ้าพิจารณาธาตุในตารางธาตุตามหมู่จากบนลงล่าง สมบัติของธาตุมีความสัมพันธ์กันตามข้อใด ก. มีความเป็นอโลหะมากขึ้น ข. จานวนระดับพลังงานเพิ่มขึ้น ค. จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น ง. ขนาดอะตอมเล็กลงเพราะจานวนประจุเพิ่มขึ้น
  • 7. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 7 กระดาษคาตอบ แบบทดสอบก่อนเรียน ชื่อ - สกุล……………………………………………………………………...….. เลขที่ ………………………... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่………………… วันที่ …………..เดือน …………………………..พ.ศ. ……………… ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนน ก่อนเรียน เต็ม ได้
  • 8. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 8 ใบความรู้ เรื่อง ธาตุ และสัญลักษณ์ มนุษย์พยายามศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับลักษณะโครงสร้างของสารมาเป็นเวลานาน จนในที่สุด จอห์น ดอลตัน นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้เสนอแนวคิดว่า ถ้าแบ่งสสารชิ้นใดชิ้นหนึ่งเป็นหน่วย ย่อยที่สุด โดยแต่ละชิ้นยังคงสมบัติเดิมของสารนั้นไว้ เรียกหน่วยย่อยที่สุดว่า อะตอม ถ้านาสสารชิ้นใดมาศึกษาสมบัติของแต่ละอะตอมแล้ว ปรากฏว่าเป็นอะตอมชนิดเดียวกัน เรียก สสารชิ้นนั้นว่า ธาตุ 1. ธาตุ คือ สารที่ประกอบด้วยอะตอมชนิดเดียวกันไม่สามารถทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงให้ กลายเป็นอนุภาคที่ย่อยกว่านี้ด้วยวิธีการทางเคมี เช่น เหล็ก ทองแดง เป็นต้น 2. สัญลักษณ์ของธาตุ เนื่องจากธาตุมีอยู่หลายชนิด จอห์น ดอลตัน จึงเสนอให้มีการใช้ รูปภาพเป็นสัญลักษณ์แทนชื่อธาตุ เช่น ธาตุไฮโดรเจน ธาตุออกซิเจน ธาตุกามะถัน ธาตุไนโตรเจน ในปี พ.ศ. 2361 นักเคมีชาวสวีเดนชื่อ จาคอบ เบอร์ซีเลีย (Jacob Berzelius) เห็นว่าได้มี การค้นพบธาตุใหม่ ๆ เป็นจานวนมาก การใช้รูปภาพไม่สะดวก จึงเสนอให้ใช้ตัวอักษรแทนชื่อธาตุ เพื่อให้สะดวกและมีความเป็นสากลมากขึ้น ควรใช้อักษรตัวต้นในภาษาอังกฤษหรือละติน เป็น สัญลักษณ์แทนอะตอมของธาตุ เพื่อไม่ให้สัญลักษณ์ซ้ากันให้ใช้อักษรตัวรองหรือตัวถัดไปควบกับ อักษรตัวต้น โดยเขียนตัวพิมพ์ใหญ่ สาหรับอักษรตัวต้น และใช้อักษรตัวเล็ก สาหรับตัวรอง ตารางแสดงชื่อธาตุและสัญลักษณ์ของธาตุบางชนิด ชื่อธาตุ ชื่อในภาษาอังกฤษ ชื่อในภาษาละติน สัญลักษณ์ เหล็ก Iron Ferrum Fe ตะกั่ว Lead Plumbum Pb ทองแดง Copper Cuprum Cu เงิน Silver Argentum Ag ดีบุก Tin Stannum Sn ปรอท Mercury Hydragyrum Hg อะลูมิเนียม Aluminium - Al ทองคา Gold Aurum Au
