SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
ร่างแผนปฏิบัติการ
                          ด้านการศึกษาอาเซียน + 3 ระหว่างปี 2553-2560

      ขอบข่ายแผนปฏิบัติการอาเซียน + 3 (2553-2560) 6 ประการ
1. การส่งเสริมให้มีการลงทุนด้านการศึกษาและการฝึกอบรมแก่เด็กและ
   เยาวชนทุกระดับ การพัฒนาคุณภาพสถาบันการศึกษา
2. การส่งเสริมความร่วมมือ การสร้างเครือข่าย การวิจัยและพัฒนาระหว่าง
   สถาบันและหน่วยงานต่างๆ ด้านการศึกษา
3. ส่งเสริมความร่วมมือด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพิ่มการเชื่อมโยง
   เครือข่ายระหว่างมหาวิทยาลัย โดยใช้เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน
   และส่งเสริมการถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างมหาวิทยาลัย

   www.themegallery.com
ร่างแผนปฏิบัติการ
                        ด้านการศึกษาอาเซียน + 3 ระหว่างปี 2553 – 2560 (ต่อ)

 4. การสนั บ สนุ น กิ จ กรรมด้ า นการวิ จั ย และการแลกเปลี่ ย นทุ น และ
นักวิชาการในประเทศอาเซียน + 3 ที่มีความสนใจในการเสริมสร้าง
ความสัมพันธ์กับประเทศดังกล่าว
 5. การสร้างความพยายามในการเร่งรัดการออกวีซ่าให้แก่นักเรียนและ
นักวิชาการของประเทศสมาชิกอาเซียนซึ่งเดินทางไปประเทศดังกล่าว
เพื่อประโยชน์ด้านวิชาการ
  6. การปลูกฝังเอกลักษณ์เอเชียตะวันออกด้วยการส่งเสริมเกี่ยวกับ
การศึกษาอาเซียนและการศึกษาเอเชียตะวันออกในภูมิภาค


 www.themegallery.com
การประชุมเจ้าหน้ าที่อาวุโสด้านการศึกษาอาเซียนบวกสาม




www.themegallery.com
การประชุมความร่วมมือเอเชียตะวันออกด้านการศึกษา




www.themegallery.com
การประชุมด้านการศึกษาระหว่างอาเซียนกับรัฐอ่าวอาหรับ




www.themegallery.com
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน


ประเทศไทยมีบทบาทสาคัญในการผลักดันให้เกิดความร่วมมือด้าน
 การศึกษาเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน โดยได้เสนอปฏิญญา
 ชะอา-หัวหินว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อสร้าง
 ประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบ่งปันภายในปี ๒๕๕๘ ต่อผู้นา
 อาเซียน เพื่อให้การรับรองในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่
 ๑๕ ณ ชะอา-หัวหิน ประเทศไทย




www.themegallery.com
ปฏิญญาชะอา-หัวหินว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้าน
                                การศึกษาที่เอื้ออาทรที่แบ่งปัน

ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ ๑๕ ได้ให้การรับรอง เมื่อวันที่ ๒๔
 ตุลาคม ๒๕๕๒
เป็นการยกระดับเอกสารข้อเสนอด้านการศึกษาของที่ประชุม
 วิชาการระดับภูมิภาคเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษา
 เพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ระหว่างวันที่ ๒๓-๒๕ กุมภาพันธ์
 ๒๕๕๒ ณ โรงแรมอมารี วอเตอร์เกต และสวนนงนุช พัทยา จังหวัด
 ชลบุรี


www.themegallery.com
บทบาทของภาคการศึกษาใน
                       เสาการเมืองและความมันคงของอาเซียน
                                           ่

ประกอบด้วย การสนับสนุนความเข้าใจและความตระหนักรับรู้
 เรื่องกฎบัตรอาเซียนโดยผ่านหลักสูตรอาเซียนในโรงเรียน การ
 เน้ นในหลักการแห่งประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิมนุษยชน
 และค่านิยมในเรื่องแนวทางสันติภาพในหลักสูตรของโรงเรียน
 การสนับสนุนความเข้าใจและความตระหนักรับรู้ในความ
 หลากหลายทางวัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อในภูมิภาค



www.themegallery.com
บทบาทการศึกษาในเสาเศรษฐกิจ


ประกอบด้วย การพัฒนากรอบทักษะภายในประเทศของแต่ละประเทศ
 สมาชิกเพื่อช่วยสนับสนุนการมุ่งไปสู่การจัดทาการยอมรับทักษะใน
 อาเซียน การสนับสนุนการถ่ายโอนของนักเรียน นักศึกษาให้มากขึน การ
                                                            ้
 พัฒนามาตรฐานด้านอาชีพบนพืนฐานของความสามารถในภูมิภาค
                               ้
 อาเซียนโดยมุ่งการสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้สามารถ
 แข่งขันได้ทงในระดับภูมิภาคและระดับโลก และเพื่อสนองตอบต่อความ
            ั้
 ต้องการของภาคอุตสาหกรรม โดยประสานกับกระบวนการกรอบการ
 ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านแรงงาน



