SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า1
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต
การใส่เสียง และการปรับแต่ง
งานแอนิเมชั่นถ้ามีเสียงดนตรีประกอบก็จะทาให้งานที่ออกมามีการแสดง
ถึงอารมณ์และการสื่อสารได้ชัดเจน มากขึ้น
โดยเราสามารถนาไฟล์เพลงประเภทต่างๆเข้ามาใช้ได้ง่ายๆ
1. เริ่มต้นควรจะสร้างเลเยอร์ที่จะบรรจุเพลงไว้โดยเฉพาะดังภาพ
2. นาไฟล์เสียงเข้ามาที่ Library โดยไปที่เมนู File> Import> Import to Library….
นักเรียนทราบไหมครับว่าการใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ตนั้นมีวิธีการสร้างอย่างไร
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า2
3.เลือกเพลง หรือเสียงที่ต้องการเข้ามา
4. จะเห็นว่าตอนนี้เพลงเข้ามาอยู่ใน Library แล้ว จะใช้งานโดยการลากใส่บน Stage
5. ให้เราเพิ่มเฟรมการแสดงผลตามต้องการ ในที่นี้เราเพิ่มถึง80เฟรมดังภาพ
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า3
6. ทดสอบได้จากการ Test Movie
7. แต่เราก็ยังสามารถปรับแต่งเสียงได้โดย คลิ๊กที่ปุ่ม Edit ที่หน้าต่าง Properties
8. เราสามารถปรับระดับของเสียงโดยการลากจุดสี่เหลี่ยมขึ้นลง
9. หรือคลิ๊กสร้างการปรับระดับเสียงที่หลากหลายได้และถ้าไม่ต้องการก็ลากออกไปนอกพื้นที่
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า4
10. อีกทั้งยังสามารถตั้งจุดเริ่มต้น และสิ้นสุดของเสียงได้จากแถบตรงกลาง
การเอ็กซ์พอร์ต
ภาพที่วาดที่สร้างเสร็จแล้ว หรือปรับแต่งแก้ไขแล้ว ควรบันทึกไฟล์เก็บไว้ทุกครั้ง โดยไฟล์
ต้นฉบับจะได้ส่วนขยายเป็น .fla การบันทึกไฟล์สามารถใช้คาสั่ง File, Save… หรือ File, Save As…
จุดสังเกตว่าไฟล์ได้ผ่านการบันทึกแล้วหรือไม่ ก็ดูได้จากชื่อไฟล์ใน Title Bar หากมีเครื่องหมาย *
แสดงว่ายังไม่ผ่านการบันทึก
การบันทึกเป็นภาพนิ่งใช้งาน
เนื่องจากไฟล์ .fla เป็นไฟล์ต้นฉบับ ไม่สามารถนาไปใช้งานได้ ก่อนนาไฟล์ภาพที่สร้างด้วย Flash
ไปใช้งาน จาเป็นต้องบันทึกในฟอร์แมตที่เหมาะสม สาหรับภาพนิ่ง ให้เลือกคาสั่ง File, Export, Export
Image… ฟ อ ร์ แ ม ต ข อ งภ าพ นิ่ ง ก็ เป็ น ราย ก ารที่ ค ว รน าม าพิ จ ารณ าป ระ ก อ บ เช่ น
ถ้าต้องการเป็นภาพประกอบสื่อสิ่งพิมพ์ แนะนาให้เลือกเป็น .bmp หรือ .ai แต่ถ้าต้องการใช้บนเว็บไซต์
ก็ควรเลือกเป็น .gif, .jpg หรือ .png โดยมีหลักในการพิจารณา ดังนี้
• ภาพโครงร่าง หรือภาพที่มีการใช้สีแบบ Solid ให้เลือกเป็น GIF Format
• ภาพที่มีการใช้สีแบบไล่โทน หรือมีการใช้สีจานวนมาก ให้เลือกเป็น JPEG Format
การบันทึกในฟอร์แมต GIF
การบันทึกภาพวาดในฟอร์แมต GIF ทาได้โดยเลือกคาสั่ง File, Export, Export Image…
เลือกรายการ Save as Type เป็น GIF Image (*.GIF)
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า5
รายการเลือกของ GIF Format ได้แก่
• Dimension กาหนดขนาดของภาพ
• Resolution กาหนดความละเอียด มีค่าเท่ากับ 72 dpi
• Include เลือกรูปแบบการบันทึกพื้นที่รอบภาพ กรณีที่ต้องการบันทึกเฉพาะพื้นที่ที่มีภาพเท่านั้น
ให้เลือกเป็น Minimum Image Area โปรแกรมจะไม่นาพื้นที่รอบภาพมาบันทึกด้วย แต่ถ้าเลือกเป็นรายการ
