SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Download to read offline
การบินไทย สวัสดีค่ะ
ประวัตของบริษท การบินไทย จํากัดมหาชน
              ิ      ั
• บริษัท การบินไทย จํากัด ( มหาชน ) เป็ นรัฐวิสาหกิจ ใน
  สั งกัดกระทรวงคมนาคม ดําเนินกิจการในด้ านการบิน
  พาณิชย์ ในประเทศ และระหว่ างประเทศ ในฐานะสายการบิน
  แห่ งชาติ
• การบินไทยเริมก่ อตังขึนโดยการทําสั ญญาร่ วมทุนระหว่ าง
  บริษัท เดินอากาศไทย จํากัด กับสายการบินสแกนดิเนเวียน
  แอร์ ไลน์ ซิสเต็ม หรือใช้ ชือย่ อว่ า เอส เอ เอส เมือวันที 24
  สิ งหาคม 2502
• ต่ อมา เมือวันที 30 มีนาคม 2520 เอส. เอ. เอส. ได้ โอนหุ้นทีมี
  อยู่ทังหมดให้ แก่ บริษัท เดินอากาศไทย จํากัด
• ต่ อมาเมือวันที1 เมษายน 2531 คณะรัฐมนตรีได้ มีมติให้
  ดําเนินการรวมกิจการการบินภายในประเทศทีดําเนินการ
  โดยบริษัท เดินอากาศไทย จํากัด เข้ ากับกิจการของบริษัทฯ
  โดยมีกระทรวงการคลังเป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ดังนันบริษัทฯ
  จึงเป็ นสายการบินแห่ งชาติ
วิสัยทัศน์ ของบริษทการบินไทย จํากัด มหาชน
                  ั

  เป็ นสายการบินทีลูกค้ าเลือกเป็ นอันดับแรก
          ให้ บริการดีเลิศด้ วยเสน่ ห์ไทย
ภารกิจของบริ ษทการบินไทย จํากัด มหาชน
                       ั
• ให้บริ การขนส่ งทางอากาศอย่างครบวงจร ทัง
  ภายในประเทศและระหว่างประเทศ โดยใส่ ใจใน
  เรื องความปลอดภัย ความสะดวกสบาย และ การ
  บริ การทีมีคุณภาพ เพือสร้างความเชือมันและ
  ความพึงพอใจต่อลูกค้า
• มีการบริ หารธุรกิจอย่างมีประสิ ทธิภาพ และ
  โปร่ งใสด้วยความซื อสัตย์สุจริ ตตามแนวทาง
  ปฏิบติทีเป็ นสากล และมีผลประกอบการทีน่า
        ั
  พอใจ เพือสร้างประโยชน์สูงสุ ดให้แก่ผถือหุน
                                         ู้ ้
• สร้างสิ งแวดล้อมในการทํางานและให้
  ผลตอบแทนทีเหมาะสม เพือจูงใจให้พนักงาน
  เรี ยนรู ้และทํางานอย่างเต็มศักยภาพ และภูมิใจที
  เป็ นส่ วนร่ วมในความสําเร็ จของบริ ษทฯ
                                       ั
• มีความรับผิดชอบต่อสังคม ในฐานะเป็ นสายการ
  บินแห่งชาติ
นโยบายของบริษท การบินไทย จํากัก มหาชน
                  ั
ดําเนินงานในฐานะทีเป็ นสายการบินแห่ งชาติ เป็ นตัวแทนของประเทศไทยในการดํารงรักษาและ
  เพิมพูนสิ ทธิด้านการบิน ร่ วมส่ งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมการท่ องเทียว แสวงหาและ
  เพิมพูนรายได้ ทังในรู ปเงินบาท และเงินตราต่ างประเทศ นอกจากนัน ยังดําเนินการส่ งเสริม
  พัฒนาทรัพยากรบุคคลของบริษทฯ ให้ มทกษะ และวิชาชีพทีเป็ นมาตรฐานสากล รวมถึง
                                   ั      ี ั
  ส่ งเสริมพัฒนาเทคโนโลยีทุกสาขาทีเกียวข้ อง ในการบินพาณิชย์ ของโลก ทังนี บริษทฯ ยังมุ่ง
                                                                              ั
  เผยแพร่ วฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และเอกลักษณ์ ของประเทศไทย สู่ สายตาชาวโลก
             ั
  อย่ างต่ อเนือง
นโยบายด้ านสิ งแวดล้ อมของบริษท
                                        ั
1. บริ ษทฯ จะพัฒนาระบบการจัดการสิ งแวดล้ อมตาม
