SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
"เงยหน้าดูท้องฟ้ามีเมฆ ทาไมมีเมฆอย่างนี้
     ทาไมจะดึงเมฆนี่ลงมาให้ได้ ก็เคยได้ยินเรื่องทาฝน
        ก็มาปรารภกับคุณเทพฤทธิ์ ฝนทาได้ มีหนังสือ
                            เคยอ่านหนังสือ ทาได้...“




นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที่30
ประวัติ โครงการฝนหลวง

 จากการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆได้ทรง
  พบเห็นท้องถิ่นประสบปัญหาความแห้งแล้งหรือขาดแคลนน้้าเพื่อการอุปโภค
  บริโภค และการท้าเกษตร เนื่องจากบางครั้งฝนได้ทิ้งช่วงนานหรือภาวะฝนทิ้งช่วง
  เกิดในระยะวิกฤติของพืชผล ดังนั้นภาวะฝนแล้ง หรือฝนทิ้งช่วงใน แต่ละครั้ง/แต่
  ละปีจึงสร้างความเดือดร้อน และความสูญเสียทางเศรษฐกิจแก่เกษตรกรเป็นอย่าง
  สูง นอกจากนี้ภาวะความต้องการใช้น้านับวันจะทวีปริมาณความต้องการเพิ่มสูงขึ้น
  ตามอัตราการเพิ่มของประชากร การขยายพื้นที่เกษตรกรรมและการเจริญเติบโต
  ของกลุ่มอุตสาหกรรม ด้วยสายพระเนตรที่ยาวไกลและทรง ความอัจฉริยะใน
  พระองค์ท่านดังนั้นในปี พุทธศักราช2498จึงได้มีพระราชด้าริค้นหาวิธีการ ที่จะท้า
  ให้เกิดฝนตกนอกเหนือจากที่จะได้รับ จากธรรมชาติโดยน้าเทคโนโลยีน้าสมัยและ
  ทรัพยากร ที่มีอยู่ประยุกต์กับศักยภาพของการเกิดฝน ในเขตร้อน

                     นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30
                                                         ่
การพัฒนาระบบการจัดทรัพยากรน้้าของชาติเกิด ความพร้อมและครบบริบูรณ์ตามวัฏจักร
                                      ของ น้้า คือ
                 1. การพัฒนาระบบ การจัดการทรัพยากรแหล่งน้้าใต้ดิน
                 2. การพัฒนาระบบ การจัดการทรัพยากรแหล่งน้้าผิวดิน
                 3. การพัฒนา การ จัดการทรัพยากรแหล่งน้้าใน บรรยากาศ
 และทรงเชื่อมั่นในพระราชหฤทัย ว่าด้วย ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ ของประเทศ
 จะ สามารถด้าเนินการให้บังเกิดผลส้าเร็จได้ อย่างแน่นอน
 ดังนั้น ในปี พุทธศักราช 2499 จึงได้ทรง พระมหากรุณาพระราชทาน โครงการ
 พระราชด้าริ
 "ฝนหลวง" ให้หม่อมราชวงศ์ เทพฤทธิ์ เทวกุล รับไปด้าเนินการ ศึกษา วิจัย และ การ
 พัฒนา กรรมวิธีการท้าฝนให้บังเกิดผลโดยเร็ว




                นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30
                                                    ่
 กองทัพอากาศได้เข้ามารับสนองพระราชด้าริในโครงการฝนหลวงอย่างจริงจัง
  ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๑๕ เนื่องจากในปีนั้นได้เกิดภาวะฝนแล้งผิดปกติในฤดูเพาะปลูก
  และเกิดขาดแคลนน้้าอย่างหนัก กองทัพอากาศจึงได้จัดเครื่องบินพร้อมเจ้าหน้าที่
  สนับสนุนการปฏิบัติการฝนหลวงตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ร้องขอ จนถึง
  พ.ศ.๒๕๓๗ ผู้บัญชาการทหารอากาศ ตระหนักถึงความส้าคัญและประโยชน์ที่
  ประเทศชาติจะได้รับจากโครงการฝนหลวงในพระราชด้าริ จึงได้จัดตั้งศูนย์
  ปฏิบัติการฝนหลวงกองทัพอากาศขึ้น เพื่อวางแผน อ้านวยการ ควบคุม ก้ากับการ
  และประสานการปฏิบัติร่วมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
                      นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30
                                                          ่
ขั้นตอนของกรรมวิธีการทาฝนหลวง
    ขั้นตอนที่หนึ่ง : "ก่อกวน"
           เป็นขั้นตอนที่เมฆธรรมชาติเริ่มก่อตัวทางแนวตั้งการ
    ปฏิบัติการฝนหลวงในขั้นตอนนี้จะมุ่งใช้สารเคมีเพื่อให้เกิด
    กระบวนการชักน้าไอน้้า โดยการใช้สารเคมีที่สามารถดูดซับไอน้้า
    จากมวลอากาศได้ เพื่อกระตุ้นกลไกของกระบวนการกลั่นตัวไอน้้า
    ในมวล อากาศให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเมฆด้วย ทางด้าน
    เหนือพื้นที่เป้าหมายเมื่อเมฆเริ่มเกิดมีการก่อตัว และเจริญเติบโตทาง
    ตั้งแล้ว จึงใช้สารเคมีที่ให้ปฏิกิริยาคาย ความร้อนโปรยเป็นวงกลมเข้า
    สู่ก้อนเมฆ เพื่อกระตุ้นให้เกิดกลุ่มแกนร่วมในบริเวณ ปฏิบัติการ
    ส้าหรับใช้เป็นศูนย์กลาง ที่ จะสร้างกลุ่มเมฆฝนในขั้นตอนต่อไป
      นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30
                                          ่
ขั้นตอน ที่ สอง : "เลี้ยง ให้ อ้วน"
              เป็นขั้นตอนที่เมฆก้าลัง ก่อตัวเจริญเติบโตซึ่งเป็นระยะ
      ส้าคัญมาก
       ในการปฏิบัติการฝนหลวง เพราะจะต้องไป เพิ่มพลังงาน
      ให้แก่ updraft ให้ยาวนานออกไป ต้อง ใช้เทคโนโลยีและ
      ประสบการณ์หรือศิลปะแห่ง การท้าฝนควบคู่ไปพร้อมๆ กัน
      เพื่อตัดสินใจ โปรยสารเคมีฝนหลวงชนิดใด ณ ที่ใดของกลุ่ม
      ก้อนเมฆ และในอัตราใดจึงเหมาะสม เพราะ ต้องให้
      กระบวนการเกิดละอองเมฆสมดุล กับความแรงของ updraft
      มิฉะนั้นจะท้าให้เมฆ สลาย

นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30
                                    ่
 ขั้นตอน ที่ สาม : "โจมตี"
              เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกรรมวิธี ปฏิบัติการฝน
          หลวง เมฆหรือกลุ่มเมฆฝนมีความหนาแน่นมากพอที่จะ
          สามารถตกเป็นฝนได้ภายในกลุ่มเมฆจะมีเม็ดน้้าขนาด
          ใหญ่มากมายหากเครื่องบินเข้าไปในกลุ่มเมฆฝนนี้จะมี
          เม็ดน้้าเกาะตามปีกและกระจังหน้า เป็นขั้นตอนที่ส้าคัญ
          และอาศัยประสบการณ์มาก ส้าหรับการปฏิบัติการใน
          ขั้นตอนนี้ จะต้องพิจารณาจุดมุ่งหมายของการท้าฝน
          หลวง
          ซึ่งมีอยู่ 2 ประเด็นคือเพื่อเพิ่มปริมาณฝนตกและเพื่อให้
          เกิดการกระจายการตกของฝน

นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30
                                    ่
เครื่องมือและอุปกรณ์สาคัญที่ใช้
                      ประกอบในการทาฝนหลวง
 1. เครื่องมืออุตุนิยมวิทยา ใช้ในการตรวจวัดและศึกษาสภาพอากาศประกอบการ
  วางแผนปฏิบัติการ นอกเหนือจากแผนที่อากาศ ภาพถ่าย ดาวเทียมที่ได้รับได้แก่
          1.1 เครื่องวัดลมชั้นบน ใช้ตรวจวัดทิศทางและความเร็ว ลมระดับสูงจากผิว
  ดินขึ้นไป
          1.2 เครื่องวิทยุหยั่งอากาศ เป็นเครื่องมืออิเล็คทรอนิคส์ประกอบด้วยเครื่องส่ง
  วิทยุ ซึ่งจะติดไปกับบอลลูนและเครื่องรับสัญญาณวิทยุ ทราบถึงข้อมูลอุณหภูมิ
  ความชื้น ของบรรยากาศในระดับต่างๆ
          1.3 เครื่องเรดาร์ ตรวจอากาศ ที่มีใช้อยู่เป็นแบบติดรถยนต์ เคลื่อนที่ได้มี
  ประสิทธิภาพสามารถบอกบริเวณที่มีฝนตกและความแรงหรือปริมาณน้้าฝนและ
  การเคลื่อนที่ของกลุ่มฝน
        1.4 เครื่องมือตรวจ อากาศผิวพื้นต่างๆ       นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30
                                                                                       ่
 2. เครื่องมือเตรียมสารเคมี ได้แก่เครื่อง บดสารเคมีเครื่องผสมสารเคมี ทั้งแบบน้้า
  และ แบบผง ถัง และ กรวยโปรยสารเคมี เป็นต้น
 3. เครื่องมือ สื่อสาร ใช้ในการติดต่อ สื่อสารและสั่งการระหว่างนักวิชาการบน
  เครื่องบิน กับฐานปฏิบัติการ หรือระหว่างฐาน ปฏิบัติการ 2 แห่ง หรือใช้รายงานผล
  ระหว่างฐาน ปฏิบัติงานส้านักงานฯ ในส่วนกลางโดยอาศัยข่าย ร่วมของวิทยุต้ารวจ
  ศูนย์สื่อสารส้านักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย วิทยุเกษตร และกรม ไปรษณีย์โทร
  เลข เครื่องมือสื่อสารที่ใช้ใน ปัจจุบัน ได้แก่วิทยุ
   ซิงเกิลไซด์แบนด์ วิทยุ FM.1, FM.5 เครื่องทรพิมพ์ เป็นต้น




                                                    นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30
                                                                                        ่
 4. เครื่องมือ ทาง วิชาการ อื่นๆ เช่นอุปกรณ์ ทางการวางแผนปฏิบัติการ เข็มทิศ แผน
  ที่ กล้อง ส่อง ทางไกล เครื่องมือตรวจสอบสารเคมี กล้องถ่ายภาพ และ อื่นๆ
 5. สถานี เรดาร์ฝนหลวง ในบรรดาเครื่องมืออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ภายใต้
  โครงการวิจัยทรัพยากรบรรยากาศ ประยุกต์Doppler radar จัดเป็น เครื่องมืออุปกรณ์
  วิทยาศาสตร์ นี้ใช้เพื่อวางแผนการทดลองและติดตาม ประเมินผลปฏิบัติการฝน
  หลวง สาธิตเครื่องมือชนิดนี้ ท้างานโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมการสั่งการ
  การ เก็บบันทึก รวบรวม ข้อมูล สามารถ น้าข้อมูลกลับมาแสดงใหม่จากเทปบันทึก
  ใน ซึ่งเชื่อมต่อกับ ระบบเรดาร์ การแสดงผล/สถานที่ตั้ง Doppler radar หรือ ที่
  เรียกว่า สถานี เรดาร์ฝนหลวง นี้อยู่ที่ จังหวัด เชียงใหม่