www.themegallery.com
บทบาทการศึกษาในเสาสังคมและวัฒนธรรม


การพัฒนาเนื้ อหาสาระร่วมในเรื่องอาเซียนสาหรับโรงเรียนเพื่อใช้อ้างอิง
 สาหรับการฝึ กอบรมและการสอนของครูอาจารย์
การเสนอให้มีหลักสูตรปริญญาด้านศิลปวัฒนธรรมอาเซียนใน
 มหาวิทยาลัย
การกาหนดให้ภาษาประจาชาติอาเซียนเป็ นภาษาต่างประเทศวิชาเลือก
 ในโรงเรียน
การสนับสนุนโครงการระดับภูมิภาคที่ม่งเน้ นที่การส่งเสริมการตระหนัก
                                     ุ
 รับรู้เกี่ยวกับอาเซียนให้แก่เยาวชน


www.themegallery.com
บทบาทการศึกษาในเสาสังคมและวัฒนธรรม (ต่อ)


การประชุมวิจัยทางด้านการศึกษาอาเซียนเพื่อส่งเสริมความ
 ร่วมมือทางการวิจัยและพัฒนาในภูมิภาคให้เป็นเวทีสาหรับ
 นักวิจัยจากประเทศสมาชิก
การสร้างความเข้าใจและการตระหนักรับรู้ในเรื่องสิ่งแวดล้อม
 ในภูมิภาคอาเซียนโดยการบูรณาการให้อยู่ในหลักสูตรใน
 โรงเรียน
การเฉลิมฉลอง วันอาเซียน (วันที่ ๘ สิงหาคม) ในโรงเรียน


www.themegallery.com
แผนยุทธศาสตร์การศึกษาของไทย




                           .




www.themegallery.com
นโยบายของประเทศไทยสู่อาเซียน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 เน้นการ
  สร้างความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยการพัฒนาบุคลากร
  และเสริมสร้างสถาบันการศึกษาให้มีมาตรฐาน
นโยบายนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร สร้างความสามัคคี
  และ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียน เพื่อให้บรรลุ
              เป้าหมายการจัดตั้งประชาคมอาเซียนและส่งเสริมความ
              ร่วมมือกับประเทศอื่น ๆ ในเอเชียภายใต้กรอบความ
              ร่วมมือด้านค่างๆ และเตรียมความพร้อมของทุกภาคใน
               การพัฒนาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘

        ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การเสริมสร้างความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน

 ด้วยการเสริมสร้างความตระหนักและค่านิยมร่วมการเป็นประชาชน
 อาเซียนในสังคมทุกระดับ รวมทั้งในสาขาการศึกษา
ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดทารูปแบบ
 โครงการอาเซียนศึกษาในภูมิภาค การจัดการเรียนการสอน เรื่องอาเซียน
 ในหลักสูตรโรงเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา การจัดทา
 โครงการฝึกอบรมครูและพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภายในภูมิภาค
 รวมทั้งการสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนนักศึกษา และการแลกเปลี่ยน
 วัฒนธรรม

www.themegallery.com
ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ)

           ยุทธศาสตร์ที่ ๒.๑ เสริมสร้างโอกาสในการได้รับการศึกษา
                      ในระดับประถมและมัธยมศึกษา
เพื่อบรรลุเป้าหมายการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน จากการประชุมโลกว่า
 การศึกษาเพื่อปวงชน เมื่อปี ๒๕๓๓ ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียนได้ให้การ
 รับรองการสร้างโอกาสการเรียนรู้และส่งเสริมให้มีการจัดการศึกษาใน
 ระดับประถมศึกษาทั่วโลกและให้มีการลดอัตราผู้ไม่รู้หนังสือ และต่อมา
 ประชาคมโลกได้กาหนดเป้าหมายเพื่อให้ทั่วโลกบรรลุเป้าหมายการจัด
 การศึกษาเพื่อปวงชนภายในปี ๒๕๕๘



www.themegallery.com
ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ)


