SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
การสรางอินโฟกราฟก 360 องศา
CREATING INFOGRAPHIC 360 DEGREE
กฤษณพงศ เลิศบำรุงชัย
TouchPoint.in.th
facebook.com/TouchPoint.in.th
รู้จักกับอินโฟกราฟิก 1
ขั้นตอนการทาอินโฟกราฟิก 1
เข้าใจการทาภาพ 360 องศา 4
อินโฟกราฟิก 360 องศา 6
การเรียงภาพและจุดเชื่อมต่อภาพ 360 องศา ทรงลูกบาศก์ 6
การเรียงภาพและจุดเชื่อมต่อภาพ 360 องศา ทรงกลม 6
สิ่งที่ต้องเตรียมในการทาอินโฟกราฟิก 360 องศา 7
กระบวนการทาอินโฟกราฟิก 360 องศา ทรงลูกบาศก์ 8
กระบวนการทาอินโฟกราฟิก 360 องศา ทรงกลม 21
1
สารสนเทศ (Information) หมายถึง การแปลงข้อมูล ไม่ว่าจะเป็น
ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ความรู้ ข้อเท็จจริง และสถิติ มาผ่านกระบวนการ
วิเคราะห์และสรุปข้อมูล ให้สามารถเข้าใจได้ง่าย แต่ยังคงความครบถ้วนของ
องค์ความรู้
กราฟิก (Graphic) หมายถึง การสื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ และ
การ์ตูน เป็นต้น เพื่อให้สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ
อินโฟกราฟิก (Infographic) ประกอบด้วยคาว่าสารสนเทศ และกราฟิก หมายถึง การนาข้อมูลมาจัดให้อยู่ใน
รูปแบบของสารสนเทศ และแปลงสารสนเทศนั้นให้เป็นภาพ อาจนาเสนอในรูปแบบ รูปร่าง ภาพไอคอน ภาพการ์ตูน แผนภูมิ
หรือไดอะแกรม เป็นต้น ทาให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจ ดึงดูดความสนใจได้มากกว่า ประหยัดเวลาในการศึกษาข้อมูล ช่วย
ให้จดจาข้อมูลได้ดีกว่า ดูเป็นมืออาชีพ น่าเชื่อถือ และนาไปเผยแพร่ได้ง่าย ทาให้อินโฟกราฟิกได้รับความนิยมสูงสาหรับการ
นามาใช้นาเสนอข้อมูล
ขั้นตอนการทาอินโฟกราฟิก จะต้องเข้าใจตั้งแต่กระบวนการคิดคอนเทนต์ โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. กาหนดประเด็น
2. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
3. คัดเลือกสาระสาคัญ
4. จัดหมวดหมู่
5. สร้างไอเดียการเล่าเรื่อง
6. วางเลย์เอาท์
7. หาภาพประกอบ
8. ทาให้สวยงาม
9. เผยแพร่ผลงาน
2
Who >> กลุ่มผู้อ่านเป็นใคร
What >> ทาเรื่องเกี่ยวกับอะไร
Why >> วัตถุประสงค์ของการทา
Where >> เหตุการณ์ของสิ่งที่ทาอยู่ที่ไหน
When >> ทาเมื่อไหร่ เสร็จเมื่อไหร่
How >> ทาอย่างไร ใช้เครื่องมืออะไร
เมื่อได้เรื่องที่จะทาแล้ว จะต้องรวบรวมข้อมูลและ
ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นทุกอย่างให้ละเอียด ไม่ว่าจะเป็นข้อความ
หรือข้อมูลทางสถิติ
คัดแยกข้อมูลที่สาคัญและจาเป็นต้องใช้ โดย
พิจารณาจาก อะไรที่คนอยากรู้หรือไม่อยากรู้ จดหรือไฮท์ไลท์
ประโยคหรือคาที่เราอ่านแล้วรู้สึก Wow แล้วลองถามเพื่อนว่า
Wow เหมือนเราหรือไม่
การจัดหมวดหมู่ เป็นการนาข้อมูลที่กระจายมาจัดเป็นกลุ่ม เช่น ความหมาย สาเหตุ วิธีแก้ไข เทคนิค เป็นต้น ทา
ให้ผู้อ่านเห็นสัดส่วนของข้อมูลได้อย่างชัดเจน
การสร้างอินโฟกราฟิกให้ปัง ควรตั้งชื่อเรื่องให้กระชับ น่าฟัง ชวนอ่าน และ
ควรนาเสนอเป็นภาพด้วยการเล่าเรื่อง เพื่อความไม่น่าเบื่อจากการเล่าตรงๆ คิดถึงการ
เชื่อมโยงระหว่างข้อมูลกับรูปภาพให้ได้ จะได้รู้ว่าควรใช้ภาพแบบใดในการเล่าเรื่อง
3
แบ่งสัดส่วนข้อมูล ภาพประกอบ และที่สาคัญต้องคานึงถึงพื้นที่ว่างด้วย เพราะพื้นที่ว่างจะช่วยให้รู้สึกสบายตา
และช่วยให้ผู้อ่านโฟกัสข้อมูลสาคัญได้ง่ายมากขึ้น
ภาพประกอบมีความสาคัญมาก ภาพ 1 ภาพ ใช้แทนคาพูดได้มาก ต้องเป็นภาพที่สัมพันธ์กับข้อมูล รวมถึง
ไอคอนต่างๆ ด้วย เว็บภาพประกอบฟรี freepik.com และ flaticon.com แต่วาดเองจะดีกว่า
4
ความสวยงามขึ้นอยู่กับ เลยเอาท์ | รูปภาพประกอบ | โทนสี | ฟอนต์ | ที่ว่าง
โปรแกรมที่ใช้ เช่น Adobe Photoshop | Adobe Illustrator
นา Infographic ที่สมบูรณ์เผยแพร่สู่โลกออนไลน์ เช่น Website | Facebook พร้อมแคปชั่นที่น่าดึงดูด ติด TAG
หรือ HASHTAG # เพื่อให้ Search Engine หาเจอได้ง่าย หากเผยแพร่บนเว็บไซต์จะดีกว่า เพราะสามารถทา SEO ได้ด้วย
ทาให้มีโอกาสติดหน้าแรก Google มีมากกว่า
ภาพ 360 องศา มีลักษณะการทาอยู่ 2 แบบ ได้แก่
1. ทรงลูกบาศก์ (Cubic Image)
2. ทรงกลม (Spherical Image)