                    นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30
                                                        ่
บัดนี้ โครงการฝนหลวงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนว
 พระราชด้าริไว้ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๙๘ ได้ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมหาศาลแก่อาณา
ประชาราษฎร์ ช่วยให้พื้นที่ที่เคยแห้งแล้งกลับมีความชุ่มชื่น ก่อให้เกิดความชุ่มฉ่้า
แก่แผ่นดิน แม้แต่น้าในเขื่อนต่างๆ ที่ใกล้จะหมดก็มีปริมาณมากขึ้น ทั้งนี้ด้วยพระ
                 อัจฉริยภาพและพระปรีชาญาณ ในพระบาทสมเด็จพระจ้าอยู่หัว
                                           ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช อย่างแท้จริง




                 นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30
                                                     ่
จัดทาโดย
      นางสาวสาธิดา นพเจริญกุล
   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7 เลขที่ 30
                      เสนอ
            อาจารย์อารีย์ บุญรักษา




นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30
                                    ่

More Related Content

What's hot

โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงChutikan Mint
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงyeen_28175
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNattanaree
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31eveaeef
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงyeen_28175
 
เศรษฐกิจพอเพียง ฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียง ฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียง ฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียง ฝนหลวงPitchapa Manajanyapong
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1amloveyou
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Inknaka
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาfrankenjay
 
โครงการ กังหันน้ำ
โครงการ กังหันน้ำ โครงการ กังหันน้ำ
โครงการ กังหันน้ำ zodiacppat
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนdnavaroj
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาmarchmart_08
 

What's hot (18)

โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
SMMS ฝนหลวง
SMMS ฝนหลวงSMMS ฝนหลวง
SMMS ฝนหลวง
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power point
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
เศรษฐกิจพอเพียง ฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียง ฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียง ฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียง ฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
R maker1 thai
R maker1 thaiR maker1 thai
R maker1 thai
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
 
R maker4[1]
R maker4[1]R maker4[1]
R maker4[1]
 
R maker3 th
R maker3 thR maker3 th
R maker3 th
 
โครงการ กังหันน้ำ
โครงการ กังหันน้ำ โครงการ กังหันน้ำ
โครงการ กังหันน้ำ
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝน
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
 

Similar to เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง

เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31eeveaeef
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
การพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศการพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศdnavaroj
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาmarchch
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคมthnaporn999
 
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14Nattakan Wuttipisan
 
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม. 4.10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล  ม. 4.10 เลขที่ 14นัฐกานต์ วุฒิพิศาล  ม. 4.10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม. 4.10 เลขที่ 14Nattakan Wuttipisan
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มโครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มSudarat Sangsuriya
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Tarn Tanawan
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_Rattanathon Phetthom
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลpookpikdel
 
4water culture 2
4water culture 24water culture 2
4water culture 2kasetpcc
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลมTaweesak Poochai
 
เสื้อกันฝนจากถุงขนม
เสื้อกันฝนจากถุงขนมเสื้อกันฝนจากถุงขนม
เสื้อกันฝนจากถุงขนมMc P Nan'jirapron Jupjup
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงFernThidarat
 

Similar to เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง (20)

เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
การพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศการพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศ
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคม
 
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14
 
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม. 4.10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล  ม. 4.10 เลขที่ 14นัฐกานต์ วุฒิพิศาล  ม. 4.10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม. 4.10 เลขที่ 14
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มโครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
4water culture 2
4water culture 24water culture 2
4water culture 2
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลม
 
เสื้อกันฝนจากถุงขนม
เสื้อกันฝนจากถุงขนมเสื้อกันฝนจากถุงขนม
เสื้อกันฝนจากถุงขนม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
Thailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_tsThailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_ts
 

เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง

  • 1. "เงยหน้าดูท้องฟ้ามีเมฆ ทาไมมีเมฆอย่างนี้ ทาไมจะดึงเมฆนี่ลงมาให้ได้ ก็เคยได้ยินเรื่องทาฝน ก็มาปรารภกับคุณเทพฤทธิ์ ฝนทาได้ มีหนังสือ เคยอ่านหนังสือ ทาได้...“ นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที่30
  • 2. ประวัติ โครงการฝนหลวง  จากการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆได้ทรง พบเห็นท้องถิ่นประสบปัญหาความแห้งแล้งหรือขาดแคลนน้้าเพื่อการอุปโภค บริโภค และการท้าเกษตร เนื่องจากบางครั้งฝนได้ทิ้งช่วงนานหรือภาวะฝนทิ้งช่วง เกิดในระยะวิกฤติของพืชผล ดังนั้นภาวะฝนแล้ง หรือฝนทิ้งช่วงใน แต่ละครั้ง/แต่ ละปีจึงสร้างความเดือดร้อน และความสูญเสียทางเศรษฐกิจแก่เกษตรกรเป็นอย่าง สูง นอกจากนี้ภาวะความต้องการใช้น้านับวันจะทวีปริมาณความต้องการเพิ่มสูงขึ้น ตามอัตราการเพิ่มของประชากร การขยายพื้นที่เกษตรกรรมและการเจริญเติบโต ของกลุ่มอุตสาหกรรม ด้วยสายพระเนตรที่ยาวไกลและทรง ความอัจฉริยะใน พระองค์ท่านดังนั้นในปี พุทธศักราช2498จึงได้มีพระราชด้าริค้นหาวิธีการ ที่จะท้า ให้เกิดฝนตกนอกเหนือจากที่จะได้รับ จากธรรมชาติโดยน้าเทคโนโลยีน้าสมัยและ ทรัพยากร ที่มีอยู่ประยุกต์กับศักยภาพของการเกิดฝน ในเขตร้อน นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30 ่
  • 3. การพัฒนาระบบการจัดทรัพยากรน้้าของชาติเกิด ความพร้อมและครบบริบูรณ์ตามวัฏจักร ของ น้้า คือ 1. การพัฒนาระบบ การจัดการทรัพยากรแหล่งน้้าใต้ดิน 2. การพัฒนาระบบ การจัดการทรัพยากรแหล่งน้้าผิวดิน 3. การพัฒนา การ จัดการทรัพยากรแหล่งน้้าใน บรรยากาศ และทรงเชื่อมั่นในพระราชหฤทัย ว่าด้วย ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ ของประเทศ จะ สามารถด้าเนินการให้บังเกิดผลส้าเร็จได้ อย่างแน่นอน ดังนั้น ในปี พุทธศักราช 2499 จึงได้ทรง พระมหากรุณาพระราชทาน โครงการ พระราชด้าริ "ฝนหลวง" ให้หม่อมราชวงศ์ เทพฤทธิ์ เทวกุล รับไปด้าเนินการ ศึกษา วิจัย และ การ พัฒนา กรรมวิธีการท้าฝนให้บังเกิดผลโดยเร็ว นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30 ่
  • 4.  กองทัพอากาศได้เข้ามารับสนองพระราชด้าริในโครงการฝนหลวงอย่างจริงจัง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๑๕ เนื่องจากในปีนั้นได้เกิดภาวะฝนแล้งผิดปกติในฤดูเพาะปลูก และเกิดขาดแคลนน้้าอย่างหนัก กองทัพอากาศจึงได้จัดเครื่องบินพร้อมเจ้าหน้าที่ สนับสนุนการปฏิบัติการฝนหลวงตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ร้องขอ จนถึง พ.ศ.๒๕๓๗ ผู้บัญชาการทหารอากาศ ตระหนักถึงความส้าคัญและประโยชน์ที่ ประเทศชาติจะได้รับจากโครงการฝนหลวงในพระราชด้าริ จึงได้จัดตั้งศูนย์ ปฏิบัติการฝนหลวงกองทัพอากาศขึ้น เพื่อวางแผน อ้านวยการ ควบคุม ก้ากับการ และประสานการปฏิบัติร่วมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30 ่