  ยุทธศาสตร์ที่ ๒.๒ การเพิ่มคุณภาพการศึกษา การจัดมาตรฐานการศึกษา
                   การศึกษาตลอดชีวิตและการพัฒนาอาชีพ
 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
 ส่งเสริมการจัดการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน
 ส่งเสริมโอกาสให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อให้ประชาชนทุกคนสามารถ
  ศึกษาอย่างต่อเนื่อง
 การส่งเสริมให้มีการประกันคุณภาพและการเพิ่มคุณค่าแก่กลวิธีใหม่ๆ และ
  นวัตกรรมเพื่อฝึกอบรมครูและผู้นาการศึกษา
 ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีการสื่อสาร
   www.themegallery.com
ข้อเสนอแนะ


การแบ่งปันแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการประเมินนักเรียน
การจัดตั้งเครือข่ายย่อยสาหรับเสริมสร้างศักยภาพครู
การสนับสนุนให้มีการจัดทากรอบการประกันคุณภาพครูในภูมิภาค
การส่งเสริมให้มีการพัฒนาอาชีพครูและผู้บริหารโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
การแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่ดีในการสร้างแรงจูงใจครู
การส่งเสริมโครงการเทียบโอนหน่วยกิตของครูและการเคลื่อนย้ายครู
การเสริมสร้างศักยภาพเกี่ยวกับการบริหารโรงเรียน



www.themegallery.com
ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ)

      ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนและการจัดการศึกษา
                             ให้มีความเป็นสากล
1. การจัดการศึกษาแก่ผเรียนเป็ นไปเพื่อตอบสนองความต้องการของ
                         ู้
    ตลาดแรงงานและสภาพเศรษฐกิจของยุคโลกาภิวตน์ ซึ่งต้องอาศัย
                                                  ั
    แรงงานที่มีทกษะและความชานาญการสูง และสามารถเคลื่อนย้าย
                 ั
2. การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจาเป็ นต้องได้รบการพัฒนาในด้าน
                                                    ั
    คุณภาพ
3. สังคมเศรษฐกิจความรู้ทาให้ประเทศต่างๆ มีความต้องการแรงงานที่มี
    ทักษะสูง ที่จาเป็ นจะต้องได้รบพัฒนาความเชี่ยวชาญภายใต้การจัด
                                 ั
    โครงการทางการศึกษาเฉพาะด้าน

www.themegallery.com
ข้อเสนอแนะ


การแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับทรัพยากรในภูมิภาคและการเชื่อมโยงของประเทศ
 สมาชิกอาเซียน เช่น การจัดประชุมวิชาการเกี่ยวกับความเป็นสากลของ
 มหาวิทยาลัย การแบ่งปันทรัพยากรห้องสมุดและฐานข้อมูลระหว่างประเทศ
 สมาชิกอาเซียนและการจัดทาศูนย์การเรียนรู้
การส่งเสริมการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ที่ช่วยสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยน
 นักเรียน และทุนการศึกษาในทุกระดับ
การจัดทาแผนปฏิบัติการระดับชาติเพื่อให้สถาบันการอุดมศึกษามีความเป็นสากล
 โดยมุ่งเน้นที่ยุทธศาสตร์ในภูมิภาค เช่น การแลกเปลี่ยนนักเรียนในภูมิภาค การ
 แลกเปลี่ยนคณาจารย์ และจัดโครงการฝึกอบรมด้าน


   www.themegallery.com
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
                           การศึกษาและเรียนรู้ของคนไทย




 ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัด
การศึกษาเพื่อเตรียมการก้าวสู่         นโยบายการ
     ประชาคมอาเซียน                  ปฏิรูปการศึกษา
                                    ในทศวรรษที่สอง
ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ)


 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรรายสาขาอื่นๆ
                        เพื่อพัฒนาการศึกษา
การดาเนินงานของสาขาอื่นๆ ของอาเซียนมีส่วนเกี่ยวข้องกับการ
 ดาเนินงานด้านการศึกษา เช่น การศึกษาด้านสภาพแวดล้อม การจัดการ
 ด้านความเสี่ยงและภัยพิบัติ การจัดการศึกษาเพื่อสิทธิมนุษยชน การ
 จัดการศึกษาเพื่อการป้องกัน HIV/AIDS




www.themegallery.com
การดาเนินงานด้านการศึกษาเพื่อขับเคลื่อน
                         สู่ประชาคมอาเซียนของประเทศไทย

การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศไทย เพื่อรองรับการก้าวสู่การเป็น
 ประชาคมอาเซียน
แก้ไขปัญหาพื้นฐานระยะยาวของประเทศ พร้อมทั้งให้ความสาคัญต่อคุณภาพ
 การศึกษาของประเทศ โดยเฉพาะผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนใน
 วิชา ภาษาไทยภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๙) เพื่อพัฒนาคนอย่างรอบด้าน
 และสมดุล สร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมคุณธรรม ภูมิปัญญา และการเรียนรู้
 และพัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคมเพื่อเป็นฐานในการพัฒนาคน



www.themegallery.com
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษสอง

เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของประเทศ ด้วยการผลักดันนโยบาย
 เรียนฟรี ๑๕ ปี เพื่อสร้างโอกาสการศึกษาให้แก่คนไทยทุกคนให้ได้รับ
 การศึกษาอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง โดยเฉพาะ สร้างเด็กให้เป็นคนดี
 คนเก่ง มีความสุข มีความสามารถ สนับสนุนการแข่งขันของประเทศ อยู่
 ร่วมในสังคมโลกได้อย่างยั่งยืนบนพื้นฐานของความเป็นไทย ส่งเสริม
 การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง




www.themegallery.com
การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาในกรอบอาเซียนของประเทศไทย



นโยบายที่ ๑ การเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และเจตคติที่ดีเกี่ยวกับ
 อาเซียน เพื่อสร้างความตระหนักและเตรียมความพร้อมของครู
 คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา และประชาชน
 เพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ภายในปี ๒๕๕๘




www.themegallery.com
โครงการ/กิจกรรม

การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน
 ภายในปี ๒๕๕๘ ของประเทศไทย
จัดโครงการเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านประชาคมอาเซียน ให้แก่ บุคลากร
  ข้าราชการและประชาชนทัวไป เช่น โครงการอบรมและประชุมปฏิบติการ
                            ่                                   ั
  หลักสูตรพัฒนาสมรรถนะข้าราชการเพื่อเตรียมการก้าวสู่ประชาคม
  อาเซียน
จัดเวทีวิชาการเพื่อให้เกิดความรู้เกี่ยวกับอาเซียน และบูรณาการความ
  ร่วมมือระหว่างหน่ วยงานที่ดาเนินการอาเซียนด้านการศึกษาอย่าง
  สมาเสมอเพื่อให้เกิดผลปฏิบติที่เป็ นรูปธรรม
     ่                        ั


www.themegallery.com
โครงการ/กิจกรรม

                                              โครงการ/กิจกรรม
จัดโครงการสัมมนาทางวิชาการเพื่อสร้างความร่วมมือทางการศึกษาใน
 ภูมิภาคอาเซียน
สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับอาเซียนในหลักสูตรการศึกษาไทยทุกระดับ
 เพื่อให้ความรู้และสร้างเจตคติที่ดีเยาวชน และประชาชนชาวไทยเพื่อ
 พร้อมก้าวสู่การเป็ นประชาคมอาเซียน ภายในปี ๒๕๕๘




www.themegallery.com
การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาในกรอบอาเซียนของประเทศไทย


นโยบายที่ ๒ การพัฒนาศักยภาพของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนให้
 มีทักษะที่เหมาะสมเพื่อเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน
 เช่น ความรู้ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะ
 และความชานาญการที่สอดคล้องกับการปรับตัวและเปลี่ยนแปลงทาง
 อุตสาหกรรมและการเพิ่มโอกาสในการหางานทาของประชาชน รวมทั้ง
 การพิจารณาแผนผลิตกาลังคน




   www.themegallery.com
โครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาบุคลากรด้านภาษา เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาของกลุ่ม
 ประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงการพัฒนาวิชาอาเซียนศึกษา รายวิชาเลือกหรือบูรณาการเนื้ อหา
 ดังกล่าวลงในรายวิชาที่เกี่ยวข้องตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
 พ.ศ.๒๕๕๑
จัดกิจกรรม/การแข่งขันทางวิชาการในอาเซียน
จัดหลักสูตร การฝึ กอบรม ค่ายเยาวชน ฯลฯ




www.themegallery.com
การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาในกรอบอาเซียนของประเทศไทย


นโยบายที่ ๓ การพัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อส่งเสริมการหมุนเวียน
 ของนักศึกษาและครูอาจารย์ในอาเซียน รวมทังเพื่อให้มีการยอมรับใน
                                           ้
 คุณสมบัติทางวิชาการร่วมกันในอาเซียน การส่งเสริมความร่วมมือ
 ระหว่างสถาบันการศึกษาต่างๆ และการแลกเปลี่ยนเยาวชน การพัฒนา
 ระบบการศึกษาทางไกล ซึ่งช่วยสนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต การ
 ส่งเสริมและปรับปรุงการศึกษาด้านอาชีวศึกษาและการฝึ กอบรมทาง
 อาชีพทังในขันต้นและขันต่อเนื่ อง ตลอดจนส่งเสริมและเพิ่มพูนความ
         ้   ้        ้
 ร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาของประเทศสมาชิกของอาเซียน



   www.themegallery.com

More Related Content

Similar to อาเซียน

แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนsompriaw aums
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2krupornpana55
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีPayped คิคิ
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีPayped คิคิ
 