  • 9. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 9 ชื่อธาตุ ชื่อในภาษาอังกฤษ ชื่อในภาษาละติน สัญลักษณ์ สังกะสี Zinc - Zn ชื่อธาตุ ชื่อในภาษาอังกฤษ ชื่อในภาษาละติน สัญลักษณ์ พลวง Antimony - Sb สารหนู Arsenic - As แมงกานีส Manganeese - Mn โซเดียม Sodium Natrium Na โพแทสเซียม Potassium Kalium K แคลเซียม Calcium - Ca คาร์บอน Carbon - C ไนโตรเจน Nitrogen - N ออกซิเจน Oxygen - O ไฮโดรเจน Hydrogen - H คลอรีน Chlorine - Cl กามะถัน Sulphur - S ฟอสฟอรัส Phosphorus - P ไอโอดีน Iodine - I
  • 10. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 10 ใบความรู้ เรื่อง สารประกอบ สารประกอบ (Compound) หมายถึง “สารบริสุทธิ์เนื้อเดียวที่เกิดจากธาตุตั้งแต่สองชนิดขึ้น ไปเป็นองค์ประกอบในอัตราส่วนที่แน่นอน” สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของธาตุโดยวิธีการทาง เคมี สามารถแยกสลายให้เกิดเป็นสารใหม่หรือกลับคืนเป็นธาตุเดิมได้ สารประกอบจะมีสมบัติ เฉพาะตัวที่แตกต่างจากธาตุเดิม มีทั้งสถานะที่เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส เช่น น้า มีสูตรเคมี เป็น H2O น้าเป็นสารประกอบที่เกิดจากธาตุไฮโดรเจน(H) และออกซิเจน (O) ในอัตราส่วน 2 : 1 เกลือที่ใช้ประกอบอาหาร เรียกว่า เกลือแกง มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า โซเดียมคลอไรด์ ซึ่งมีธาตุ โซเดียม (Na) กับธาตุคลอรีน (Cl) เป็นองค์ประกอบในอัตราส่วน 1 : 1 มีสูตรเคมี คือ NaCl สมบัติพื้นฐานของสารประกอบ 1. สารประกอบเกิดจากปฏิกิริยาทางเคมี ซึ่งทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นพลังงาน ความร้อนและแสงสว่าง เช่น การเผาไหม้ ของคาร์บอนไดออกไซด์ จะได้ความร้อนและแสงสว่าง 2. สารประกอบจะมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันไป จากคุณสมบัติของธาตุ ที่เป็นองค์ประกอบ ของสารประกอบนั้น ๆ 3. สามารถใช้กระบวนการทางเคมี แยกตัวสารประกอบให้เป็นสสารพื้นฐานได้ 4. ธาตุที่ประกอบกันขึ้นเป็นสารประกอบ จะมีสัดส่วนของมวลที่คงที่แน่นอน ในการรวมกัน เป็นสารประกอบนั้นๆ 5. สารประกอบจะมีจุดหลอมเหลวและมีจุดเดือดคงที่ แต่จุดหลอมเหลวของสารประกอบ จะแตกต่างจากธาตุที่เป็นสารประกอบ
  • 11. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 11 ใบกิจกรรม เรื่อง การแยกน้าด้วยไฟฟ้า คาชี้แจง : ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม แล้วตอบคาถามท้ายกิจกรรม จุดประสงค์ของกิขกรรม: เพื่อสืบค้นและทดลองสมบัติบางประการของธษตุและสารประกอบได้ วัสดุอุปกรณ์ 1. น้าประปา 100 ลบ.