SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
โรคฮีโมฟีเลีย
โรคเลือดออกง่ายหยุดยาก
จัดทาโดย
 นางสาวไอรินทร์ เปี้ยสา    เลขที่ 4
 นางสาวจามจุรี     บุญทศ   เลขที่ 5
 นางสาวตรีธารทิพย์ คาขจร   เลขที่ 6
นางสาวพุทธรักษา นพคุณ      เลขที่ 10

         เสนอต่อ
   คุณครู สุกัญญา   เพชรอินทร์
อาการเป็นอย่างไรเอ่ย?
       จะเป็นจ้าเขียว และมีอาการเลือดออกภายในข้อ
 ต่างๆ ของร่างกาย เมื่อเริ่มมีอาการผู้ป่วยจะมีอาการ
 ปวดตึงขัดบริเวณกล้ามเนื้อและข้อ อาการจะรุนแรงมาก
 ขึ้น มีข้อติด กล้ามเนื้อลีบ หรือเกิดภาวะข้อพิการได้ หาก
 ไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและเหมาะสม
ระดับอาการ
สาเหตุของโรคฮีโมฟีเลีย
        โรคฮีโมฟีเลีย เกิดจากภาวะขาดปัจจัยการแข็งตัวของ
 เลือดที่เรียกว่าแฟคเตอร์ 8 หรือ แฟคเตอร์ 9 มาแต่กาเนิด
 ดังนั้นการรักษาผู้ป่วยโรคนี้ต้องให้แฟคเตอร์เข้มข้นทดแทน
 ปัจจัยการแข็งตัวของเลือดที่ผู้ป่วยขาดไป
วิธีการดูแลรักษา
        รับแฟคเตอร์เข้มข้น การให้ปัจจัยการแข็งตัวของเลือดที่ผู้ป่วย
 ขาดในรูปของพลาสมาที่ได้รับจากธนาคารเลือด หรือสภากาชาดไทย
 หรือแฟคเตอร์เข้มข้น ปัจจุบันผู้ป่วยสามารถเก็บแฟคเตอร์เข้มข้นไว้ฉีด
 เองที่บ้านได้ โดยผู้ป่วยหรือคนใกล้ชิดเฉพาะเด็กโต 5 ปีขึ้นไป เห็นเส้น
 เลือดชัดเจนจะได้รับการสอนให้ฉีดเองได้ ข้อดีคือรักษาภาวะเลือกออก
 ได้ทันทีลดภาวะแทรกซ้อน เช่น ความพิการตามข้อต่างๆ ลดค่าใช้จ่าย
 ในการรักษาพยาบาล และผู้ป่วยก็ไม่จาเป็นต้องขาดเรียน
ขอบคุณที่ติดตาม
   สวัสดีคะ

More Related Content

More from Roongroeng

ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดิน
Roongroeng
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
Roongroeng
 
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
Roongroeng
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
Roongroeng
 
โรคตาบอดสี
โรคตาบอดสีโรคตาบอดสี
โรคตาบอดสี
Roongroeng
 
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
Roongroeng
 

More from Roongroeng (6)

ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดิน
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
โรคตาบอดสี
โรคตาบอดสีโรคตาบอดสี
โรคตาบอดสี
 
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
 

โรคฮีโมฟีเลีย

  • 2. จัดทาโดย นางสาวไอรินทร์ เปี้ยสา เลขที่ 4 นางสาวจามจุรี บุญทศ เลขที่ 5 นางสาวตรีธารทิพย์ คาขจร เลขที่ 6 นางสาวพุทธรักษา นพคุณ เลขที่ 10 เสนอต่อ คุณครู สุกัญญา เพชรอินทร์
  • 3.
  • 4. อาการเป็นอย่างไรเอ่ย? จะเป็นจ้าเขียว และมีอาการเลือดออกภายในข้อ ต่างๆ ของร่างกาย เมื่อเริ่มมีอาการผู้ป่วยจะมีอาการ ปวดตึงขัดบริเวณกล้ามเนื้อและข้อ อาการจะรุนแรงมาก ขึ้น มีข้อติด กล้ามเนื้อลีบ หรือเกิดภาวะข้อพิการได้ หาก ไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและเหมาะสม
  • 6. สาเหตุของโรคฮีโมฟีเลีย โรคฮีโมฟีเลีย เกิดจากภาวะขาดปัจจัยการแข็งตัวของ เลือดที่เรียกว่าแฟคเตอร์ 8 หรือ แฟคเตอร์ 9 มาแต่กาเนิด ดังนั้นการรักษาผู้ป่วยโรคนี้ต้องให้แฟคเตอร์เข้มข้นทดแทน ปัจจัยการแข็งตัวของเลือดที่ผู้ป่วยขาดไป
  • 7. วิธีการดูแลรักษา รับแฟคเตอร์เข้มข้น การให้ปัจจัยการแข็งตัวของเลือดที่ผู้ป่วย ขาดในรูปของพลาสมาที่ได้รับจากธนาคารเลือด หรือสภากาชาดไทย หรือแฟคเตอร์เข้มข้น ปัจจุบันผู้ป่วยสามารถเก็บแฟคเตอร์เข้มข้นไว้ฉีด เองที่บ้านได้ โดยผู้ป่วยหรือคนใกล้ชิดเฉพาะเด็กโต 5 ปีขึ้นไป เห็นเส้น เลือดชัดเจนจะได้รับการสอนให้ฉีดเองได้ ข้อดีคือรักษาภาวะเลือกออก ได้ทันทีลดภาวะแทรกซ้อน เช่น ความพิการตามข้อต่างๆ ลดค่าใช้จ่าย ในการรักษาพยาบาล และผู้ป่วยก็ไม่จาเป็นต้องขาดเรียน