5
เป็นรูปภาพที่มีด้านยาว (แนวนอน) 360 องศา และด้านกว้าง (แนวตั้ง) 180 องศาเหมือนรูปภาพแบบทรงกลม
(Spherical Image) แต่มุมมองภาพเหมือนกับมองจากด้านในกล่องลูกบาศก์ ซึ่งมีทั้ง 6 ด้าน
เป็นรูปภาพที่มีด้านยาว (แนวนอน) 360 องศา และด้านกว้าง (แนวตั้ง) 180
องศา ลักษณะการมองเหมือนอยู่ในทรงกลม เมื่อคลี่ออกจะเรียกว่า Equirectangular และมี
อัตราส่วนด้านยาว : ด้านกว้าง เป็น 2 : 1 เสมอ
6
ในปัจจุบันการทาภาพโดยใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual
Reality) เข้ามามีบทบาทในการสร้างประสบการณ์การรับชมสื่อเป็นอย่าง
มาก เป็นการจาลองภาพเสมือนว่าเราไปอยู่ในสภาพแวดล้อมนั้น ซึ่งปกติ
มักจะใช้กับภาพถ่าย หรือภาพสามมิติ แต่ก็สามารถนาภาพกราฟิกมา
จัดทาในลักษณะนี้ได้เช่นเดียวกัน เมื่อนาภาพอินโฟกราฟิก 360 องศา ไป
โพสต์ใน Facebook จะเล่นเป็นภาพ 360 องศา ได้ทันที
รับชมที่ >> bit.ly/computer360
การทาอินโฟกราฟิก 360 องศา โดยใช้
วิธีการทาภาพแบบลูกบาศก์ (Cubic Image) เป็น
การคลี่ภาพให้แบน เสมือนการออกแบบกราฟิก
ตามปกติ จึงไม่ต้องคานึงถึงการบิดเบี้ยวของภาพ
ดังนั้นจะต้องเข้าใจการจัดเรียงภาพและจุดเชื่อมต่อ
ภาพ 360 องศา โดยจะเริ่มเรียงจากภาพที่ 0 ไป 5
ดังภาพ
การทาอินโฟกราฟิก 360 องศา โดยใช้วิธีการทาภาพแบบทรงกลม (Spherical Image) ไม่ต้องสนใจการใช้งาน
อาร์ตบอร์ด แต่ต้องแบ่งสัดส่วนของบริเวณภาพให้เท่าๆ กัน ผลลัพธ์จะได้มุมมองเสมือนอยู่ในทรงกลม ทาให้วัตถุมีความ
บิดเบี้ยวตามความโค้ง โดยเฉพาะบริเวณ 4 กับ 5 ทาให้การออกแบบงานอินโฟกราฟิก 360 องศา จะทาได้ในบริเวณ 0 1
2 และ 3 เท่านั้น โดยบริเวณ 0 จะเป็นบริเวณเริ่มต้นของมุมมองภาพ ส่วนบริเวณ 2 ต้องคานึงถึงการเชื่อมต่อภาพให้ดี
7
การทาอินโฟกราฟิก 360 องศา จะต้องมีความรู้และทักษะการใช้งานโปรแกรมออกแบบกราฟิกมากพอสมควร
โดยมีสิ่งที่ต้องเตรียม ดังนี้
1. คอมพิวเตอร์ แนะนาเป็น Windows 10 แบบ 64 บิต
2. โปรแกรม Adobe Illustrator สาหรับทาภาพกราฟิก
3. โปรแกรม Adobe Photoshop สาหรับสร้างการหมุนภาพ 360 องศา
4. โปรแกรม Pano2QTVR GUI สาหรับการแปลงจาก Cubic Image เป็น Equirectangular
หมายเหตุ
ที่แนะนาให้ใช้ Windows เนื่องจากโปรแกรม Pano2QTVR GUI เป็นโปรแกรมฟรีที่สามารถติดตั้งได้ในระบบปฏิบัติการ Windows เท่านั้น
Adobe Illustrator สามารถใช้เวอร์ชั่นใดก็ได้
Adobe Photoshop ต้องใช้ CC 2018 ขึ้นไป เนื่องจากเวอร์ชั่นก่อนหน้าลงไปจะไม่มีคาสั่งในการทา Spherical
8
กระบวนการทาอินโฟกราฟิก 360 องศา ทรงลูกบาศก์ มี 4 ขั้นตอนหลักๆ ดังนี้
1. ออกแบบกราฟิก โดยใช้โปรแกรม Adobe Illustrator CC 2018 ขึ้นไป
2. รวมและแปลงภาพจาก Cubic Image เป็น Equirectangular โดยใช้โปรแกรม Pano2QTVR GUI
3. หมุนภาพและรีทัชภาพด้วย Adobe Photoshop CC 2018 ขึ้นไป
4. เผยแพร่ผลงานในแพลตฟอร์มที่รองรับการแสดงผล 360 องศา
การใช้ Adobe Illustrator ทาอินโฟกราฟิก 360 องศา ทรงลูกบาศก์ นอกจากเข้าใจการจัดเรียงภาพแล้ว ต้อง
เข้าใจวิธีการใช้งาน Artboard การจัดเรียงและการตั้งชื่ออาร์ตบอร์ด หากไม่จัดเรียงตามคู่มือจะไม่สามารถเรียงเป็นภาพ
Equirectangular ได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. เปิดโปรแกรม Adobe Illustrator แล้วคลิก Create New
2. สร้างไฟล์ขนาดเท่าไรก็ได้ แต่ต้องเป็นสี่เหลี่ยมจตุรัส
3. กาหนด Advanced Options โดยใช้โหมดสี RGB และ Resolution 72 PPI
4. คลิก Create
9
ทรงลูกบาศก์ประกอบด้วยสี่เหลี่ยมจตุรัสทั้งหมด 6 ด้าน ดังนั้นจะต้องสร้างอาร์ตบอร์ดทั้งหมด 6 อาร์ตบอร์ด
จัดเรียงและตั้งชื่ออาร์ตบอร์ดให้ถูกต้อง โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่พาเนล Artboards
2. คลิก Create New Artboard รวมทั้งสิ้น 6 อาร์ตบอร์ด
3. ดับเบิ้ลคลิกที่อาร์ตบอร์ด แล้วตั้งชื่อเป็นหมายเลข 0-5
4. คลิกที่ Dropdown
5. คลิก Rearrange All Artboards
6. กาหนดคาสั่งต่างๆ ดังนี้
Layout >> กาหนดเป็นเรียงจากซ้ายไปขวา 1 แถว
Layout Order >> กาหนดเป็นจากซ้ายไปขวา
Spacing >> กาหนดเป็น 0