Full Document Size จะเป็นการบันทึกเท่ากับขนาดที่ระบุจริงในรายการ Dimension
• Colors เลื อ ก จาน วน ค่ าสี ที่ เห ม าะ ส ม กับ ภ าพ ดังนั้ น ห าก บ างภ าพ มี ก ารใช้ สี น้ อ ย
ก็สามารถระบุจานวนสีที่เหมาะสมได้
• Interlace เลือกเมื่อภาพที่วาดมีขนาดโตกว่า 200 pixel เพื่อกาหนดให้ภาพแสดงผลแบบโครงร่างก่อน
แล้วค่อยๆ ชัดขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป
• Transparent เลือกเพื่อกาหนดให้ภาพมีลักษณะของพื้นแบบโปร่งใส
• Smooth เลือกให้ภาพมีลักษณะขอบกระด้าง หรือขอบมน
• Dither solid colors เลือกลักษณะการเกลี่ยสีที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน
การบันทึกในฟอร์แมต JPEG
การบัน ทึ กภาพ วาดใน ฟ อร์แมต JPEG ท าได้โดยเลื อกคาสั่ ง File, Export, Export
Image…เมื่อเลือกไดร์ฟ/โฟลเดอร์ และตั้งชื่อไฟล์ภาพ ให้เลือกรายการ Save as Type เป็น JPEG Image
(*.jpg) แล้วคลิกปุ่ม
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า6
Save จะปรากฏรายการเลือกค่าควบคุม ดังนี้
• Dimension กาหนดขนาดของภาพ
• Resolution กาหนดความละเอียด มีค่าเท่ากับ 72 dpi
• Include เลือกรูปแบบการบันทึกพื้นที่รอบภาพ กรณีที่ต้องการบันทึกเฉพาะพื้นที่ที่มีภาพเท่านั้น
ให้เลือกเป็น Minimum Image Area โปรแกรมจะไม่นาพื้นที่รอบภาพมาบันทึกด้วย แต่ถ้าเลือกเป็นรายการ
Full Document Size จะเป็นการบันทึกเท่ากับขนาดที่ระบุจริงในรายการ Dimension
• Quality คุ ณ ภ าพ ข อ งภ าพ ก รณี ที่ น าไ ป ใช้ กับ เอ ก ส ารเว็บ ค ว รก าห น ด ไ ว้ที่ 60 –
90แต่ถ้าต้องการบันทึกเป็นภาพต้นฉบับเพื่อไปตกแต่งด้วยโปรแกรมอื่นต่อไป ควรกาหนดเป็น 100
• Progressive เลือกเมื่อภาพที่วาดมีขนาดโตกว่า 200 pixel เพื่อกาหนดให้ภาพแสดงผลแบบโครงร่างก่อน
แล้วค่อยๆ ชัดขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป คล้ายๆ กับคุณสมบัติ Interlaceของ GIF
การบันทึกเป็นภาพเคลื่อนไหว
การบันทึกผลงานของ Flash เป็นภาพเคลื่อนไหว หรือ Flash Movie สามารถเลือกได้สองคาสั่ง คือ File,
Export, Export Movie… โ ด ย มี ห น้ า ต่ า ง ก า ร บั น ทึ ก
และการเลือกฟอร์แมตคล้ายกับการบันทึกภาพนิ่งที่แนะนาไปก่อน นอกจากนี้ยังสามารถเลือกได้จากคาสั่ง
File, PublishSettings… ซึ่ งเป็ น คาสั่ งที่ นิ ยมเลื อกใช้มากกว่า กรณี ที่ เป็ น ภาพ เคลื่อน ไห ว
โดยจะปรากฏหน้าต่างทางาน ดังนี้
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า7
เลือกฟอร์แมตที่ต้องการใช้งาน
• ใช้งานในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ให้คลิกเลือกรายการ Flash และ HTML
• สร้าง Movie ในฟอร์แมต QuickTime ให้เลือกรายการ QuickTime ซึ่งจะได้ไฟล์Movie ที่มีส่วนขยายเป็น
.mov
• สร้าง Movie ที่สามารถนาเสนอได้ทันที โดยไม่ต้องอาศัย Plug-Ins ใดๆ ให้เลือกรายการ Windows
Projector ซึ่ ง จ ะ ไ ด้ ไ ฟ ล์ ที่ มี ส่ ว น ข ย า ย .exe ห รื อ เลื อ ก ร า ย ก า ร Macintosh Projector
สาหรับการนาเสนอบนเครื่องคอมพิวเตอร์ Macintoshเมื่อเลือกรูปแบบไฟล์ที่ต้องการแล้ว ให้คลิกปุ่ ม
Publish โปรแกรมจะแปลงงานบน Stageเป็น Movie ตามฟอร์แมตที่เลือก โดยใช้ชื่อไฟล์เดียวกับไฟล์ Flash
ต้นฉบับ