ซม. 2. ธูป 1 ดอก 3. ไม้ขีดไฟ 1 กลัก 4. ชุดแยกน้าด้วยไฟฟ้า 1 ชุด 5. กระบะถ่านพร้อมถ่านไฟฉาย 4 ก้อน 1 ชุด 6. หลอดทดลองขนาดเล็ก 2 หลอด 7. กระจกปิดสไลด์ 2 แผ่น 8. ขาตั้งพร้อมที่จับหลอดทดลอง 2 ชุด วิธีการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ใส่น้าประปาลงในถ้วยพลาสติกของชุดแยกน้าด้วยไฟฟ้าจนเต็มปิดฝาครอบที่มีหลอด ทดลองและขั้วไฟฟ้า ดังรูป 2. ใช้นิ้วมือปิดรูระบายอากาศที่ฝากล่องพลาสติก แล้วคว่าถ้วยพลาสติกลงให้น้าในถ้วย พลาสติกไหลเข้าในหลอดทดลองแทนที่อากาศจนเต็มแล้วหงายถ้วยพลาสติกขึ้น 3. ต่อสายไฟฟ้าจากกระบะถ่านไฟฉายขนาด 6 โวลต์ เข้ากับชุดแยกน้าด้วยไฟฟ้าโดยให้ ขั้วบวกและขั้วลบของกระบะถ่านไฟฉายต่อกับขั้วบวกและขั้วลบของชุดแยกน้าด้วยไฟฟ้า สังเกตการ เปลี่ยนแปลงในหลอดทดลองทั้งสองแล้วบันทึกผลที่เกิดขึ้น 4. เมื่อได้แก๊สเต็มหลอดแล้วถอดสายไฟออก ใช้จุกยางปิดปากหลอดทดลองไว้ ทาเครื่องหมายแสดงขั้วไฟฟ้าที่หลอดทดลองทั้งสองว่ามาจากขั้วไฟฟ้าใด 5. ทดสอบการติดไฟของแก๊สในหลอดทดลองทั้งสอง โดยใช้ไม้ขีดไฟที่ลุกเป็นเปลวจ่อ บริเวณปากหลอดทันทีที่เปิดจุกยาง สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง บันทึกผล 6. ทาการทดลองซ้า แต่การทดสอบการติดไฟของแก๊สในหลอดทั้งสอง โดยใช้ธูปที่ติดไฟ เหลือแต่ถ่านแดงหย่อนลงไปในแต่ละหลอดทดลองทันทีที่เปิดจุกยางแทน สังเกตการเปลี่ยนแปลง แล้วบันทึกผลที่เกิดขึ้น
  • 12. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 12 หมายเหตุ ถ้าน้าประปาที่นามาทดสอบไม่นาไฟฟ้าให้ใส่โซเดียมซัลเฟต จานวน 3 ช้อน เบอร์ 2 ลงในน้าแล้วคนด้วยแท่งแก้วคนสารให้โซเดียมซัลเฟตละลายจนหมด ขั้นตอนการแยกน้าด้วยไฟฟ้า บันทึกผลการสังเกต ขั้นตอนการศึกษา ผลการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ หลอดที่ต่อกับขั้วบวก หลอดที่ต่อกับขั้วลบ เมื่อต่อสายไฟฟ้ากับชุดแยกน้าด้วย ไฟฟ้ากับขั้วกระบะถ่านไฟฉาย เมื่อจ่อไม้ขีดไฟที่ลุกเป็นเปลวที่ ปากหลอดทดลอง เมื่อนาธูปที่ติดไฟเหลือแต่ถ่านแดง หย่อนลงในหลอดทดลอง สรุปผล ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................
  • 13. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 13 คาถาม 1. แก๊สที่เกิดในหลอดทดลองทั้งสองเป็นแก๊สชนิดเดียวกันหรือไม่ นักเรียนสามารถทดสอบ ด้วยวิธีการใด ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดการทดสอบการแยกน้าด้วยไฟฟ้าจึงใช้น้าประปาแทนการใช้น้า กลั่นซึ่ง เป็นน้าบริสุทธิ์ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 3. นักเรียนคิดว่าน้ามีส่วนประกอบพื้นฐานอะไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................