Move Artwork with Artboard >> กาหนดให้อาร์ตเวิร์คย้ายไปตามอาร์ตบอร์ด
7. คลิก OK
10
8. จะได้อาร์ตบอร์ดทั้ง 6 อาร์ตบอร์ดเรียงติดกันจากซ้ายไปขวา
9. คลิกที่เครื่องมือ Artboard
10. ลากอาร์ตบอร์ดชื่อ 4 กับ 5 ไว้ด้านบนและด้านล่างของอาร์ตบอร์ดชื่อ 1
11
เส้นกริด (Grid) มีประโยชน์ในการออกแบบงานอินโฟกราฟิกมาก ทาให้สามารถจัดวางวัตถุได้ตามตาแหน่งที่
ต้องการมากขึ้น โดยไปที่ View > Show Grid
เส้นกริดที่โปรแกรมกาหนดมาให้ อาจมีระยะห่างระหว่างกริดไม่ตรงกับความต้องการในการใช้งาน สามารถปรับ
ได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่ Edit > Preferences > Guides and Grid
2. กาหนด Guideline every ตามที่เราต้องการ
3. คลิก OK
12
ไม้บรรทัดจะแสดงอยู่บนพื้นที่การทางาน ซึ่งจะอานวยความสะดวกในเรื่องการวัดความยาวและความสูง และ
สามารถลากเส้นไกด์ออกมาจากไม้บรรทัด เพื่ออานวยความสะดวกในการจัดการกับวัตถุ โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่ View > Rulers > Show Rulers
2. ลากเส้นไกด์ออกมาจากไม้บรรทัด หากต้องการย้ายตาแหน่งให้ใช้ Selection Tool
13
การสร้างอินโฟกราฟิก 360 องศา หลักๆ จะแบ่งเลเยอร์ออกเป็น 2 เลเยอร์ ได้แก่ เลเยอร์พื้นหลัง
(Background) และเลเยอร์เนื้อหา (Content) โดยการใช้งานเลเยอร์มีดังนี้
1. ไปที่พาเนล Layers
2. คลิก Create New Layer
3. ดับเบิ้ลคลิกที่เลเยอร์ แล้วตั้งชื่อเลเยอร์ตามต้องการ และจัดเรียงเลเยอร์พื้นหลังอยู่ล่างสุด
เมื่อวางโครงสร้างของงานอินโฟกราฟิก 360 องศา ทรงลูกบาศก์แล้ว สามารถจัดวางเนื้อหาและองค์ประกอบ
ต่างๆ ตามความต้องการ ตามการเรียงภาพและจุดเชื่อมต่อภาพ 360 องศาในหน้า 6
14
การบันทึกไฟล์งานไว้แก้ไข ให้ไปที่ File > Save As ส่วนการบันทึกไฟล์สาหรับไปใช้งานต่อ จะบันทึกไฟล์เป็น JPG
โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่ Export > Export As
2. เลือกที่จัดเก็บไฟล์
3. กาหนดชื่อไฟล์
4. กาหนดรูปแบบไฟล์เป็น JPG
5. เลือกคาสั่ง Use Artboards
6. คลิก Export
7. กาหนดรายละเอียดดังนี้
Color Mode >> กาหนดเป็น RGB
Quality >> กาหนดเป็น 10
Resolution >> กาหนดตามต้องการ
8. คลิก OK
15
9. จะได้ไฟล์ JPG เป็นชื่อไฟล์ที่บันทึก และจะมี _0 ถึง _5 หลังชื่อไฟล์ตามลาดับอาร์ตบอร์ด ห้ามเรียงผิดโดย
เด็ดขาด
เมื่อได้รูปภาพในลักาณะของลูกบาศก์ทั้ง 6 ด้านแล้ว จะนา Cubic Image มาแปลงและต่อกันในรูปแบบ
Equirectangular โดยใช้โปรแกรม Pano2QTVR GUI ดาวน์โหลดได้จาก ggnome.com/pano2qtvr โดยมีขั้นตอนการทา
ดังนี้
1. เปิดโปรแกรม Pano2QTVR GUI แล้วคลิก Create a New Project
2. เลือกที่เก็บไฟล์
3. กาหนดชื่อไฟล์
4. คลิก Save
16
5. ที่คาสั่ง Project Type เลือก Cubic
6. ที่คาสั่ง Cube face base name คลิก Browse
7. เลือกรูปภาพแรกที่มีชื่อไฟล์ ตามด้วย _0
8. คลิก Open
9. คลิก Convert to Equirectangular
10. กาหนดชื่อไฟล์ Equirectangular อย่าลืมพิมพ์ .jpg ต่อท้ายชื่อไฟล์
11. คลิก OK แล้วรอสักครู่
17
12. จะได้ไฟล์ Equirectangular
ภาพ Equirectangular ที่ได้จากโปรแกรม Pano2QTVR GUI นั้น ยังไม่มี Metadata ที่เป็นแบบ 360 องศา หาก
นาไปอัพโหลดใน Facebook ภาพจะไม่สามารถหมุนได้ ดังนั้นจึงใช้ Adobe Photoshop CC 2018 ขึ้นไป ในการฝัง
Metadata และรีทัชในส่วนที่บกพร่อง โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. เปิดโปรแกรม Adobe Photoshop แล้วไปที่ 3D > Spherical Panorama > Import Panorama
18
2. เลือกไฟล์ Equirectangular
3. คลิก Open
4. กาหนดขนาดพื้นที่ในการดูไฟล์ตามต้องการ (ไม่มีผลต่อความละเอียดของไฟล์)
5. คลิก OK
6. หากต้องการเปิดพื้นที่การทางาน 3D คลิก Yes หากไม่ต้องการคลิก No
7. รีทัชในส่วนที่เป็นรอยต่อระหว่างภาพด้วยเครื่องมือที่ถนัด
19
8. ไปที่ 3D > Spherical Panorama > Export Panorama
9. เลือกที่เก็บไฟล์
10. กาหนดชื่อไฟล์
11. เลือกรูปแบบไฟล์เป็น JPG
12. คลิก Save
Facebook เป็นสื่อสังคมออนไลน์ที่มีลูกเล่นมากมาย และรองรับการโพสต์รูปภาพ 360 องศา วิธีการอัพโหลด