More Related Content

Similar to ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต

การใส่เสียงเพิ่มเติมให้กับสไลด์และวัตถุ
การใส่เสียงเพิ่มเติมให้กับสไลด์และวัตถุการใส่เสียงเพิ่มเติมให้กับสไลด์และวัตถุ
การใส่เสียงเพิ่มเติมให้กับสไลด์และวัตถุ
Oo Suchat Bee
 
Random 110919031545-phpapp02
Random 110919031545-phpapp02Random 110919031545-phpapp02
Random 110919031545-phpapp02
Thanapol Sudha
 
Random 110919031545-phpapp02
Random 110919031545-phpapp02Random 110919031545-phpapp02
Random 110919031545-phpapp02
Thanapon Sudha
 
คู่มือ Audacity 1.3 beta (unicode)
คู่มือ Audacity 1.3 beta (unicode)คู่มือ Audacity 1.3 beta (unicode)
คู่มือ Audacity 1.3 beta (unicode)
Norasit Plengrudsamee
 
กราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษากราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษา
Jiraprapa Suwannajak
 

Similar to ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต (20)

captivate-flash-courseware
captivate-flash-coursewarecaptivate-flash-courseware
captivate-flash-courseware
 
คู่มือการใช้ Marvin
คู่มือการใช้ Marvinคู่มือการใช้ Marvin
คู่มือการใช้ Marvin
 
การใส่เสียงเพิ่มเติมให้กับสไลด์และวัตถุ
การใส่เสียงเพิ่มเติมให้กับสไลด์และวัตถุการใส่เสียงเพิ่มเติมให้กับสไลด์และวัตถุ
การใส่เสียงเพิ่มเติมให้กับสไลด์และวัตถุ
 
Marwin
MarwinMarwin
Marwin
 
Marwin
MarwinMarwin
Marwin
 
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
 
Random 110919031545-phpapp02
Random 110919031545-phpapp02Random 110919031545-phpapp02
Random 110919031545-phpapp02
 