  • 14. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 14 ใบงาน เรื่อง ธาตุและสารประกอบ ตอนที่ 1 คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนชื่อธาตุและสัญลักษณ์ของธาตุลงในตาราง ชื่อธาตุ ชื่อภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์ของธาตุ ตะกั่ว ดีบุก Cu Manganese โซเดียม Hydrogen Ca คาร์บอน คลอรีน เงิน Cadmium ซิลิคอน ทองคา ซีลีเนียม O
  • 15. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 15 ตอนที่ 2 คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนสูตรเคมีเพื่อแยกองค์ประกอบของสารประกอบ สารประกอบ สูตรเคมี ธาตุองค์ประกอบ น้า H2O ไฮโดรเจน (H) 2 อะตอม ออกซิเจน (O) 1 อะตอม 1. น้าตาลทราย(น้าตาลซูโครส) ................................................. ................................................. ................................................. 2. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ................................................. ................................................. ................................................. 3. น้าส้มสายชู (กรดแอซิติก) ................................................. ................................................. ................................................. 4. โซดาไฟ(โซเดียมไฮดรอกไซด์) ................................................. ................................................. ................................................. 5. ทราย(ซิลิกอนไดออกไซด์) ................................................. ................................................. .................................................
  • 16. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 16 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง สมบัติธาตุและสารประกอบ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลา 10 นาที คาสั่ง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. สารในข้อใดเป็นสารประกอบ ก. น้า ปรอท ข. เกลือ น้าตาล ค. อากาศ ออกซิเจน ง. ทองเหลือง เงิน 2. การจัดเรียงธาตุในรูปแบบของตารางของเมนเดเลเยฟยึดหลักการจัดเรียงตามข้อใด ก. เรียงจากเลขอะตอมจากน้อยไปหามาก ข. เรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไปหามาก ค. เรียงธาตุตามมวลอะตอมจากมากไปหาน้อย ง. เรียงธาตุตามจานวนอิเล็กตรอนจากมากไปหาน้อย 3. ข้อใดถูกต้อง ก. ในภาวะปกติ ธาตุมีได้ทั้ง 3 สถานะ ข. ธาตุสามารถแยกเป็นองค์ประกอบย่อยได้อีก ค. ธาตุอาจเป็นสารเนื้อเดียวกัน หรือสารเนื้อผสมก็ได้ ง. ธาตุสองชนิดขึ้นไปมาผสมกัน ต้องได้สารประกอบเสมอ 4. สารในข้อใดเป็นสารประกอบทุกสาร ก. ด่างทับทิม ปูนขาว เกลือแกง ข. น้าอัดลม น้าปูนใส น้าตาลทราย ค. แนฟทาลีน เหรียญบาท กามะถัน ง. ทิงเจอร์ไอโอดีน น้าเชื่อม ทองเหลือง 5. ถ้าพิจารณาธาตุในตารางธาตุตามหมู่จากบนลงล่าง สมบัติของธาตุมีความสัมพันธ์กันตามข้อใด ก. มีความเป็นอโลหะมากขึ้น ข. จานวนระดับพลังงานเพิ่มขึ้น ค. จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น ง. ขนาดอะตอมเล็กลงเพราะจานวนประจุเพิ่มขึ้น