เหมือนการอัพโหลดรูปภาพทั่วไป แต่ต้องเป็นรูปภาพอินโฟกราฟิก 360 องศาที่ผ่านการ Export จาก Adobe Photoshop
CC 2018 ขึ้นไป สังเกตว่าจะมีสัญลักษณ์ ปรากฏที่รูปภาพขณะอัพโหลด
20
เมื่ออัพโหลดเสร็จแล้ว จะแสดงผลแบบ 360 องศาทันที หากใช้คอมพิวเตอร์ สามารถใช้เมาส์คลิกเพื่อรับชม
มุมมอง 360 องศา หากใช้สมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต สามารถใช้นิ้วแตะหรือใช้การหมุนสมาร์ทโฟน เพื่อรับชมมุมมอง 360
องศา
21
กระบวนการทาอินโฟกราฟิก 360 องศา ทรงกลม มี 3 ขั้นตอนหลักๆ ดังนี้
1. ออกแบบกราฟิก โดยใช้โปรแกรม Adobe Illustrator CC 2018 ขึ้นไป
2. หมุนภาพและรีทัชภาพด้วย Adobe Photoshop CC 2018 ขึ้นไป
3. เผยแพร่ผลงานในแพลตฟอร์มที่รองรับการแสดงผล 360 องศา
การใช้ Adobe Illustrator ทาอินโฟกราฟิก 360 องศา ทรงกลม สามารถเปิดไฟล์ใหม่ที่มีอัตราส่ววน 2 : 1
หรือที่เรียกว่าภาพ Equirectangular แล้วออกแบบงานได้ทันที แต่ผลลัพธ์ที่ได้ ภาพจะมีลักษณะบิดเบี้ยวเสมือนอยู่ในทรง
กลม จึงไม่ค่อยได้รับความนิยมในงานกราฟิก สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. เปิดโปรแกรม Adobe Illustrator แล้วคลิก Create New
2. สร้างไฟล์ขนาดเท่าไรก็ได้ แต่ต้องเป็นอัตราส่วน 2 : 1
3. กาหนด Advanced Options โดยใช้โหมดสี RGB และ Resolution 72 PPI
4. คลิก Create
22
5. จะได้ไฟล์อัตราส่วน 2 : 1 ให้แบ่งบริเวณการวางวัตถุด้วยเส้นกริดและไกด์ (รายละเอียดตามหน้า 6-7)
6. แบ่งเลเยอร์ออกเป็น 2 เลเยอร์ ได้แก่ เลเยอร์พื้นหลัง และเลเยอร์เนื้อหา (รายละเอียดตามหน้า 13)
7. จัดองค์ประกอบของงานอินโฟกราฟิก 360 องศา ในบริเวณที่เหมาะสม
23
การบันทึกไฟล์งานไว้แก้ไข ให้ไปที่ File > Save As ส่วนการบันทึกไฟล์สาหรับไปใช้งานต่อ จะบันทึกไฟล์เป็น JPG
โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่ Export > Export As
2. เลือกที่จัดเก็บไฟล์
3. กาหนดชื่อไฟล์
4. กาหนดรูปแบบไฟล์เป็น JPG
5. เลือกคาสั่ง Use Artboards
6. คลิก Export
7. กาหนดรายละเอียดดังนี้
Color Mode >> กาหนดเป็น RGB
Quality >> กาหนดเป็น 10
Resolution >> กาหนดตามต้องการ
8. คลิก OK
24
9. จะได้ไฟล์ JPG เป็น Equirectangular
ภาพ Equirectangular ที่ได้จากโปรแกรม Adobe Illustrator นั้น ยังไม่มี Metadata ที่เป็นแบบ 360 องศา หาก
นาไปอัพโหลดใน Facebook ภาพจะไม่สามารถหมุนได้ ดังนั้นจึงใช้ Adobe Photoshop CC 2018 ขึ้นไป ในการฝัง
Metadata และรีทัชในส่วนที่บกพร่อง โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. เปิดโปรแกรม Adobe Photoshop แล้วไปที่ 3D > Spherical Panorama > Import Panorama
25
2. เลือกไฟล์ Equirectangular
3. คลิก Open
4. กาหนดขนาดพื้นที่ในการดูไฟล์ตามต้องการ (ไม่มีผลต่อความละเอียดของไฟล์)
5. คลิก OK
6. หากต้องการเปิดพื้นที่การทางาน 3D คลิก Yes หากไม่ต้องการคลิก No
7. รีทัชในส่วนที่เป็นรอยต่อระหว่างภาพด้วยเครื่องมือที่ถนัด
26
8. ไปที่ 3D > Spherical Panorama > Export Panorama
9. เลือกที่เก็บไฟล์
10. กาหนดชื่อไฟล์
11. เลือกรูปแบบไฟล์เป็น JPG
12. คลิก Save
การอัพโหลดอินโฟกราฟิก 360 องศา ทรงกลมบน Facebook มีวิธีการเช่นเดียวกับทรงลูกบาศก์ทุกประการ
แต่ต้องเป็นรูปภาพอินโฟกราฟิก 360 องศาที่ผ่านการ Export จาก Adobe Photoshop CC 2018 ขึ้นไป สังเกตว่าจะมี
สัญลักษณ์ ปรากฏที่รูปภาพขณะอัพโหลด แต่ผลลัพธ์จะเสมือนอยู่ในทรงกลม ทาให้ภาพมีความบิดเบี้ยว และมีความ
ซับซ้อนในการออกแบบเนื้อหาในบริเวณส่วนบนและส่วนล่างของทรงกลม
การสร้างอินโฟกราฟิก 360 องศา (Creating Infographic 360 Degree)
การสร้างอินโฟกราฟิก 360 องศา (Creating Infographic 360 Degree)

More Related Content

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (20)

การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 

การสร้างอินโฟกราฟิก 360 องศา (Creating Infographic 360 Degree)

  • 1. การสรางอินโฟกราฟก 360 องศา CREATING INFOGRAPHIC 360 DEGREE กฤษณพงศ เลิศบำรุงชัย TouchPoint.in.th facebook.com/TouchPoint.in.th
  • 2.