        ั
มาตรฐานสากลเพือทําให้ มนใจว่ า กิจกรรมและการ
                              ั
ดําเนินงานของบริษทฯ จะเป็ นไปตามมาตรฐานและ
                      ั
กฎหมายด้ านสิ งแวดล้ อมทีเกียวข้ อง
2. พัฒนาและปรั บปรุ งระบบการจัดการสิ งแวดล้ อม ในทุก
กิจกรรมของบริษทฯ เพือลดมลภาวะและผลกระทบต่ อ
                   ั
สิ งแวดล้ อมอย่ างต่ อเนือง
3. การดําเนินงานของบริ ษทฯ จะคํานึงถึงผลกระทบต่ อ
                            ั
สิ งแวดล้ อมในประเด็นทีสํ าคัญต่ างๆ การนําสิ งของมาใช้ ซํา
หรือการนํากลับมาใช้ ใหม่ เพือเป็ นการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ
ผลการดําเนินงาน
                                     ํ
ผลการดําเนินงานของการบินไทยมีกาไรต่อเนืองมาตังแต่ปีงบประมาณ2507/2508
จนถึงปั จจุบน แม้วาธุรกิจการบินเป็ นธุรกิจทีต้องมีการลงทุนและค่าใช้จ่ายทีสู ง
            ั     ่
มาก นอกจากผลการดําเนิ นการด้านกําไร การบินไทยยังได้ชือว่าเป็ นผูร่วมบุกเบิก
                                                                      ้
จุดบินใหม่ๆ จนได้เป็ นทีรู ้จกกันทัวโลก ริ เริ มการบินเส้นทางตรงสู่ยโรป รวมทัง
                             ั                                      ุ
เปิ ดเส้นทางบินใหม่ๆ ในภูมิภาคนีเพือใช้กรุ งเทพฯ เป็ นศูนย์กลางการบิน และได้
ร่ วมกําหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในด้าน
ผลการดําเนินงาน
• 2552บริ ษทฯ มีรายได้รวมทังสิ น 163,875 ล้านบาท ลดลงจากปี ก่อน
            ั
  38,731 ล้านบาท หรื อร้อยละ 19.1 สาเหตุสาคัญ เนืองจากการแข่งขัน
                                          ํ
  ด้านราคาทีรุ นแรง ปริ มาณการ ขนส่ งทีลดลง


• 2553 เดือนมกราคมถึงสิ นเดือนธันวาคม บริ ษท        ั
  ฯ ได้ดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์จนสามารถ
         ํ
  ประสบความสําเร็ จในการสร้างพืนฐานธุรกิจที
                ั
  แข็งแกร่ งให้กบองค์กร (Build Solid Foundation) ถึงแม้จะ
  ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ภเู ขาไฟระเบิดใน
จรรยาบรรณของบริษท
                                 ั
1. ปฏิบติต่อลูกค้าและผูเ้ กียวข้องทางธุรกิจด้วยความเป็ นธรรม ซือสัตย์
         ั
สุ จริ ตและรักษาผลประโยชน์ของลูกค้าทุกคน
2. ไม่ฝักใฝ่ ทางการเมือง โดยวางตัวเป็ นกลางเพือสร้างประโยชน์ให้
สังคมและประเทศชาติ
3. ดําเนินธุรกิจบนพืนฐานของการแข่งขันทีเป็ นธรรม
4. สนับสนุนการใช้ทรัพยากรภายในประเทศอย่างมีประสิ ทธิภาพ โดย
คํานึงถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม
พัฒนาการการบินไทย
• พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2502 - พ.ศ. 2511
• 2502 - ในเดือนสิ งหาคม การบินไทยร่ วมกับสายการบิน สแกนดิเนเวียน แอร์ ไลน์ ได้
  ก่อตังสายการบินระหว่างประเทศสายใหม่
• 2503 - ในวันที 1 พฤษภาคม เครื องบินใบพัดดักกลาส ดีซี 6 บี พร้อมผูโดยสารเต็มลํา
                                                                    ้
  จํานวน 60 คน ออกเดินทางจากท่าอากาศยานกรุ งเทพ ไปสู่เมือง ฮ่องกง ไทเป และ