  • 17. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 17 6. (NH4)3 PO4 และ Na3Ag (SO3)2 มีจานวนอะตอมแตกต่างกันกี่อะตอม ก. 4 อะตอม ข. 14 อะตอม ค. 8 อะตอม ง. 20 อะตอม 7. ธาตุในข้อใดเป็นโลหะทั้งหมด ก. Li, Al, P ข. Al, B, Zi ค. Na, Mg, C ง. Zn, Ag, Na 8. อนุภาคมูลฐานของธาตุได้แก่ข้อใด ก. โปรตอน นิวตรอน ข. โปรตอน อิเล็กตรอน ค. นิวตรอน อิเล็กตรอน ง. โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน 9. ข้อใดจัดเป็นธาตุทุกสาร ก. เหล็ก อากาศ ทองคา ข. ไฮโดรเจน สารหนู นิเกิล ค. พลวง ปรอท แอลกอฮอล์ ง. กามะถัน ด่างทับทิม ปรอท 10. ธาตุโซเดียม แมกนีเซียม แมงกานีส และดีบุก มีสัญลักษณ์ตามข้อใด เรียงลาดับให้ถูกต้อง ที่สุด ก. S, Mn, Mg, Sn ข. S, Mg, Mn, Sn ค. Na, Mg, Mn, Sn ง. Na, Mn, Mg, Sn
  • 18. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 18 กระดาษคาตอบ แบบทดสอบหลังเรียน ชื่อ - สกุล……………………………………………………………………...….. เลขที่ ………………………... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่………………… วันที่ …………..เดือน …………………………..พ.ศ. ……………… ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนน หลังเรียน เต็ม ได้
  • 19. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 19 สรุปผลการประเมินด้านความรู้ ชื่อ - สกุล……………………………………………………………………...….. เลขที่ ………………………... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่………………… วันที่ …………..เดือน …………………………..พ.ศ. ……………… ประเมินผล ใบงาน หลังเรียน รวม คะแนนเต็ม 10 10 30 คะแนนที่ได้ ร้อยละ
  • 20. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 20 แนวการบันทึกผลกิจกรรม เรื่อง การแยกน้าด้วยไฟฟ้า คาชี้แจง : ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม แล้วตอบคาถามท้ายกิจกรรม วัสดุอุปกรณ์ 1. น้าประปา 100 ลบ.ซม. 2. ธูป 1 ดอก 3. ไม้ขีดไฟ 1 กลัก 4. ชุดแยกน้าด้วยไฟฟ้า 1 ชุด 5. กระบะถ่านพร้อมถ่านไฟฉาย 4 ก้อน 1 ชุด 6. หลอดทดลองขนาดเล็ก 2 หลอด 7. กระจกปิดสไลด์ 2 แผ่น 8. ขาตั้งพร้อมที่จับหลอดทดลอง 2 ชุด วิธีการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ใส่น้าประปาลงในถ้วยพลาสติกของชุดแยกน้าด้วยไฟฟ้าจนเต็มปิดฝาครอบที่มีหลอด ทดลองและขั้วไฟฟ้า ดังรูป 2. ใช้นิ้วมือปิดรูระบายอากาศที่ฝากล่องพลาสติก แล้วคว่าถ้วยพลาสติกลงให้น้าในถ้วย พลาสติกไหลเข้าในหลอดทดลองแทนที่อากาศจนเต็มแล้วหงายถ้วยพลาสติกขึ้น 3. ต่อสายไฟฟ้าจากกระบะถ่านไฟฉายขนาด 6 โวลต์ เข้ากับชุดแยกน้าด้วยไฟฟ้าโดยให้ ขั้วบวกและขั้วลบของกระบะถ่านไฟฉายต่อกับขั้วบวกและขั้วลบของชุดแยกน้าด้วยไฟฟ้า สังเกตการ เปลี่ยนแปลงในหลอดทดลองทั้งสองแล้วบันทึกผลที่เกิดขึ้น 4. เมื่อได้แก๊สเต็มหลอดแล้วถอดสายไฟออก ใช้จุกยางปิดปากหลอดทดลองไว้ ทาเครื่องหมายแสดงขั้วไฟฟ้าที่หลอดทดลองทั้งสองว่ามาจากขั้วไฟฟ้าใด 5. ทดสอบการติดไฟของแก๊สในหลอดทดลองทั้งสอง โดยใช้ไม้ขีดไฟที่ลุกเป็นเปลวจ่อ บริเวณปากหลอดทันทีที่เปิดจุกยาง สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง บันทึกผล 6. ทาการทดลองซ้า แต่การทดสอบการติดไฟของแก๊สในหลอดทั้งสอง โดยใช้ธูปที่ติดไฟ เหลือแต่ถ่านแดงหย่อนลงไปในแต่ละหลอดทดลองทันทีที่เปิดจุกยางแทน สังเกตการเปลี่ยนแปลง แล้วบันทึกผลที่เกิดขึ้น หมายเหตุ ถ้าน้าประปาที่นามาทดสอบไม่นาไฟฟ้าให้ใส่โซเดียมซัลเฟต จานวน 3 ช้อน เบอร์ 2 ลงในน้าแล้วคนด้วยแท่งแก้วคนสารให้โซเดียมซัลเฟตละลายจนหมด