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูนงานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูนจุลี สร้อยญานะ
 
Asean thai readiness
Asean thai readinessAsean thai readiness
Asean thai readinessi_cavalry
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1
รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1
รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1jompon rattana
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 

Similar to อาเซียน (20)

แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 
Asean 007
Asean 007Asean 007
Asean 007
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
 
กรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาลกรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาล
 
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูนงานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
 
นโยบาย 4 ใหม่
นโยบาย 4 ใหม่นโยบาย 4 ใหม่
นโยบาย 4 ใหม่
 
นโยบาย 4ใหม่
 นโยบาย 4ใหม่ นโยบาย 4ใหม่
นโยบาย 4ใหม่
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
Asean thai readiness
Asean thai readinessAsean thai readiness
Asean thai readiness
 
คู่มือการบริหารสถานศึกษา
คู่มือการบริหารสถานศึกษาคู่มือการบริหารสถานศึกษา
คู่มือการบริหารสถานศึกษา
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1
รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1
รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 

อาเซียน

  • 1. ร่างแผนปฏิบัติการ ด้านการศึกษาอาเซียน + 3 ระหว่างปี 2553-2560 ขอบข่ายแผนปฏิบัติการอาเซียน + 3 (2553-2560) 6 ประการ 1. การส่งเสริมให้มีการลงทุนด้านการศึกษาและการฝึกอบรมแก่เด็กและ เยาวชนทุกระดับ การพัฒนาคุณภาพสถาบันการศึกษา 2. การส่งเสริมความร่วมมือ การสร้างเครือข่าย การวิจัยและพัฒนาระหว่าง สถาบันและหน่วยงานต่างๆ ด้านการศึกษา 3. ส่งเสริมความร่วมมือด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพิ่มการเชื่อมโยง เครือข่ายระหว่างมหาวิทยาลัย โดยใช้เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน และส่งเสริมการถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างมหาวิทยาลัย www.themegallery.com
  • 2. ร่างแผนปฏิบัติการ ด้านการศึกษาอาเซียน + 3 ระหว่างปี 2553 – 2560 (ต่อ) 4. การสนั บ สนุ น กิ จ กรรมด้ า นการวิ จั ย และการแลกเปลี่ ย นทุ น และ นักวิชาการในประเทศอาเซียน + 3 ที่มีความสนใจในการเสริมสร้าง ความสัมพันธ์กับประเทศดังกล่าว 5. การสร้างความพยายามในการเร่งรัดการออกวีซ่าให้แก่นักเรียนและ นักวิชาการของประเทศสมาชิกอาเซียนซึ่งเดินทางไปประเทศดังกล่าว เพื่อประโยชน์ด้านวิชาการ 6. การปลูกฝังเอกลักษณ์เอเชียตะวันออกด้วยการส่งเสริมเกี่ยวกับ การศึกษาอาเซียนและการศึกษาเอเชียตะวันออกในภูมิภาค www.themegallery.com
  • 6. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ประเทศไทยมีบทบาทสาคัญในการผลักดันให้เกิดความร่วมมือด้าน การศึกษาเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน โดยได้เสนอปฏิญญา ชะอา-หัวหินว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อสร้าง ประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบ่งปันภายในปี ๒๕๕๘ ต่อผู้นา อาเซียน เพื่อให้การรับรองในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ ๑๕ ณ ชะอา-หัวหิน ประเทศไทย www.themegallery.com
  • 7. ปฏิญญาชะอา-หัวหินว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้าน การศึกษาที่เอื้ออาทรที่แบ่งปัน ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ ๑๕ ได้ให้การรับรอง เมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๒ เป็นการยกระดับเอกสารข้อเสนอด้านการศึกษาของที่ประชุม วิชาการระดับภูมิภาคเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษา เพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ระหว่างวันที่ ๒๓-๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ ณ โรงแรมอมารี วอเตอร์เกต และสวนนงนุช พัทยา จังหวัด ชลบุรี www.themegallery.com