  โตเกียว นับเป็ นเทียวบินแรกของการบินไทย ซึ งภายในปี แรกของการบินไทย ได้ทาการ   ํ
  บินเชือมโยงกรุ งเทพฯ กับ 11 จุดบิน ในทวีปเอเชีย โดยใช้ฝงบิน ดีซี 6 บี จํานวน 3 ลํา
                                                         ู
• 2504 - ในปี นีการบินไทยให้บริ การผูโดยสารมากกว่า 83,000 คน และได้สร้าง
                                     ้
  เอกลักษณ์ของบริ การเอืองหลวง โดยผสมผสานความเป็ นไทยในการบริ การบนเครื อง
• 2505 - เครื องบินไอพ่น คอนแวร์ 990 โคโรนาโด ขนาด 99 ทีนังลําแรก และนับเป็ นพระ
                                          ่ ั
  มหากรุ ณาธิ คุณทีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว และสมเด็จพระนางเจ้า
  พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดําเนินเปิ ดเทียวบินปฐมฤกษ์ของเครื องบินลํานี
พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2502 - พ.ศ. 2511
• 2506 - การบินไทยร่ วมกับสายการบินอืนๆ ในภูมิภาคเอเชีย ทําการบินในเส้นทาง จากกรุ งเทพฯ สู่
  ฮ่องกง กัลกัตตา และสิ งคโปร์ เพือให้บริ การผูโดยสารด้วยจํานวนเทียวบินทีมากขึน และมีความ
                                               ้
  สะดวกสบายยิงขึน สํานักงานใหญ่ ของการบินไทยในขณะนัน เป็ นอาคาร 3 ชัน บนถนนเจริ ญ
  กรุ ง และมีพนักงานกว่า 600 คน
• 2507 - การบินไทยขยายฝูงบินอีกครัง โดยเพิมเครื องบินไอพ่น คาราแวล เอสอี 210 ขนาด 72 ทีนัง
  ซึ งผลิตจากประเทศฝรังเศส และมีความลําสมัยอย่างยิง
                          ํ
• 2508 - การบินไทยเริ มมีกาไร จากผลการดําเนินงานเป็ นปี แรก เป็ นจํานวนเงินทังสิ น 3.9 ล้านบาท
              ั                              ํ
  และตังแต่นนเป็ นต้นมา การบินไทยยังคงมีกาไรต่อเนืองทุกปี จนกระทังถึงปั จจุบน  ั
• 2509 - การบินไทย เป็ นสายการบินแรกในทวีปเอเชีย ทีใช้เครื องบินไอพ่นทังฝูงบิน
• 2510 - ในปี นีการบินไทยให้บริ การแก่ผโดยสารถึง 1 ล้านคน และได้เริ มการบุกเบิก เส้นทางบินสู่
                                        ู้
  บาหลี ซึ งนับว่าประสบผลสําเร็ จอย่างงดงาม โดยได้เปิ ดประตูเมืองบาหลี สู่สายตานักท่องเทียวทัว
  โลก
• 2511 - จากความสําเร็ จของการบุกเบิกเทียวบินสู่บาหลี การบินไทยได้ริเริ มเทียวบิน สู่ เมือง
  กาฐมาณฑุ และประสบความสําเร็ จอีกครัง ในการส่ งเสริ มเมืองท่องเทียวแห่งใหม่ ในทวีปเอเชีย
  และในปี นี ได้เพิมเส้นทางบินไปยังกรุ งโซล และกรุ งเดลลี อีกด้วย
พัฒนาการการบินไทย
• พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2512 - พ.ศ. 2521
• 2512 การบินไทยประสบผลสําเร็ จตามเป้ าหมายทีวางไว้ สามารถให้บริ การ โดย
  ใช้ฝงบินไอพ่นทังหมด อีกทังยังได้ทาการเผยแพร่ วฒนธรรมไทย และการ
       ู                                 ํ             ั
  ท่องเทียวสู่ สายตาชาวโลก
• 2513 บริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด และสายการบินสแกนดิเนเวียน ซึ งได้ร่วมทุน
               ั
  ก่อตังการบินไทยมาครบ 10 ปี ได้ดาเนินการต่อสัญญาความร่ วมมือระหว่างกัน
                                       ํ
  ออกไปอีก 7 ปี
• 2514 การบินไทยเริ มทําการบินข้ามทวีปเป็ นครังแรก เชือมโยง กรุ งเทพฯ -