  • 3. รู้จักกับอินโฟกราฟิก 1 ขั้นตอนการทาอินโฟกราฟิก 1 เข้าใจการทาภาพ 360 องศา 4 อินโฟกราฟิก 360 องศา 6 การเรียงภาพและจุดเชื่อมต่อภาพ 360 องศา ทรงลูกบาศก์ 6 การเรียงภาพและจุดเชื่อมต่อภาพ 360 องศา ทรงกลม 6 สิ่งที่ต้องเตรียมในการทาอินโฟกราฟิก 360 องศา 7 กระบวนการทาอินโฟกราฟิก 360 องศา ทรงลูกบาศก์ 8 กระบวนการทาอินโฟกราฟิก 360 องศา ทรงกลม 21
  • 4.
  • 5. 1 สารสนเทศ (Information) หมายถึง การแปลงข้อมูล ไม่ว่าจะเป็น ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ความรู้ ข้อเท็จจริง และสถิติ มาผ่านกระบวนการ วิเคราะห์และสรุปข้อมูล ให้สามารถเข้าใจได้ง่าย แต่ยังคงความครบถ้วนของ องค์ความรู้ กราฟิก (Graphic) หมายถึง การสื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ และ การ์ตูน เป็นต้น เพื่อให้สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ อินโฟกราฟิก (Infographic) ประกอบด้วยคาว่าสารสนเทศ และกราฟิก หมายถึง การนาข้อมูลมาจัดให้อยู่ใน รูปแบบของสารสนเทศ และแปลงสารสนเทศนั้นให้เป็นภาพ อาจนาเสนอในรูปแบบ รูปร่าง ภาพไอคอน ภาพการ์ตูน แผนภูมิ หรือไดอะแกรม เป็นต้น ทาให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจ ดึงดูดความสนใจได้มากกว่า ประหยัดเวลาในการศึกษาข้อมูล ช่วย ให้จดจาข้อมูลได้ดีกว่า ดูเป็นมืออาชีพ น่าเชื่อถือ และนาไปเผยแพร่ได้ง่าย ทาให้อินโฟกราฟิกได้รับความนิยมสูงสาหรับการ นามาใช้นาเสนอข้อมูล ขั้นตอนการทาอินโฟกราฟิก จะต้องเข้าใจตั้งแต่กระบวนการคิดคอนเทนต์ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. กาหนดประเด็น 2. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 3. คัดเลือกสาระสาคัญ 4. จัดหมวดหมู่ 5. สร้างไอเดียการเล่าเรื่อง 6. วางเลย์เอาท์ 7. หาภาพประกอบ 8. ทาให้สวยงาม 9. เผยแพร่ผลงาน
  • 6. 2 Who >> กลุ่มผู้อ่านเป็นใคร What >> ทาเรื่องเกี่ยวกับอะไร Why >> วัตถุประสงค์ของการทา Where >> เหตุการณ์ของสิ่งที่ทาอยู่ที่ไหน When >> ทาเมื่อไหร่ เสร็จเมื่อไหร่ How >> ทาอย่างไร ใช้เครื่องมืออะไร เมื่อได้เรื่องที่จะทาแล้ว จะต้องรวบรวมข้อมูลและ ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นทุกอย่างให้ละเอียด ไม่ว่าจะเป็นข้อความ หรือข้อมูลทางสถิติ คัดแยกข้อมูลที่สาคัญและจาเป็นต้องใช้ โดย พิจารณาจาก อะไรที่คนอยากรู้หรือไม่อยากรู้ จดหรือไฮท์ไลท์ ประโยคหรือคาที่เราอ่านแล้วรู้สึก Wow แล้วลองถามเพื่อนว่า Wow เหมือนเราหรือไม่ การจัดหมวดหมู่ เป็นการนาข้อมูลที่กระจายมาจัดเป็นกลุ่ม เช่น ความหมาย สาเหตุ วิธีแก้ไข เทคนิค เป็นต้น ทา ให้ผู้อ่านเห็นสัดส่วนของข้อมูลได้อย่างชัดเจน การสร้างอินโฟกราฟิกให้ปัง ควรตั้งชื่อเรื่องให้กระชับ น่าฟัง ชวนอ่าน และ ควรนาเสนอเป็นภาพด้วยการเล่าเรื่อง เพื่อความไม่น่าเบื่อจากการเล่าตรงๆ คิดถึงการ เชื่อมโยงระหว่างข้อมูลกับรูปภาพให้ได้ จะได้รู้ว่าควรใช้ภาพแบบใดในการเล่าเรื่อง
  • 7. 3 แบ่งสัดส่วนข้อมูล ภาพประกอบ และที่สาคัญต้องคานึงถึงพื้นที่ว่างด้วย เพราะพื้นที่ว่างจะช่วยให้รู้สึกสบายตา และช่วยให้ผู้อ่านโฟกัสข้อมูลสาคัญได้ง่ายมากขึ้น ภาพประกอบมีความสาคัญมาก ภาพ 1 ภาพ ใช้แทนคาพูดได้มาก ต้องเป็นภาพที่สัมพันธ์กับข้อมูล รวมถึง ไอคอนต่างๆ ด้วย เว็บภาพประกอบฟรี freepik.com และ flaticon.com แต่วาดเองจะดีกว่า
  • 8. 4 ความสวยงามขึ้นอยู่กับ เลยเอาท์ | รูปภาพประกอบ | โทนสี | ฟอนต์ | ที่ว่าง โปรแกรมที่ใช้ เช่น Adobe Photoshop | Adobe Illustrator นา Infographic ที่สมบูรณ์เผยแพร่สู่โลกออนไลน์ เช่น Website | Facebook พร้อมแคปชั่นที่น่าดึงดูด ติด TAG หรือ HASHTAG # เพื่อให้ Search Engine หาเจอได้ง่าย หากเผยแพร่บนเว็บไซต์จะดีกว่า เพราะสามารถทา SEO ได้ด้วย ทาให้มีโอกาสติดหน้าแรก Google มีมากกว่า ภาพ 360 องศา มีลักษณะการทาอยู่ 2 แบบ ได้แก่ 1. ทรงลูกบาศก์ (Cubic Image) 2. ทรงกลม (Spherical Image)