  • 8. บทบาทของภาคการศึกษาใน เสาการเมืองและความมันคงของอาเซียน ่ ประกอบด้วย การสนับสนุนความเข้าใจและความตระหนักรับรู้ เรื่องกฎบัตรอาเซียนโดยผ่านหลักสูตรอาเซียนในโรงเรียน การ เน้ นในหลักการแห่งประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิมนุษยชน และค่านิยมในเรื่องแนวทางสันติภาพในหลักสูตรของโรงเรียน การสนับสนุนความเข้าใจและความตระหนักรับรู้ในความ หลากหลายทางวัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อในภูมิภาค www.themegallery.com
  • 9. บทบาทการศึกษาในเสาเศรษฐกิจ ประกอบด้วย การพัฒนากรอบทักษะภายในประเทศของแต่ละประเทศ สมาชิกเพื่อช่วยสนับสนุนการมุ่งไปสู่การจัดทาการยอมรับทักษะใน อาเซียน การสนับสนุนการถ่ายโอนของนักเรียน นักศึกษาให้มากขึน การ ้ พัฒนามาตรฐานด้านอาชีพบนพืนฐานของความสามารถในภูมิภาค ้ อาเซียนโดยมุ่งการสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้สามารถ แข่งขันได้ทงในระดับภูมิภาคและระดับโลก และเพื่อสนองตอบต่อความ ั้ ต้องการของภาคอุตสาหกรรม โดยประสานกับกระบวนการกรอบการ ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านแรงงาน www.themegallery.com
  • 10. บทบาทการศึกษาในเสาสังคมและวัฒนธรรม การพัฒนาเนื้ อหาสาระร่วมในเรื่องอาเซียนสาหรับโรงเรียนเพื่อใช้อ้างอิง สาหรับการฝึ กอบรมและการสอนของครูอาจารย์ การเสนอให้มีหลักสูตรปริญญาด้านศิลปวัฒนธรรมอาเซียนใน มหาวิทยาลัย การกาหนดให้ภาษาประจาชาติอาเซียนเป็ นภาษาต่างประเทศวิชาเลือก ในโรงเรียน การสนับสนุนโครงการระดับภูมิภาคที่ม่งเน้ นที่การส่งเสริมการตระหนัก ุ รับรู้เกี่ยวกับอาเซียนให้แก่เยาวชน www.themegallery.com
  • 11. บทบาทการศึกษาในเสาสังคมและวัฒนธรรม (ต่อ) การประชุมวิจัยทางด้านการศึกษาอาเซียนเพื่อส่งเสริมความ ร่วมมือทางการวิจัยและพัฒนาในภูมิภาคให้เป็นเวทีสาหรับ นักวิจัยจากประเทศสมาชิก การสร้างความเข้าใจและการตระหนักรับรู้ในเรื่องสิ่งแวดล้อม ในภูมิภาคอาเซียนโดยการบูรณาการให้อยู่ในหลักสูตรใน โรงเรียน การเฉลิมฉลอง วันอาเซียน (วันที่ ๘ สิงหาคม) ในโรงเรียน www.themegallery.com
  • 13. นโยบายของประเทศไทยสู่อาเซียน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 เน้นการ สร้างความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยการพัฒนาบุคลากร และเสริมสร้างสถาบันการศึกษาให้มีมาตรฐาน นโยบายนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร สร้างความสามัคคี และ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียน เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายการจัดตั้งประชาคมอาเซียนและส่งเสริมความ ร่วมมือกับประเทศอื่น ๆ ในเอเชียภายใต้กรอบความ ร่วมมือด้านค่างๆ และเตรียมความพร้อมของทุกภาคใน การพัฒนาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
  • 14. ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การเสริมสร้างความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน ด้วยการเสริมสร้างความตระหนักและค่านิยมร่วมการเป็นประชาชน อาเซียนในสังคมทุกระดับ รวมทั้งในสาขาการศึกษา ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดทารูปแบบ โครงการอาเซียนศึกษาในภูมิภาค การจัดการเรียนการสอน เรื่องอาเซียน ในหลักสูตรโรงเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา การจัดทา โครงการฝึกอบรมครูและพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภายในภูมิภาค รวมทั้งการสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนนักศึกษา และการแลกเปลี่ยน วัฒนธรรม www.themegallery.com
  • 15. ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ ๒.๑ เสริมสร้างโอกาสในการได้รับการศึกษา ในระดับประถมและมัธยมศึกษา เพื่อบรรลุเป้าหมายการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน จากการประชุมโลกว่า การศึกษาเพื่อปวงชน เมื่อปี ๒๕๓๓ ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียนได้ให้การ รับรองการสร้างโอกาสการเรียนรู้และส่งเสริมให้มีการจัดการศึกษาใน ระดับประถมศึกษาทั่วโลกและให้มีการลดอัตราผู้ไม่รู้หนังสือ และต่อมา ประชาคมโลกได้กาหนดเป้าหมายเพื่อให้ทั่วโลกบรรลุเป้าหมายการจัด การศึกษาเพื่อปวงชนภายในปี ๒๕๕๘ www.themegallery.com