  • 21. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 21 ขั้นตอนการแยกน้าด้วยไฟฟ้า บันทึกผลการสังเกต ขั้นตอนการศึกษา ผลการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ หลอดที่ต่อกับขั้วบวก หลอดที่ต่อกับขั้วลบ เมื่อต่อสายไฟฟ้ากับชุดแยกน้าด้วย ไฟฟ้ากับขั้วกระบะถ่านไฟฉาย เกิดแก๊สช้ากว่า เกิดแก๊สเร็วกว่าประมาณ เท่าตัว เมื่อจ่อไม้ขีดไฟที่ลุกเป็นเปลวที่ ปากหลอดทดลอง เปลวไฟจากก้านไม้ขีดไฟสว่าง ขึ้นจากเดิมเล็กน้อย เกิดไฟลุกที่ปากหลอดทดลอง และมีเสียง เมื่อนาธูปที่ติดไฟเหลือแต่ถ่านแดง หย่อนลงในหลอดทดลอง ธูปเกิดเปลวไฟลุกสว่างขึ้น ไม่มีการเปลี่ยนแปลง สรุปผล ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 1. เมื่อผ่านไฟฟ้ากระแสตรง (จากกระบะถ่ายไฟฉาย) เข้าชุดแยกน้้าด้วยไฟฟ้าที่มี น้้าประปาอยู่เต็มจะมีแก๊สเกิดขึ้นในหลอดทดลองทั้งสองที่ต่ออยู่กับขั้วไฟฟ้า 2. แก๊สที่เกิดขึ้นที่ขั้วไฟฟ้าบวกจะช่วยให้ธูปที่เหลือแต่ถ่านแดงไฟติดได้ ส่วนแก๊สที่เกิดขึ้นที่ ขั้วไฟฟ้าลบจะช่วยให้ติดไฟ เกิดไฟลุกที่ปากหลอดทดลองได้
  • 22. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 22 1. แก๊สที่เกิดในหลอดทดลองทั้งสองเป็นแก๊สชนิดเดียวกันหรือไม่ นักเรียนสามารถทดสอบด้วย วิธีการใด ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดการทดสอบการแยกน้าด้วยไฟฟ้าจึงใช้น้าประปาแทนการใช้น้ากลั่นซึ่ง เป็นน้าบริสุทธิ์ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 3. นักเรียนคิดว่าน้ามีส่วนประกอบพื้นฐานอะไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ แก๊สที่เกิดขึ้นในหลอดทดลองทั้งสองเป็นแก๊สคนละชนิดกัน ทดสอบได้โดยน้าธูปที่ติดไฟ เหลือแต่ถ่านแดงกับน้าไม้ขีดที่มีเปลวไฟไปจ่อทีปากหลอดทดลอง พบว่าจะ ให้ผลการทดสอบ แตกต่างกัน เพราะในน้้าประปาจะมีสารบางชนิดเจือปนท้าให้น้าไฟฟ้าได้ เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าจะ เกิดปฏิกิริยาและให้แก๊สได้ แก๊สที่แตกต่างกัน 2 ชนิด
  • 23. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 23 เฉลย ใบงาน เรื่อง ธาตุและสารประกอบ ตอนที่ 1 คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนชื่อธาตุและสัญลักษณ์ของธาตุลงในตาราง ชื่อธาตุ ชื่อภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์ของธาตุ ตะกั่ว Lead Pb ดีบุก Tin Sn Copper Cu Manganese Mn โซเดียม Sodium Na Hydrogen H Calcium Ca คาร์บอน Carbon C คลอรีน Chlorine Cl เงิน Silver Ag Cadmium Cd ซิลิคอน Silicon Si ทองคา Gold Au ซีลีเนียม Selenium Se Oxygen O
  • 24. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 24 ตอนที่ 2 คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนสูตรเคมีเพื่อแยกองค์ประกอบของสารประกอบ สารประกอบ สูตรเคมี ธาตุองค์ประกอบ น้า H2O ไฮโดรเจน (H) 2 อะตอม ออกซิเจน (O) 1 อะตอม 1. น้าตาลทราย(น้าตาลซูโครส) C2H22O11 คาร์บอน (C) 12 อะตอม ไฮโดรเจน (H) 22 อะตอม ออกซิเจน (O) 11 อะตอม 2. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ CO2 คาร์บอน (C) 1 อะตอม ออกซิเจน (O) 2 อะตอม 3. น้าส้มสายชู (กรดแอซิติก) CH3COOH คาร์บอน (C) 2 อะตอม ไฮโดรเจน (H) 4 อะตอม ออกซิเจน (O) 2 อะตอม 4. โซดาไฟ(โซเดียมไฮดรอกไซด์) NaOH โซเดียม (Na) 1 อะตอม ไฮโดรเจน (H) 1 อะตอม ออกซิเจน (O) 1 อะตอม 5. ทราย(ซิลิกอนไดออกไซด์) SiO2 ซิลิกอน (Si) 1 อะตอม ออกซิเจน (O) 2 อะตอม