  สิ งคโปร์ - ซิ ดนีย ์ และเปิ ดอาคารคลังสิ นค้าแห่งใหม่ ณ ท่าอากาศยานกรุ งเทพ ซึ ง
  ในปี แรกให้บริ การสิ นค้าเข้า-ออก ได้ถึง2,000 ตัน
• 2515 การบินไทยเปิ ดเส้นทางบินข้ามทวีปเส้นทางที 2 จากเอเชียสู่ ยโรป สู่ เมือง
                                                                     ุ
  โคเปนเฮเกน และได้ติดตังเครื องฝึ กบินจําลองแบบ ดีซี 8-33 เครื องแรกทีมีระบบ
  ควบคุมอัตโนมัติในศูนย์ฝึก อบรมนักบินแห่งใหม่ของการบินไทย นับเป็ นแห่ง
  แรกของประเทศ นอกจากนี ยังเปิ ดบริ การอาหาร เครื องดืม และภัตตาคารในท่า
  อากาศยานกรุ งเทพ ซึ งได้รับความนิยมมาก
พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2512 - พ.ศ. 2521
• 2516 การบินไทยรุ กส่ งเสริ มศักยภาพกรุ งเทพฯ ให้เป็ นศูนย์กลางการบินในภูมิภาค และเป็ น
  ประตูสาคัญเชือมทวีปเอเชียสู่ยโรป โดยเปิ ดจุดบินใหม่อีก 2 จุด คือ แฟรงก์เฟิ ร์ต และ
          ํ                      ุ
  ลอนดอน และยังไม่เปิ ดดําเนินกิจการร้านค้าปลอดภาษีทีท่าอากาศยานกรุ งเทพ
• 2517 การบินไทยเปิ ดจุดบินใหม่สู่กรุ งโรม และเริ มนําระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการสํารอง
  ทีนัง
• 2518 การบินไทยได้เปลียนสัญลักษณ์ใหม่ จาก ตุ๊กตารําไทย เป็ นรู ปแบบสากลยิงขึน
• 2519 จากการเปิ ดบินสู่อมสเตอร์ดม ปารี ส และเอเธนส์ ในปี ทีผ่านมา ทําให้เส้นทางบินของ
                          ั         ั
  การบินไทย สู่ทวีปยุโรปขยายอย่างรวดเร็ ว และยังเป็ นทีนิยมของผูใช้บริ การเป็ นอันมาก
                                                                  ้
• 2520 นับเป็ นก้าวสําคัญยิงของชาวไทย ทีการบินไทย มีสถานภาพเป็ นสายการบินของคน
  ไทย ปี นีการบินไทยมีเครื อข่ายเส้นทางบินครอบคลุม 3 ทวีป พร้อมด้วยพนักงานทีมี
  ประสบการณ์สูง และฝูงบินทีทันสมัยพร้อมทีจะสร้างชือเสี ยงให้ขจรไกลไปทัวโลก
• 2521การเดินทางทางอากาศได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง ทังในหมู่คนไทยและทัวโลก
  การบินไทยได้รับมอบเครื องบินลําตัวกว้าง แบบแอร์บส เอ 300 - บี4 จํานวน 223 ทีนัง เข้า
                                                       ั
  มาประจําการในฝูงบินเพิมขึนจากแบบ ดีซี 10-30 เพือให้บริ การในเส้นทางบินระยะไกล
  รวมทังเพิมความจุของทีนัง และขนส่ งสิ นค้าได้ปริ มาณมากขึน
พัฒนาการการบินไทย
• พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2522 - พ.ศ. 2531
                                               ่
• 2522 การบินไทยเปิ ดสํานักงานใหญ่ซึงตังอยูบน ถนนวิภาวดีรังสิ ต ในเนือที 26
  ไร่ ในปี เดียวกันนีการบินไทยได้พฒนาเส้นทางบินสู่ทวีปยุโรป ให้สามารถบินตรง
                                   ั
  ไปสู่ จุดบินต่างๆ โดยไม่หยุดพัก โดยใช้เครื องบินแบบ
• 2523 ด้วยฝูงบินแบบโบอิง 747-200 หรื อ จัมโบ้ การบินไทยมีศกยภาพทีจะขยาย
                                                               ั
  เส้นทางบินสู่ทวีปอเมริ กาเหนือ โดยการบินเข้ามหาสมุทรแปซิ ฟิกสู่นครลอสแอง
  เจลิส ซึ งเป็ นจุดบินแรกของการบินไทยสู่ประเทศสหรัฐอเมริ กา นอกจากนัน การ