  • 16. ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ ๒.๒ การเพิ่มคุณภาพการศึกษา การจัดมาตรฐานการศึกษา การศึกษาตลอดชีวิตและการพัฒนาอาชีพ  การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา  ส่งเสริมการจัดการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน  ส่งเสริมโอกาสให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อให้ประชาชนทุกคนสามารถ ศึกษาอย่างต่อเนื่อง  การส่งเสริมให้มีการประกันคุณภาพและการเพิ่มคุณค่าแก่กลวิธีใหม่ๆ และ นวัตกรรมเพื่อฝึกอบรมครูและผู้นาการศึกษา  ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีการสื่อสาร www.themegallery.com
  • 17. ข้อเสนอแนะ การแบ่งปันแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการประเมินนักเรียน การจัดตั้งเครือข่ายย่อยสาหรับเสริมสร้างศักยภาพครู การสนับสนุนให้มีการจัดทากรอบการประกันคุณภาพครูในภูมิภาค การส่งเสริมให้มีการพัฒนาอาชีพครูและผู้บริหารโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง การแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่ดีในการสร้างแรงจูงใจครู การส่งเสริมโครงการเทียบโอนหน่วยกิตของครูและการเคลื่อนย้ายครู การเสริมสร้างศักยภาพเกี่ยวกับการบริหารโรงเรียน www.themegallery.com
  • 18. ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนและการจัดการศึกษา ให้มีความเป็นสากล 1. การจัดการศึกษาแก่ผเรียนเป็ นไปเพื่อตอบสนองความต้องการของ ู้ ตลาดแรงงานและสภาพเศรษฐกิจของยุคโลกาภิวตน์ ซึ่งต้องอาศัย ั แรงงานที่มีทกษะและความชานาญการสูง และสามารถเคลื่อนย้าย ั 2. การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจาเป็ นต้องได้รบการพัฒนาในด้าน ั คุณภาพ 3. สังคมเศรษฐกิจความรู้ทาให้ประเทศต่างๆ มีความต้องการแรงงานที่มี ทักษะสูง ที่จาเป็ นจะต้องได้รบพัฒนาความเชี่ยวชาญภายใต้การจัด ั โครงการทางการศึกษาเฉพาะด้าน www.themegallery.com
  • 19. ข้อเสนอแนะ การแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับทรัพยากรในภูมิภาคและการเชื่อมโยงของประเทศ สมาชิกอาเซียน เช่น การจัดประชุมวิชาการเกี่ยวกับความเป็นสากลของ มหาวิทยาลัย การแบ่งปันทรัพยากรห้องสมุดและฐานข้อมูลระหว่างประเทศ สมาชิกอาเซียนและการจัดทาศูนย์การเรียนรู้ การส่งเสริมการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ที่ช่วยสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยน นักเรียน และทุนการศึกษาในทุกระดับ การจัดทาแผนปฏิบัติการระดับชาติเพื่อให้สถาบันการอุดมศึกษามีความเป็นสากล โดยมุ่งเน้นที่ยุทธศาสตร์ในภูมิภาค เช่น การแลกเปลี่ยนนักเรียนในภูมิภาค การ แลกเปลี่ยนคณาจารย์ และจัดโครงการฝึกอบรมด้าน www.themegallery.com
  • 20. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาและเรียนรู้ของคนไทย ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัด การศึกษาเพื่อเตรียมการก้าวสู่ นโยบายการ ประชาคมอาเซียน ปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง
  • 21. ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอาเซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรรายสาขาอื่นๆ เพื่อพัฒนาการศึกษา การดาเนินงานของสาขาอื่นๆ ของอาเซียนมีส่วนเกี่ยวข้องกับการ ดาเนินงานด้านการศึกษา เช่น การศึกษาด้านสภาพแวดล้อม การจัดการ ด้านความเสี่ยงและภัยพิบัติ การจัดการศึกษาเพื่อสิทธิมนุษยชน การ จัดการศึกษาเพื่อการป้องกัน HIV/AIDS www.themegallery.com
  • 22. การดาเนินงานด้านการศึกษาเพื่อขับเคลื่อน สู่ประชาคมอาเซียนของประเทศไทย การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศไทย เพื่อรองรับการก้าวสู่การเป็น ประชาคมอาเซียน แก้ไขปัญหาพื้นฐานระยะยาวของประเทศ พร้อมทั้งให้ความสาคัญต่อคุณภาพ การศึกษาของประเทศ โดยเฉพาะผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนใน วิชา ภาษาไทยภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๙) เพื่อพัฒนาคนอย่างรอบด้าน และสมดุล สร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมคุณธรรม ภูมิปัญญา และการเรียนรู้ และพัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคมเพื่อเป็นฐานในการพัฒนาคน www.themegallery.com