  • 27. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 27 แบบสังเกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ / กลุ่มที่ วันที่ เดือน พ.ศ ข้อเสนอแนะ เกณฑ์การให้คะแนน - ถูก 3 รายการ ให้ 3 คะแนน - ผิด 1 รายการ ให้ 2 คะแนน - ผิด 2 รายการ ให้ 1 คะแนน - ผิด 3 รายการ ให้ 0 คะแนน เกณฑ์การสรุปผล: ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 นักเรียนต้องได้คะแนนขั้นต่า 12 คะแนนขึ้นไป สรุปผลสังเกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อยู่ในระดับคุณภาพ  ผ่าน  ไม่ผ่าน ลงชื่อ ผู้ประเมิน ( ) ที่ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ระดับพฤติกรรม คะแนน ที่ได้ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0) 1. ทักษะการสังเกต 2. ทักษะการตั้งสมมุติฐาน 3. ทักษะการทดลอง 4. ทักษะการตีความข้อมูลและลงข้อสรุป 5. ทักษะการสื่อความหมาย
  • 28. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 28 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชื่อ นามสกุล เลขที่ ผู้ประเมิน ตนเอง เพื่อน ครู ผู้รับการประเมิน/กลุ่ม ระดับชั้น/ห้อง ประเมินครั้งที่ วันที่ เดือน พ.ศ. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ข้อเสนอแนะ เกณฑ์การให้คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจน และสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน - ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน เกณฑ์การสรุปผล : ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 นักเรียนต้องได้คะแนนขั้นต่า 12 คะแนนขึ้นไป ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยู่ในระดับคุณภาพ  ดีเยี่ยม  ดี  ผ่าน  ไม่ผ่าน สรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยู่ในระดับคุณภาพ  ผ่าน  ไม่ผ่าน ลงชื่อ ผู้ประเมิน ( ) ที่ คุณลักษณะ/พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับพฤติกรรม คะแนน ที่ได้ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0) 1. ซื่อสัตย์-สุจริต 2. มีวินัย 3. ใฝ่เรียนรู้ 4. มุ่งมั่นในการทางาน 5. มีจิตสาธารณะ
  • 29. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 29 แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ชื่อ-สกุล . เลขที่ คาชี้แจง : ให้ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคุณภาพ สมรรถนะด้าน ข้อประเมิน ระดับคุณภาพ สรุปผล การ ประเมิน ดีมาก (3) ดี (2) พอใช้ (1) ปรับปรุง (0) 1.ความสามารถ ในการสื่อสาร 1.1 มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร  ดีเยี่ยม  ดี  ผ่าน  ไม่ผ่าน 1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด-เข้าใจ โดยใช้ภาษาที่เหมาะสม 1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ 1.4 เจรจาต่อรอง เพื่อขจัดและลดปัญหา ความขัดแย้งต่าง ๆ ได้ 1.5 เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วย เหตุผลและถูกต้อง 2.ความสามารถ ในการคิด 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์  ดีเยี่ยม  ดี  ผ่าน  ไม่ผ่าน 2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่าง สร้างสรรค์ 2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 2.