Random 110919031545-phpapp02
Random 110919031545-phpapp02Random 110919031545-phpapp02
Random 110919031545-phpapp02
 
การตกแต่งวิดีโอและการจัดการเสียง
การตกแต่งวิดีโอและการจัดการเสียงการตกแต่งวิดีโอและการจัดการเสียง
การตกแต่งวิดีโอและการจัดการเสียง
 
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
 
แบบฝึกทำE book m4
แบบฝึกทำE book m4แบบฝึกทำE book m4
แบบฝึกทำE book m4
 
Photoshop
PhotoshopPhotoshop
Photoshop
 
58210401102
5821040110258210401102
58210401102
 
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freewareตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
 
คู่มือการใช้งาน Desktop author
คู่มือการใช้งาน Desktop authorคู่มือการใช้งาน Desktop author
คู่มือการใช้งาน Desktop author
 
Proshow gold by wutjung
Proshow gold  by wutjungProshow gold  by wutjung
Proshow gold by wutjung
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
คู่มือ Audacity 1.3 beta (unicode)
คู่มือ Audacity 1.3 beta (unicode)คู่มือ Audacity 1.3 beta (unicode)
คู่มือ Audacity 1.3 beta (unicode)
 
กราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษากราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษา
 

More from คีตะบลู รักคำภีร์

ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกันใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
คีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหวใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
คีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
คีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
คีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
คีตะบลู รักคำภีร์
 

More from คีตะบลู รักคำภีร์ (11)

ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกันใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหวใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
 
การใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสี
การใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสีการใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสี
การใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสี
 
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
 
โปรแกรมTinker
โปรแกรมTinkerโปรแกรมTinker
โปรแกรมTinker
 
หน้าจอหลักโปรแกรม Tinker
หน้าจอหลักโปรแกรม Tinkerหน้าจอหลักโปรแกรม Tinker
หน้าจอหลักโปรแกรม Tinker
 
คู่มือGogoboard
คู่มือGogoboardคู่มือGogoboard
คู่มือGogoboard
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 

ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต

  • 1. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า1 ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต การใส่เสียง และการปรับแต่ง งานแอนิเมชั่นถ้ามีเสียงดนตรีประกอบก็จะทาให้งานที่ออกมามีการแสดง ถึงอารมณ์และการสื่อสารได้ชัดเจน มากขึ้น โดยเราสามารถนาไฟล์เพลงประเภทต่างๆเข้ามาใช้ได้ง่ายๆ 1. เริ่มต้นควรจะสร้างเลเยอร์ที่จะบรรจุเพลงไว้โดยเฉพาะดังภาพ 2. นาไฟล์เสียงเข้ามาที่ Library โดยไปที่เมนู File> Import> Import to Library…. นักเรียนทราบไหมครับว่าการใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ตนั้นมีวิธีการสร้างอย่างไร
  • 2. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า2 3.เลือกเพลง หรือเสียงที่ต้องการเข้ามา 4. จะเห็นว่าตอนนี้เพลงเข้ามาอยู่ใน Library แล้ว จะใช้งานโดยการลากใส่บน Stage 5. ให้เราเพิ่มเฟรมการแสดงผลตามต้องการ ในที่นี้เราเพิ่มถึง80เฟรมดังภาพ
  • 3. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า3 6. ทดสอบได้จากการ Test Movie 7. แต่เราก็ยังสามารถปรับแต่งเสียงได้โดย คลิ๊กที่ปุ่ม Edit ที่หน้าต่าง Properties 8. เราสามารถปรับระดับของเสียงโดยการลากจุดสี่เหลี่ยมขึ้นลง 9. หรือคลิ๊กสร้างการปรับระดับเสียงที่หลากหลายได้และถ้าไม่ต้องการก็ลากออกไปนอกพื้นที่
  • 4. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า4 10. อีกทั้งยังสามารถตั้งจุดเริ่มต้น และสิ้นสุดของเสียงได้จากแถบตรงกลาง การเอ็กซ์พอร์ต ภาพที่วาดที่สร้างเสร็จแล้ว หรือปรับแต่งแก้ไขแล้ว ควรบันทึกไฟล์เก็บไว้ทุกครั้ง โดยไฟล์ ต้นฉบับจะได้ส่วนขยายเป็น .fla การบันทึกไฟล์สามารถใช้คาสั่ง File, Save… หรือ File, Save As… จุดสังเกตว่าไฟล์ได้ผ่านการบันทึกแล้วหรือไม่ ก็ดูได้จากชื่อไฟล์ใน Title Bar หากมีเครื่องหมาย * แสดงว่ายังไม่ผ่านการบันทึก การบันทึกเป็นภาพนิ่งใช้งาน เนื่องจากไฟล์ .fla เป็นไฟล์ต้นฉบับ ไม่สามารถนาไปใช้งานได้ ก่อนนาไฟล์ภาพที่สร้างด้วย Flash ไปใช้งาน จาเป็นต้องบันทึกในฟอร์แมตที่เหมาะสม สาหรับภาพนิ่ง ให้เลือกคาสั่ง File, Export, Export Image… ฟ อ ร์ แ ม ต ข อ งภ าพ นิ่ ง ก็ เป็ น ราย ก ารที่ ค ว รน าม าพิ จ ารณ าป ระ ก อ บ เช่ น ถ้าต้องการเป็นภาพประกอบสื่อสิ่งพิมพ์ แนะนาให้เลือกเป็น .bmp หรือ .ai แต่ถ้าต้องการใช้บนเว็บไซต์ ก็ควรเลือกเป็น .gif, .jpg หรือ .png โดยมีหลักในการพิจารณา ดังนี้ • ภาพโครงร่าง หรือภาพที่มีการใช้สีแบบ Solid ให้เลือกเป็น GIF Format • ภาพที่มีการใช้สีแบบไล่โทน หรือมีการใช้สีจานวนมาก ให้เลือกเป็น JPEG Format การบันทึกในฟอร์แมต GIF การบันทึกภาพวาดในฟอร์แมต GIF ทาได้โดยเลือกคาสั่ง File, Export, Export Image… เลือกรายการ Save as Type เป็น GIF Image (*.GIF)