  • 9. 5 เป็นรูปภาพที่มีด้านยาว (แนวนอน) 360 องศา และด้านกว้าง (แนวตั้ง) 180 องศาเหมือนรูปภาพแบบทรงกลม (Spherical Image) แต่มุมมองภาพเหมือนกับมองจากด้านในกล่องลูกบาศก์ ซึ่งมีทั้ง 6 ด้าน เป็นรูปภาพที่มีด้านยาว (แนวนอน) 360 องศา และด้านกว้าง (แนวตั้ง) 180 องศา ลักษณะการมองเหมือนอยู่ในทรงกลม เมื่อคลี่ออกจะเรียกว่า Equirectangular และมี อัตราส่วนด้านยาว : ด้านกว้าง เป็น 2 : 1 เสมอ
  • 10. 6 ในปัจจุบันการทาภาพโดยใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual Reality) เข้ามามีบทบาทในการสร้างประสบการณ์การรับชมสื่อเป็นอย่าง มาก เป็นการจาลองภาพเสมือนว่าเราไปอยู่ในสภาพแวดล้อมนั้น ซึ่งปกติ มักจะใช้กับภาพถ่าย หรือภาพสามมิติ แต่ก็สามารถนาภาพกราฟิกมา จัดทาในลักษณะนี้ได้เช่นเดียวกัน เมื่อนาภาพอินโฟกราฟิก 360 องศา ไป โพสต์ใน Facebook จะเล่นเป็นภาพ 360 องศา ได้ทันที รับชมที่ >> bit.ly/computer360 การทาอินโฟกราฟิก 360 องศา โดยใช้ วิธีการทาภาพแบบลูกบาศก์ (Cubic Image) เป็น การคลี่ภาพให้แบน เสมือนการออกแบบกราฟิก ตามปกติ จึงไม่ต้องคานึงถึงการบิดเบี้ยวของภาพ ดังนั้นจะต้องเข้าใจการจัดเรียงภาพและจุดเชื่อมต่อ ภาพ 360 องศา โดยจะเริ่มเรียงจากภาพที่ 0 ไป 5 ดังภาพ การทาอินโฟกราฟิก 360 องศา โดยใช้วิธีการทาภาพแบบทรงกลม (Spherical Image) ไม่ต้องสนใจการใช้งาน อาร์ตบอร์ด แต่ต้องแบ่งสัดส่วนของบริเวณภาพให้เท่าๆ กัน ผลลัพธ์จะได้มุมมองเสมือนอยู่ในทรงกลม ทาให้วัตถุมีความ บิดเบี้ยวตามความโค้ง โดยเฉพาะบริเวณ 4 กับ 5 ทาให้การออกแบบงานอินโฟกราฟิก 360 องศา จะทาได้ในบริเวณ 0 1 2 และ 3 เท่านั้น โดยบริเวณ 0 จะเป็นบริเวณเริ่มต้นของมุมมองภาพ ส่วนบริเวณ 2 ต้องคานึงถึงการเชื่อมต่อภาพให้ดี
  • 11. 7 การทาอินโฟกราฟิก 360 องศา จะต้องมีความรู้และทักษะการใช้งานโปรแกรมออกแบบกราฟิกมากพอสมควร โดยมีสิ่งที่ต้องเตรียม ดังนี้ 1. คอมพิวเตอร์ แนะนาเป็น Windows 10 แบบ 64 บิต 2. โปรแกรม Adobe Illustrator สาหรับทาภาพกราฟิก 3. โปรแกรม Adobe Photoshop สาหรับสร้างการหมุนภาพ 360 องศา 4. โปรแกรม Pano2QTVR GUI สาหรับการแปลงจาก Cubic Image เป็น Equirectangular หมายเหตุ ที่แนะนาให้ใช้ Windows เนื่องจากโปรแกรม Pano2QTVR GUI เป็นโปรแกรมฟรีที่สามารถติดตั้งได้ในระบบปฏิบัติการ Windows เท่านั้น Adobe Illustrator สามารถใช้เวอร์ชั่นใดก็ได้ Adobe Photoshop ต้องใช้ CC 2018 ขึ้นไป เนื่องจากเวอร์ชั่นก่อนหน้าลงไปจะไม่มีคาสั่งในการทา Spherical
  • 12. 8 กระบวนการทาอินโฟกราฟิก 360 องศา ทรงลูกบาศก์ มี 4 ขั้นตอนหลักๆ ดังนี้ 1. ออกแบบกราฟิก โดยใช้โปรแกรม Adobe Illustrator CC 2018 ขึ้นไป 2. รวมและแปลงภาพจาก Cubic Image เป็น Equirectangular โดยใช้โปรแกรม Pano2QTVR GUI 3. หมุนภาพและรีทัชภาพด้วย Adobe Photoshop CC 2018 ขึ้นไป 4. เผยแพร่ผลงานในแพลตฟอร์มที่รองรับการแสดงผล 360 องศา การใช้ Adobe Illustrator ทาอินโฟกราฟิก 360 องศา ทรงลูกบาศก์ นอกจากเข้าใจการจัดเรียงภาพแล้ว ต้อง เข้าใจวิธีการใช้งาน Artboard การจัดเรียงและการตั้งชื่ออาร์ตบอร์ด หากไม่จัดเรียงตามคู่มือจะไม่สามารถเรียงเป็นภาพ Equirectangular ได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. เปิดโปรแกรม Adobe Illustrator แล้วคลิก Create New 2. สร้างไฟล์ขนาดเท่าไรก็ได้ แต่ต้องเป็นสี่เหลี่ยมจตุรัส 3. กาหนด Advanced Options โดยใช้โหมดสี RGB และ Resolution 72 PPI 4. คลิก Create
  • 13. 9 ทรงลูกบาศก์ประกอบด้วยสี่เหลี่ยมจตุรัสทั้งหมด 6 ด้าน ดังนั้นจะต้องสร้างอาร์ตบอร์ดทั้งหมด 6 อาร์ตบอร์ด จัดเรียงและตั้งชื่ออาร์ตบอร์ดให้ถูกต้อง โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่พาเนล Artboards 2. คลิก Create New Artboard รวมทั้งสิ้น 6 อาร์ตบอร์ด 3. ดับเบิ้ลคลิกที่อาร์ตบอร์ด แล้วตั้งชื่อเป็นหมายเลข 0-5 4. คลิกที่ Dropdown 5. คลิก Rearrange All Artboards 6. กาหนดคาสั่งต่างๆ ดังนี้ Layout >> กาหนดเป็นเรียงจากซ้ายไปขวา 1 แถว Layout Order >> กาหนดเป็นจากซ้ายไปขวา Spacing >> กาหนดเป็น 0 Move Artwork with Artboard >> กาหนดให้อาร์ตเวิร์คย้ายไปตามอาร์ตบอร์ด 7. คลิก OK