  บินไทยยังได้เพิมจุดบินสู่ ตะวันออกกลาง
                 ่
• 2524 นับได้วาการบินไทยเป็ นสายการบินแรก ทีได้บุกเบิกเส้นทางบินเชือม ทวีป
  อเมริ กาเหนือ ในเส้นทาง กรุ งเทพฯ -นครซี แอตเทิล เป็ นครังแรก และยังขยาย
  เส้นทางบินไปสู่เมืองกวางเจา ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
• 2525 ธุรกิจต่างๆ ในประเทศไทยต่างประสบภาวะวิกฤตจากการลดค่าเงินบาท แต่
  การบินไทยสามารถผ่านพ้นภาวะวิกฤตดังกล่าวด้วยดี
พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2522 - พ.ศ. 2531
                                                                                           ั
• 2526 การบินไทยริ เริ มบริ การชันธุรกิจ Royal Executive Class เพือเพิมความสะดวกสบายให้กบนัก
  ธุรกิจ
• 2527 การบินไทยร่ วมส่ งเสริ มธุรกิจท่องเทียวในจังหวัดใหญ่ๆ ของประเทศ โดยก่อนหน้านีได้
  ให้บริ การในเส้นทางบินสู่ฮ่องกง โดยแวะผ่านเชียงใหม่ ในปี นี การบินไทยได้เพิมเส้นทางบิน
  ภายในประเทศอีก 2 เส้นทาง คือ กรุ งเทพฯ-หาดใหญ่-สิ งคโปร์ และกรุ งเทพฯ-ภูเก็ต-สิ งคโปร์
• 2528 การบินไทยเปิ ดศูนย์ซ่อมอากาศยานแห่งใหม่ บริ เวณท่าอากาศยานกรุ งเทพ เป็ นการเพิม
  ศักยภาพในการซ่อมบํารุ ง เครื องบินลําตัวกว้างของการบินไทย
• 2529 การบินไทยเปิ ดบินสู่ เมืองสตอกโฮล์ม และรุ กขยายเส้นทางบินไปยังภูมิภาคตะวันออกกลาง
  มากขึน และยังได้เปิ ดสาขาภัตตาคารการบินไทยแห่งแรกขึน ทีอาคารผูโดยสารแห่งใหม่ของท่า
                                                                        ้
  อากาศยานเชียงใหม่ ทังนีเพือส่ งเสริ มศักยภาพของสนามบินแห่งนี ในฐานะท่าอากาศยานนานาชาติ
• 2530 การบินไทยร่ วมรณรงค์ส่งเสริ มปี ท่องเทียวไทย ซึ งประสบผลสําเร็ จอย่างงดงาม ทังด้านการ
  เผยแพร่ เอกลักษณ์ความเป็ นไทย สู่สายตาชาวโลก และการนํานักท่องเทียว เดินทางเข้ามาใน
  ประเทศเป็ นจํานวนมาก
• 2531 รัฐบาลดําเนินการรวม บริ ษท การบินไทย จํากัด และ บริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด (บดท.) ซึ ง
                                    ั                           ั
  เป็ นบริ ษทแม่ ให้เป็ นบริ ษทเดียวกัน ทําให้การบินไทยเป็ นสายการบินทีเติบโตอย่างรวดเร็ ว
            ั                 ั
พัฒนาการการบินไทย
• พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2541
• 2532 การบินไทยร่ วมสนับสนุนปี ศิลปะและหัตถกรรมไทย ด้วยการจัดรายการบัตรโดยสารราคา
  พิเศษ ทีมีชือว่า Discover Thailand
                                                                                   ํ
• 2533 ปี งบประมาณ 2532/33 นี เป็ นปี ทีบริ ษทฯ ดําเนินกิจการมาครบ 30 ปี และมีกาไรก่อนหัก
                                                ั
  ภาษี 6,753.6 ล้านบาท ซึ งนับว่าสู งเป็ นอันดับสองของผลกําไรแต่ละปี ทีผ่านมา รวมทังมียอด
  ขนส่ งผูโดยสารสู งสุ ดเป็ นประวัติการณ์จานวนถึง 8.3 ล้านคน นอกจากนัน ยังได้รับมอบ
           ้                                  ํ
  เครื องบินโบอิง 747-400 ลําแรก ซึ งเป็ นเครื องบินโดยสารขนาดใหญ่ทีสุ ดในปั จจุบน
                                                                                 ั