  • 23. การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษสอง เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของประเทศ ด้วยการผลักดันนโยบาย เรียนฟรี ๑๕ ปี เพื่อสร้างโอกาสการศึกษาให้แก่คนไทยทุกคนให้ได้รับ การศึกษาอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง โดยเฉพาะ สร้างเด็กให้เป็นคนดี คนเก่ง มีความสุข มีความสามารถ สนับสนุนการแข่งขันของประเทศ อยู่ ร่วมในสังคมโลกได้อย่างยั่งยืนบนพื้นฐานของความเป็นไทย ส่งเสริม การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง www.themegallery.com
  • 24. การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาในกรอบอาเซียนของประเทศไทย นโยบายที่ ๑ การเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และเจตคติที่ดีเกี่ยวกับ อาเซียน เพื่อสร้างความตระหนักและเตรียมความพร้อมของครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา และประชาชน เพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ภายในปี ๒๕๕๘ www.themegallery.com
  • 25. โครงการ/กิจกรรม การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ภายในปี ๒๕๕๘ ของประเทศไทย จัดโครงการเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านประชาคมอาเซียน ให้แก่ บุคลากร ข้าราชการและประชาชนทัวไป เช่น โครงการอบรมและประชุมปฏิบติการ ่ ั หลักสูตรพัฒนาสมรรถนะข้าราชการเพื่อเตรียมการก้าวสู่ประชาคม อาเซียน จัดเวทีวิชาการเพื่อให้เกิดความรู้เกี่ยวกับอาเซียน และบูรณาการความ ร่วมมือระหว่างหน่ วยงานที่ดาเนินการอาเซียนด้านการศึกษาอย่าง สมาเสมอเพื่อให้เกิดผลปฏิบติที่เป็ นรูปธรรม ่ ั www.themegallery.com
  • 26. โครงการ/กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม จัดโครงการสัมมนาทางวิชาการเพื่อสร้างความร่วมมือทางการศึกษาใน ภูมิภาคอาเซียน สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับอาเซียนในหลักสูตรการศึกษาไทยทุกระดับ เพื่อให้ความรู้และสร้างเจตคติที่ดีเยาวชน และประชาชนชาวไทยเพื่อ พร้อมก้าวสู่การเป็ นประชาคมอาเซียน ภายในปี ๒๕๕๘ www.themegallery.com
  • 27. การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาในกรอบอาเซียนของประเทศไทย นโยบายที่ ๒ การพัฒนาศักยภาพของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนให้ มีทักษะที่เหมาะสมเพื่อเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน เช่น ความรู้ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะ และความชานาญการที่สอดคล้องกับการปรับตัวและเปลี่ยนแปลงทาง อุตสาหกรรมและการเพิ่มโอกาสในการหางานทาของประชาชน รวมทั้ง การพิจารณาแผนผลิตกาลังคน www.themegallery.com
  • 28. โครงการ/กิจกรรม โครงการพัฒนาบุคลากรด้านภาษา เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาของกลุ่ม ประเทศสมาชิกอาเซียน โครงการพัฒนาวิชาอาเซียนศึกษา รายวิชาเลือกหรือบูรณาการเนื้ อหา ดังกล่าวลงในรายวิชาที่เกี่ยวข้องตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ พ.ศ.๒๕๕๑ จัดกิจกรรม/การแข่งขันทางวิชาการในอาเซียน จัดหลักสูตร การฝึ กอบรม ค่ายเยาวชน ฯลฯ www.themegallery.com
  • 29. การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาในกรอบอาเซียนของประเทศไทย นโยบายที่ ๓ การพัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อส่งเสริมการหมุนเวียน ของนักศึกษาและครูอาจารย์ในอาเซียน รวมทังเพื่อให้มีการยอมรับใน ้ คุณสมบัติทางวิชาการร่วมกันในอาเซียน การส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างสถาบันการศึกษาต่างๆ และการแลกเปลี่ยนเยาวชน การพัฒนา ระบบการศึกษาทางไกล ซึ่งช่วยสนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต การ ส่งเสริมและปรับปรุงการศึกษาด้านอาชีวศึกษาและการฝึ กอบรมทาง อาชีพทังในขันต้นและขันต่อเนื่ อง ตลอดจนส่งเสริมและเพิ่มพูนความ ้ ้ ้ ร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาของประเทศสมาชิกของอาเซียน www.themegallery.com