  • 5. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า5 รายการเลือกของ GIF Format ได้แก่ • Dimension กาหนดขนาดของภาพ • Resolution กาหนดความละเอียด มีค่าเท่ากับ 72 dpi • Include เลือกรูปแบบการบันทึกพื้นที่รอบภาพ กรณีที่ต้องการบันทึกเฉพาะพื้นที่ที่มีภาพเท่านั้น ให้เลือกเป็น Minimum Image Area โปรแกรมจะไม่นาพื้นที่รอบภาพมาบันทึกด้วย แต่ถ้าเลือกเป็นรายการ Full Document Size จะเป็นการบันทึกเท่ากับขนาดที่ระบุจริงในรายการ Dimension • Colors เลื อ ก จาน วน ค่ าสี ที่ เห ม าะ ส ม กับ ภ าพ ดังนั้ น ห าก บ างภ าพ มี ก ารใช้ สี น้ อ ย ก็สามารถระบุจานวนสีที่เหมาะสมได้ • Interlace เลือกเมื่อภาพที่วาดมีขนาดโตกว่า 200 pixel เพื่อกาหนดให้ภาพแสดงผลแบบโครงร่างก่อน แล้วค่อยๆ ชัดขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป • Transparent เลือกเพื่อกาหนดให้ภาพมีลักษณะของพื้นแบบโปร่งใส • Smooth เลือกให้ภาพมีลักษณะขอบกระด้าง หรือขอบมน • Dither solid colors เลือกลักษณะการเกลี่ยสีที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน การบันทึกในฟอร์แมต JPEG การบัน ทึ กภาพ วาดใน ฟ อร์แมต JPEG ท าได้โดยเลื อกคาสั่ ง File, Export, Export Image…เมื่อเลือกไดร์ฟ/โฟลเดอร์ และตั้งชื่อไฟล์ภาพ ให้เลือกรายการ Save as Type เป็น JPEG Image (*.jpg) แล้วคลิกปุ่ม
  • 6. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า6 Save จะปรากฏรายการเลือกค่าควบคุม ดังนี้ • Dimension กาหนดขนาดของภาพ • Resolution กาหนดความละเอียด มีค่าเท่ากับ 72 dpi • Include เลือกรูปแบบการบันทึกพื้นที่รอบภาพ กรณีที่ต้องการบันทึกเฉพาะพื้นที่ที่มีภาพเท่านั้น ให้เลือกเป็น Minimum Image Area โปรแกรมจะไม่นาพื้นที่รอบภาพมาบันทึกด้วย แต่ถ้าเลือกเป็นรายการ Full Document Size จะเป็นการบันทึกเท่ากับขนาดที่ระบุจริงในรายการ Dimension • Quality คุ ณ ภ าพ ข อ งภ าพ ก รณี ที่ น าไ ป ใช้ กับ เอ ก ส ารเว็บ ค ว รก าห น ด ไ ว้ที่ 60 – 90แต่ถ้าต้องการบันทึกเป็นภาพต้นฉบับเพื่อไปตกแต่งด้วยโปรแกรมอื่นต่อไป ควรกาหนดเป็น 100 • Progressive เลือกเมื่อภาพที่วาดมีขนาดโตกว่า 200 pixel เพื่อกาหนดให้ภาพแสดงผลแบบโครงร่างก่อน แล้วค่อยๆ ชัดขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป คล้ายๆ กับคุณสมบัติ Interlaceของ GIF การบันทึกเป็นภาพเคลื่อนไหว การบันทึกผลงานของ Flash เป็นภาพเคลื่อนไหว หรือ Flash Movie สามารถเลือกได้สองคาสั่ง คือ File, Export, Export Movie… โ ด ย มี ห น้ า ต่ า ง ก า ร บั น ทึ ก และการเลือกฟอร์แมตคล้ายกับการบันทึกภาพนิ่งที่แนะนาไปก่อน นอกจากนี้ยังสามารถเลือกได้จากคาสั่ง File, PublishSettings… ซึ่ งเป็ น คาสั่ งที่ นิ ยมเลื อกใช้มากกว่า กรณี ที่ เป็ น ภาพ เคลื่อน ไห ว โดยจะปรากฏหน้าต่างทางาน ดังนี้
  • 7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า7 เลือกฟอร์แมตที่ต้องการใช้งาน • ใช้งานในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ให้คลิกเลือกรายการ Flash และ HTML • สร้าง Movie ในฟอร์แมต QuickTime ให้เลือกรายการ QuickTime ซึ่งจะได้ไฟล์Movie ที่มีส่วนขยายเป็น .mov • สร้าง Movie ที่สามารถนาเสนอได้ทันที โดยไม่ต้องอาศัย Plug-Ins ใดๆ ให้เลือกรายการ Windows Projector ซึ่ ง จ ะ ไ ด้ ไ ฟ ล์ ที่ มี ส่ ว น ข ย า ย .exe ห รื อ เลื อ ก ร า ย ก า ร Macintosh Projector สาหรับการนาเสนอบนเครื่องคอมพิวเตอร์ Macintoshเมื่อเลือกรูปแบบไฟล์ที่ต้องการแล้ว ให้คลิกปุ่ ม Publish โปรแกรมจะแปลงงานบน Stageเป็น Movie ตามฟอร์แมตที่เลือก โดยใช้ชื่อไฟล์เดียวกับไฟล์ Flash ต้นฉบับ