• 2534-2535 - การบินไทยได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกในระบบสํารองทีนังแบบเบ็ดเสร็ จอะมาดิอุส
  (AMADEUS)
• 2536 ในปี นี การบินไทยให้บริ การผูโดยสารมากกว่า 10 ล้านคน และประสบความสําเร็ จในการ
                                       ้
  เปิ ดรับสมาชิกในรายการสะสมไมล์ รอยัล ออร์คิด พลัส ซึงภายในปี แรก มีผสมัครเป็ น สมาชิก
                                                                           ู้
  กว่า 200,000 คน จาก 115 ประเทศ
• 2537 การบินไทยได้จดทะเบียนเป็ นบริ ษทมหาชน และได้เปิ ดจุดบินใหม่ 3 แห่ง สู่ เมืองเซี ยงไฮ้
                                            ั
  เมืองละฮอร์ และจังหวัดนครพนม
พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2541
                    ่
• 2538 การบินไทยได้วาจ้างบริ ษททีปรึ กษาด้านการบริ หารจากต่างประเทศ ร่ วม
                              ั
  ดําเนินการเพิมประสิ ทธิภาพในการปฎิบติงานของบริ ษทฯ ใน 3 ด้าน คือ
                                             ั       ั
  ด้านปฎิบติการ ด้านบริ การลูกค้า และด้านการจัดการและเทคโนโลยี
            ั
  สารสนเทศ
• 2539 เครื องบินโบอิงแบบ 777-200 ลําแรกของการบินไทยและของ
  โลก เครื องบินลํานีเป็ นเครื องบิน 2 เครื องยนต์
• 2540 การบินไทยเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกก่อตังกลุ่มพันธมิตรทางการบิน
  สตาร์ อัลไลแอนซ์
• 2541 มาตรการลดค่าเงินบาท ทําให้มีการท่องเทียว มายังประเทศไทย
  เพิมมากขึนในปี ท่องเทียว อะเมซิงไทยแลนด์
พัฒนาการการบินไทย
• พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2542 - 2551
• 2542 การบินไทยร่ วมกับปวงชนชาวไทยเฉลิมฉลอง เนืองในโอกาสปี มหามงคลเฉลิม
                                                         ่ ั
  พระชนมพรรษาครบ 6 รอบ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว โดยประดับตรา
  สัญลักษณ์ ของวโรกาสนี บนเครื องบินทุกลํา
• 2543 การบินไทยครบรอบ 40 ปี ในการดําเนินกิจการ และประสบความสําเร็ จอย่าง
  งดงาม การบินไทยจะก้าวต่อไปสู่ สหัสวรรษใหม่ อย่างมันคงด้วยประสบการณ์ และ
  จะทําการบุกเบิกพัฒนาสร้างสรรค์บริ การ และเส้นทางบินใหม่ๆ ให้ครอบคลุมมาก
  ขึน ทังภายในประเทศ และต่างประเทศ
• 2544 การบินไทยเริ มดําเนินโครงการระบบจัดการลูกค้าสัมพันธ์ the Customer
  Relationship Management (CRM)
• 2546 การบินไทยแนะนําบริ การใหม่รอยัล อี เซอร์ วส นวัตกรรมทีช่วยอํานวยความ
                                                 ิ
  สะดวกสบายรวดเร็ วแก่ผโดยสารอย่างครบวงจรในการเลือกเทียวบิน
                           ู้
• 2547 การบินไทยเริ มดําเนินกลยุทธ์ การพัฒนาเอกลักษณ์และบริ การสู่ความเป็ นหนึ ง
  โดยการลงนามกับบริ ษทอินเตอร์ แบรนด์ เพือปรับปรุ งเอกลักษณ์ของบริ ษทฯ พร้อม
                         ั                                            ั
  กันนี ยังได้แนะนําบริ การใหม่ Premium Customer Service
พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2542 - 2551