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้ อย่างเหมาะสม 3.ความสามารถ ในการแก้ปัญหา 3.1 สามารถแก้ปัญหา และอุปสรรค ต่าง ๆ ที่เผชิญได้  ดีเยี่ยม  ดี  ผ่าน  ไม่ผ่าน 3.2 ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา 3.3 เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงในสังคม 3.4 แสวงหาความรู้ ประยุกต์ควมรู้มาใช้ใน การป้องกันและแก้ไขปัญหา 3.5 สามารถตัดสินใจได้เหมาะสมตามวัย
  • 30. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 30 สมรรถนะด้าน ข้อประเมิน ระดับคุณภาพ สรุปผล การ ประเมิน ดีมาก (3) ดี (2) พอใช้ (1) ปรับปรุง (0) 4.ความสามารถ ในการใช้ทักษะ ชีวิต 4.1 เรียนรู้ด้วยตนเองได้เหมาะสมตามวัย  ดีเยี่ยม  ดี  ผ่าน  ไม่ผ่าน 4.2 สามารถทางานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้ 4.3 นาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจาวัน 4.4 จัดการปัญหาและความขัดแย้งได้ เหมาะสม 4.5 หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ ส่งผลกระทบต่อตนเอง 5.ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี 5.1 เลือกและใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสมตามวัย  ดีเยี่ยม  ดี  ผ่าน  ไม่ผ่าน 5.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี 5.3 สามารถนาเทคโนโลยีไปใช้พัฒนาตนเอง 5.4 ใช้เทคโนโลยีในการแก้ปัญหาอย่าง สร้างสรรค์ 5.5 มีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้ เทคโนโลยี ข้อเสนอแนะ เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจน และสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจน และบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน - ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน เกณฑ์การสรุปผล : ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ต้องมีคะแนนขั้นต่า 20 คะแนนขึ้นไป ผลการประเมินสมรรถนะ 5 ด้าน อยู่ในระดับคุณภาพ  ดีเยี่ยม  ดี  ผ่าน  ไม่ผ่าน สรุปผลการประเมินสมรรถนะ 5 ด้าน อยู่ในระดับคุณภาพ  ผ่าน  ไม่ผ่าน ลงชื่อ ผู้ประเมิน ( )
  • 31. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 31 บรรณานุกรม บัญชา แสนทวี และคณะ. แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ วัฒนาพานิช จากัด, 2554. พัชรินทร์ แสนพลเมือง. แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์ จากัด, 2552. สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.). คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ บริษัทพัฒนา คุณภาพวิชาการ จากัด, 2554. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553. ________. คู่มือครู รายวิชาวิทยาศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554. สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา ทักษะการคิด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด, 2553. ธาตุและสารประกอบ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.nakhamwit.ac.th/pingpong_web/ Element&Compounds.htm. 15 มกราคม 2557. ________ . (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.myfirstbrain.com/student_ view.aspx?ID=73971. 15 มกราคม 2557.