  • 14. 10 8. จะได้อาร์ตบอร์ดทั้ง 6 อาร์ตบอร์ดเรียงติดกันจากซ้ายไปขวา 9. คลิกที่เครื่องมือ Artboard 10. ลากอาร์ตบอร์ดชื่อ 4 กับ 5 ไว้ด้านบนและด้านล่างของอาร์ตบอร์ดชื่อ 1
  • 15. 11 เส้นกริด (Grid) มีประโยชน์ในการออกแบบงานอินโฟกราฟิกมาก ทาให้สามารถจัดวางวัตถุได้ตามตาแหน่งที่ ต้องการมากขึ้น โดยไปที่ View > Show Grid เส้นกริดที่โปรแกรมกาหนดมาให้ อาจมีระยะห่างระหว่างกริดไม่ตรงกับความต้องการในการใช้งาน สามารถปรับ ได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่ Edit > Preferences > Guides and Grid 2. กาหนด Guideline every ตามที่เราต้องการ 3. คลิก OK
  • 16. 12 ไม้บรรทัดจะแสดงอยู่บนพื้นที่การทางาน ซึ่งจะอานวยความสะดวกในเรื่องการวัดความยาวและความสูง และ สามารถลากเส้นไกด์ออกมาจากไม้บรรทัด เพื่ออานวยความสะดวกในการจัดการกับวัตถุ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่ View > Rulers > Show Rulers 2. ลากเส้นไกด์ออกมาจากไม้บรรทัด หากต้องการย้ายตาแหน่งให้ใช้ Selection Tool
  • 17. 13 การสร้างอินโฟกราฟิก 360 องศา หลักๆ จะแบ่งเลเยอร์ออกเป็น 2 เลเยอร์ ได้แก่ เลเยอร์พื้นหลัง (Background) และเลเยอร์เนื้อหา (Content) โดยการใช้งานเลเยอร์มีดังนี้ 1. ไปที่พาเนล Layers 2. คลิก Create New Layer 3. ดับเบิ้ลคลิกที่เลเยอร์ แล้วตั้งชื่อเลเยอร์ตามต้องการ และจัดเรียงเลเยอร์พื้นหลังอยู่ล่างสุด เมื่อวางโครงสร้างของงานอินโฟกราฟิก 360 องศา ทรงลูกบาศก์แล้ว สามารถจัดวางเนื้อหาและองค์ประกอบ ต่างๆ ตามความต้องการ ตามการเรียงภาพและจุดเชื่อมต่อภาพ 360 องศาในหน้า 6
  • 18. 14 การบันทึกไฟล์งานไว้แก้ไข ให้ไปที่ File > Save As ส่วนการบันทึกไฟล์สาหรับไปใช้งานต่อ จะบันทึกไฟล์เป็น JPG โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่ Export > Export As 2. เลือกที่จัดเก็บไฟล์ 3. กาหนดชื่อไฟล์ 4. กาหนดรูปแบบไฟล์เป็น JPG 5. เลือกคาสั่ง Use Artboards 6. คลิก Export 7. กาหนดรายละเอียดดังนี้ Color Mode >> กาหนดเป็น RGB Quality >> กาหนดเป็น 10 Resolution >> กาหนดตามต้องการ 8. คลิก OK
  • 19. 15 9. จะได้ไฟล์ JPG เป็นชื่อไฟล์ที่บันทึก และจะมี _0 ถึง _5 หลังชื่อไฟล์ตามลาดับอาร์ตบอร์ด ห้ามเรียงผิดโดย เด็ดขาด เมื่อได้รูปภาพในลักาณะของลูกบาศก์ทั้ง 6 ด้านแล้ว จะนา Cubic Image มาแปลงและต่อกันในรูปแบบ Equirectangular โดยใช้โปรแกรม Pano2QTVR GUI ดาวน์โหลดได้จาก ggnome.com/pano2qtvr โดยมีขั้นตอนการทา ดังนี้ 1. เปิดโปรแกรม Pano2QTVR GUI แล้วคลิก Create a New Project 2. เลือกที่เก็บไฟล์ 3. กาหนดชื่อไฟล์ 4. คลิก Save
  • 20. 16 5. ที่คาสั่ง Project Type เลือก Cubic 6. ที่คาสั่ง Cube face base name คลิก Browse 7. เลือกรูปภาพแรกที่มีชื่อไฟล์ ตามด้วย _0 8. คลิก Open 9. คลิก Convert to Equirectangular 10. กาหนดชื่อไฟล์ Equirectangular อย่าลืมพิมพ์ .jpg ต่อท้ายชื่อไฟล์ 11. คลิก OK แล้วรอสักครู่
  • 21. 17 12. จะได้ไฟล์ Equirectangular ภาพ Equirectangular ที่ได้จากโปรแกรม Pano2QTVR GUI นั้น ยังไม่มี Metadata ที่เป็นแบบ 360 องศา หาก นาไปอัพโหลดใน Facebook ภาพจะไม่สามารถหมุนได้ ดังนั้นจึงใช้ Adobe Photoshop CC 2018 ขึ้นไป ในการฝัง Metadata และรีทัชในส่วนที่บกพร่อง โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. เปิดโปรแกรม Adobe Photoshop แล้วไปที่ 3D > Spherical Panorama > Import Panorama
  • 22. 18 2. เลือกไฟล์ Equirectangular 3. คลิก Open 4. กาหนดขนาดพื้นที่ในการดูไฟล์ตามต้องการ (ไม่มีผลต่อความละเอียดของไฟล์) 5. คลิก OK 6. หากต้องการเปิดพื้นที่การทางาน 3D คลิก Yes หากไม่ต้องการคลิก No 7. รีทัชในส่วนที่เป็นรอยต่อระหว่างภาพด้วยเครื่องมือที่ถนัด