• 2548 การบินไทยเฉลิมฉลองครบรอบ 45 ปี ด้วยการเปิ ดตัวสัญลักษณ์รูปแบบใหม่
  ของบริ ษทฯ ทีสะท้อนเอกลักษณ์ความเป็ นไทยโดยพัฒนาจากตราสัญลักษณ์เดิม
            ั
  ตามแนวความคิดใหม่ของบริ ษทฯ ได้แก่ High Trust, World Class and Thai Touch
                                  ั
  พร้อมกันนียังได้ปรับเปลียนเครื องแบบใหม่ของบริ ษท   ั
                                                            ่ ั
• 2549 เพือร่ วมฉลองในวโรกาสทีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงครองสิ ริราช
  สมบัติครบ 60 ปี การบินไทยเปิ ดตัวโครงการ THAI Grand Season Campaign
  2006 ส่ งเสริ มให้นกท่องเทียวร่ วมเฉลิมฉลองวโรกาสอันเป็ นมงคลนี นอกจากนี
                      ั
  การบินไทยได้จดโปรโมชัน “THAI Value Card”
                   ั
• 2550 เป็ นปี ทีบริ ษทฯ เริ มให้บริ การทีท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิอย่างสมบูรณ์ โดย
                        ั
  ห้องพักรับรองพิเศษชันเฟิ ร์ สต์คลาสของการบินไทยทีท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิ
  ได้รับการโหวตให้เป็ นห้องพักรับรอง "ทีดีทีสุ ดในโลก" จากผลการสํารวจของ
  Skytrax World Airline Survey
• 2551 การบินไทยได้เปิ ดเทียวบินใหม่บินตรงเกาะสมุย จังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี
  นอกจากนี การบินไทยยังได้รับรางวัลหลากหลายสาขา
พัฒนาการการบินไทย
• พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน
   2552 การบินไทยเปิ ดจุดบินใหม่ เส้นทางกรุ งเทพฯ – ออสโล ประเทศ
  นอร์เวย์ ถือเป็ นจุดบินต่างประเทศจุดที 59 ใน 34 ประเทศทีการบินไทย
  ทําการบิน เพือตอบสนองความต้องการของผูโดยสารในการเดินทางไป
                                              ้
  ยังจุดหมายต่างๆ ได้ครอบคลุมทัวโลก ปี 2552 เป็ นอีกหนึงปี ทีการบิน
  ไทยได้รับรางวัลจากสถาบันชันนําต่างๆ บริษทฯ จึงมุงมันที่
                                                  ั            ่ ่
  จะพัฒนาคุณลักษณะ 3 ประการ คือ เพือเป็ น                        ่
  องคกรทีมุงเน้นลูกค้า เพือเป็ นองคกรทีสามารถ
          ์     ่ ่                     ่            ์     ่
  แขงขัน และเพือเป็ นองคกรทีมความคลองตัวสูง
        ่                   ่             ์     ่ ี          ่
  ทังนี้เพือสร้างโอกาสการขยายทางธุรกิจ เพิม
     ้       ่                                                     ่
  ความสามารถในการแขงขันและรองรับการเปิ ด
                                     ่
  เสรีการบินของภูมภาค         ิ
สภาพแวดล้ อมของบริษทการบินไทย
                              ั
-จุดแข็ง (Strength:s) เป็ นสายการบินประจําชาติไทย
    เป็ นสายการบินทีให้บริ การครบวรจรมีบริ การทีดีเลิศและมีเครื อข่ายการ
                                 ่
    บินทีครอบคลุมมีภาพลักษณ์อยูในระดับโลก ทังนีเป็ นผลมาจากการ
    บริ หารงานทีมีประสิ ทธิภาพ รวมทังการใช้กลยุทธ์ร่วมมือกับสายการบิน
    อืนๆในเส้นทางการบินสําคัญ
-จุดอ่ อน (Weakness:w)ปั ญหาเศรษฐกิจถดถอยอาจจะส่ งผลกระทบต่อการ
    บิน เช่น เกิดโรคระบาดไข้หวัด 2009 ความไม่มนคงทางการเมือง ราคา