  • 5. ขั้นตอนของกรรมวิธีการทาฝนหลวง ขั้นตอนที่หนึ่ง : "ก่อกวน" เป็นขั้นตอนที่เมฆธรรมชาติเริ่มก่อตัวทางแนวตั้งการ ปฏิบัติการฝนหลวงในขั้นตอนนี้จะมุ่งใช้สารเคมีเพื่อให้เกิด กระบวนการชักน้าไอน้้า โดยการใช้สารเคมีที่สามารถดูดซับไอน้้า จากมวลอากาศได้ เพื่อกระตุ้นกลไกของกระบวนการกลั่นตัวไอน้้า ในมวล อากาศให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเมฆด้วย ทางด้าน เหนือพื้นที่เป้าหมายเมื่อเมฆเริ่มเกิดมีการก่อตัว และเจริญเติบโตทาง ตั้งแล้ว จึงใช้สารเคมีที่ให้ปฏิกิริยาคาย ความร้อนโปรยเป็นวงกลมเข้า สู่ก้อนเมฆ เพื่อกระตุ้นให้เกิดกลุ่มแกนร่วมในบริเวณ ปฏิบัติการ ส้าหรับใช้เป็นศูนย์กลาง ที่ จะสร้างกลุ่มเมฆฝนในขั้นตอนต่อไป นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30 ่
  • 6. ขั้นตอน ที่ สอง : "เลี้ยง ให้ อ้วน" เป็นขั้นตอนที่เมฆก้าลัง ก่อตัวเจริญเติบโตซึ่งเป็นระยะ ส้าคัญมาก ในการปฏิบัติการฝนหลวง เพราะจะต้องไป เพิ่มพลังงาน ให้แก่ updraft ให้ยาวนานออกไป ต้อง ใช้เทคโนโลยีและ ประสบการณ์หรือศิลปะแห่ง การท้าฝนควบคู่ไปพร้อมๆ กัน เพื่อตัดสินใจ โปรยสารเคมีฝนหลวงชนิดใด ณ ที่ใดของกลุ่ม ก้อนเมฆ และในอัตราใดจึงเหมาะสม เพราะ ต้องให้ กระบวนการเกิดละอองเมฆสมดุล กับความแรงของ updraft มิฉะนั้นจะท้าให้เมฆ สลาย นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30 ่
  • 7.  ขั้นตอน ที่ สาม : "โจมตี" เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกรรมวิธี ปฏิบัติการฝน หลวง เมฆหรือกลุ่มเมฆฝนมีความหนาแน่นมากพอที่จะ สามารถตกเป็นฝนได้ภายในกลุ่มเมฆจะมีเม็ดน้้าขนาด ใหญ่มากมายหากเครื่องบินเข้าไปในกลุ่มเมฆฝนนี้จะมี เม็ดน้้าเกาะตามปีกและกระจังหน้า เป็นขั้นตอนที่ส้าคัญ และอาศัยประสบการณ์มาก ส้าหรับการปฏิบัติการใน ขั้นตอนนี้ จะต้องพิจารณาจุดมุ่งหมายของการท้าฝน หลวง ซึ่งมีอยู่ 2 ประเด็นคือเพื่อเพิ่มปริมาณฝนตกและเพื่อให้ เกิดการกระจายการตกของฝน นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30 ่
  • 8. เครื่องมือและอุปกรณ์สาคัญที่ใช้ ประกอบในการทาฝนหลวง  1. เครื่องมืออุตุนิยมวิทยา ใช้ในการตรวจวัดและศึกษาสภาพอากาศประกอบการ วางแผนปฏิบัติการ นอกเหนือจากแผนที่อากาศ ภาพถ่าย ดาวเทียมที่ได้รับได้แก่ 1.1 เครื่องวัดลมชั้นบน ใช้ตรวจวัดทิศทางและความเร็ว ลมระดับสูงจากผิว ดินขึ้นไป 1.2 เครื่องวิทยุหยั่งอากาศ เป็นเครื่องมืออิเล็คทรอนิคส์ประกอบด้วยเครื่องส่ง วิทยุ ซึ่งจะติดไปกับบอลลูนและเครื่องรับสัญญาณวิทยุ ทราบถึงข้อมูลอุณหภูมิ ความชื้น ของบรรยากาศในระดับต่างๆ 1.3 เครื่องเรดาร์ ตรวจอากาศ ที่มีใช้อยู่เป็นแบบติดรถยนต์ เคลื่อนที่ได้มี ประสิทธิภาพสามารถบอกบริเวณที่มีฝนตกและความแรงหรือปริมาณน้้าฝนและ การเคลื่อนที่ของกลุ่มฝน 1.4 เครื่องมือตรวจ อากาศผิวพื้นต่างๆ นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30 ่