  • 23. 19 8. ไปที่ 3D > Spherical Panorama > Export Panorama 9. เลือกที่เก็บไฟล์ 10. กาหนดชื่อไฟล์ 11. เลือกรูปแบบไฟล์เป็น JPG 12. คลิก Save Facebook เป็นสื่อสังคมออนไลน์ที่มีลูกเล่นมากมาย และรองรับการโพสต์รูปภาพ 360 องศา วิธีการอัพโหลด เหมือนการอัพโหลดรูปภาพทั่วไป แต่ต้องเป็นรูปภาพอินโฟกราฟิก 360 องศาที่ผ่านการ Export จาก Adobe Photoshop CC 2018 ขึ้นไป สังเกตว่าจะมีสัญลักษณ์ ปรากฏที่รูปภาพขณะอัพโหลด
  • 24. 20 เมื่ออัพโหลดเสร็จแล้ว จะแสดงผลแบบ 360 องศาทันที หากใช้คอมพิวเตอร์ สามารถใช้เมาส์คลิกเพื่อรับชม มุมมอง 360 องศา หากใช้สมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต สามารถใช้นิ้วแตะหรือใช้การหมุนสมาร์ทโฟน เพื่อรับชมมุมมอง 360 องศา
  • 25. 21 กระบวนการทาอินโฟกราฟิก 360 องศา ทรงกลม มี 3 ขั้นตอนหลักๆ ดังนี้ 1. ออกแบบกราฟิก โดยใช้โปรแกรม Adobe Illustrator CC 2018 ขึ้นไป 2. หมุนภาพและรีทัชภาพด้วย Adobe Photoshop CC 2018 ขึ้นไป 3. เผยแพร่ผลงานในแพลตฟอร์มที่รองรับการแสดงผล 360 องศา การใช้ Adobe Illustrator ทาอินโฟกราฟิก 360 องศา ทรงกลม สามารถเปิดไฟล์ใหม่ที่มีอัตราส่ววน 2 : 1 หรือที่เรียกว่าภาพ Equirectangular แล้วออกแบบงานได้ทันที แต่ผลลัพธ์ที่ได้ ภาพจะมีลักษณะบิดเบี้ยวเสมือนอยู่ในทรง กลม จึงไม่ค่อยได้รับความนิยมในงานกราฟิก สามารถทาได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. เปิดโปรแกรม Adobe Illustrator แล้วคลิก Create New 2. สร้างไฟล์ขนาดเท่าไรก็ได้ แต่ต้องเป็นอัตราส่วน 2 : 1 3. กาหนด Advanced Options โดยใช้โหมดสี RGB และ Resolution 72 PPI 4. คลิก Create
  • 26. 22 5. จะได้ไฟล์อัตราส่วน 2 : 1 ให้แบ่งบริเวณการวางวัตถุด้วยเส้นกริดและไกด์ (รายละเอียดตามหน้า 6-7) 6. แบ่งเลเยอร์ออกเป็น 2 เลเยอร์ ได้แก่ เลเยอร์พื้นหลัง และเลเยอร์เนื้อหา (รายละเอียดตามหน้า 13) 7. จัดองค์ประกอบของงานอินโฟกราฟิก 360 องศา ในบริเวณที่เหมาะสม
  • 27. 23 การบันทึกไฟล์งานไว้แก้ไข ให้ไปที่ File > Save As ส่วนการบันทึกไฟล์สาหรับไปใช้งานต่อ จะบันทึกไฟล์เป็น JPG โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่ Export > Export As 2. เลือกที่จัดเก็บไฟล์ 3. กาหนดชื่อไฟล์ 4. กาหนดรูปแบบไฟล์เป็น JPG 5. เลือกคาสั่ง Use Artboards 6. คลิก Export 7. กาหนดรายละเอียดดังนี้ Color Mode >> กาหนดเป็น RGB Quality >> กาหนดเป็น 10 Resolution >> กาหนดตามต้องการ 8. คลิก OK
  • 28. 24 9. จะได้ไฟล์ JPG เป็น Equirectangular ภาพ Equirectangular ที่ได้จากโปรแกรม Adobe Illustrator นั้น ยังไม่มี Metadata ที่เป็นแบบ 360 องศา หาก นาไปอัพโหลดใน Facebook ภาพจะไม่สามารถหมุนได้ ดังนั้นจึงใช้ Adobe Photoshop CC 2018 ขึ้นไป ในการฝัง Metadata และรีทัชในส่วนที่บกพร่อง โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. เปิดโปรแกรม Adobe Photoshop แล้วไปที่ 3D > Spherical Panorama > Import Panorama
  • 29. 25 2. เลือกไฟล์ Equirectangular 3. คลิก Open 4. กาหนดขนาดพื้นที่ในการดูไฟล์ตามต้องการ (ไม่มีผลต่อความละเอียดของไฟล์) 5. คลิก OK 6. หากต้องการเปิดพื้นที่การทางาน 3D คลิก Yes หากไม่ต้องการคลิก No 7. รีทัชในส่วนที่เป็นรอยต่อระหว่างภาพด้วยเครื่องมือที่ถนัด
  • 30. 26 8. ไปที่ 3D > Spherical Panorama > Export Panorama 9. เลือกที่เก็บไฟล์ 10. กาหนดชื่อไฟล์ 11. เลือกรูปแบบไฟล์เป็น JPG 12. คลิก Save การอัพโหลดอินโฟกราฟิก 360 องศา ทรงกลมบน Facebook มีวิธีการเช่นเดียวกับทรงลูกบาศก์ทุกประการ แต่ต้องเป็นรูปภาพอินโฟกราฟิก 360 องศาที่ผ่านการ Export จาก Adobe Photoshop CC 2018 ขึ้นไป สังเกตว่าจะมี สัญลักษณ์ ปรากฏที่รูปภาพขณะอัพโหลด แต่ผลลัพธ์จะเสมือนอยู่ในทรงกลม ทาให้ภาพมีความบิดเบี้ยว และมีความ ซับซ้อนในการออกแบบเนื้อหาในบริเวณส่วนบนและส่วนล่างของทรงกลม