  • 9.  2. เครื่องมือเตรียมสารเคมี ได้แก่เครื่อง บดสารเคมีเครื่องผสมสารเคมี ทั้งแบบน้้า และ แบบผง ถัง และ กรวยโปรยสารเคมี เป็นต้น  3. เครื่องมือ สื่อสาร ใช้ในการติดต่อ สื่อสารและสั่งการระหว่างนักวิชาการบน เครื่องบิน กับฐานปฏิบัติการ หรือระหว่างฐาน ปฏิบัติการ 2 แห่ง หรือใช้รายงานผล ระหว่างฐาน ปฏิบัติงานส้านักงานฯ ในส่วนกลางโดยอาศัยข่าย ร่วมของวิทยุต้ารวจ ศูนย์สื่อสารส้านักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย วิทยุเกษตร และกรม ไปรษณีย์โทร เลข เครื่องมือสื่อสารที่ใช้ใน ปัจจุบัน ได้แก่วิทยุ ซิงเกิลไซด์แบนด์ วิทยุ FM.1, FM.5 เครื่องทรพิมพ์ เป็นต้น นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30 ่
  • 10.  4. เครื่องมือ ทาง วิชาการ อื่นๆ เช่นอุปกรณ์ ทางการวางแผนปฏิบัติการ เข็มทิศ แผน ที่ กล้อง ส่อง ทางไกล เครื่องมือตรวจสอบสารเคมี กล้องถ่ายภาพ และ อื่นๆ  5. สถานี เรดาร์ฝนหลวง ในบรรดาเครื่องมืออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ภายใต้ โครงการวิจัยทรัพยากรบรรยากาศ ประยุกต์Doppler radar จัดเป็น เครื่องมืออุปกรณ์ วิทยาศาสตร์ นี้ใช้เพื่อวางแผนการทดลองและติดตาม ประเมินผลปฏิบัติการฝน หลวง สาธิตเครื่องมือชนิดนี้ ท้างานโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมการสั่งการ การ เก็บบันทึก รวบรวม ข้อมูล สามารถ น้าข้อมูลกลับมาแสดงใหม่จากเทปบันทึก ใน ซึ่งเชื่อมต่อกับ ระบบเรดาร์ การแสดงผล/สถานที่ตั้ง Doppler radar หรือ ที่ เรียกว่า สถานี เรดาร์ฝนหลวง นี้อยู่ที่ จังหวัด เชียงใหม่ นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30 ่
  • 11. บัดนี้ โครงการฝนหลวงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนว พระราชด้าริไว้ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๙๘ ได้ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมหาศาลแก่อาณา ประชาราษฎร์ ช่วยให้พื้นที่ที่เคยแห้งแล้งกลับมีความชุ่มชื่น ก่อให้เกิดความชุ่มฉ่้า แก่แผ่นดิน แม้แต่น้าในเขื่อนต่างๆ ที่ใกล้จะหมดก็มีปริมาณมากขึ้น ทั้งนี้ด้วยพระ อัจฉริยภาพและพระปรีชาญาณ ในพระบาทสมเด็จพระจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช อย่างแท้จริง นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30 ่
  • 12. จัดทาโดย นางสาวสาธิดา นพเจริญกุล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7 เลขที่ 30 เสนอ อาจารย์อารีย์ บุญรักษา นางสาว สาธิดา นพเจริญกุล ม.4/7 เลขที30 ่