                                                ั
    นํามัน การปิ ดสนามบิน และอาจจะประสบภาวะจากการลดค่าเงินบาท
สภาพแวดล้อมของบริ ษทการบินไทย
                               ั
• โอกาสทางธุรกิจ (Opportunity : O) เป็ นสายการบินทีมีชือเสี ยงและมีผคน        ู้
   รู ้จกเป็ นอย่างมากและได้รับรางวัลจากสถาบันต่างๆทัวโลก และเป็ นสายการบิน
        ั
   แรกทีมรส่ วนร่ วมชดเชยการปลดปล่อยคาร์ บอนไดออกไซด์ มีการพัฒนา
   เอกลักษณ์และบริ การสู่ความเป็ นหนึ งอยูเ่ สมอ
• อุปสรรค (Threat : T) ในการทําธุรกิจของบริ ษทสภาวะแข่งขันในธุรกิจการ
                                                     ั
   บินปั จจุบนค่อนข้างรุ นแรงเนืองจากการเข้ามาของสายการบินต้นทุนตํา นโยบาย
               ั
   ภาครัฐทีให้บริ การถึงสองสนามบินคือ สนามบินดอนเมืองและสนามบินสุ วรรณ
   ภูมิ ปั ญหาเศรษฐกิจโลกทีทําให้การท่องเทียวซบเซาส่ งผลให้ธุรกิจการบินซึ งมี
   รายได้ส่วนใหญ่จากการเดินทางท่องเทียวมีผลกระทบอย่างรุ นแรง และปั ญหา
   ทางการเมืองในประเทศส่ งผลกระทบเศรษฐกิจโดยภาพรวม
โครงสร้างบริ ษท
              ั
หลักทางบริ ษทภิบาล
                               ั

บริ ษทการบินไทย จํากัด (มหาชน) ยึดมันในหลักบริ ษทภิบาล
     ั                                          ั
อันประกอบด้วย
• การสร้างมูลค่าเพิมให้แก่องค์กรในระยะยาว(Creation of Long Term
    Value)
• ความโปร่ งใส (Transparency)
• ความรับผิดชอบในหน้าที (Responsibility)
• ความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบติหน้าที(Accountability)
                                ั
• ความเป็ นธรรม (Equitable
1. การสร้ างมูลค่ าเพิมให้ แก่ องค์ กรในระยะยาว (Creation of Long Term Value)

• คณะกรรมการบริ ษทฯ จะต้องส่ งเสริ มและปลูกฝังให้ผปฏิบติงานมีวสัยทัศน์และ
                       ั                                ู้ ั   ิ
  ตระหนักถึงความสําคัญในการเพิมขีดความสามารถในการแข่งขันในทุกด้าน
  เพือให้เกิดความเชือมันต่อผลการดําเนิ นงานทังในปั จจุบนและอนาคต
                                                          ั
• คณะกรรมการบริ ษทฯ จะต้องจัดให้มีคณะกรรมการสรรหาเพือเสนอชือผูทีสมควร
                     ั                                              ้
  ได้รับการแต่งตังให้ดารงตําแหน่งกรรมการของบริ ษทฯ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
                               ํ                      ั
  ทีเป็ นทียอมรับกัน ทัวไปและสามารถตรวจสอบได้
• คณะกรรมการบริ ษทฯ จะต้องแต่งตังประธานกรรมการจากกรรมการทีมิใช่ผที
                           ั                                          ู้
  ดํารงตําแหน่งกรรมการผูอานวยการใหญ่
                                 ้ํ
• คณะกรรมการบริ ษทฯ จะต้องแต่งตังเลขานุการบริ ษทเพือทําหน้าทีต่างๆ ตามที
                         ั                          ั
  กฎหมายกําหนด
• ผูบริ หารจะต้องปฏิบติตามนโยบายว่าด้วยการสรรหา แต่งตัง โยกย้าย และพิจารณา
    ้                        ั
  ความดีความชอบด้วยความโปร่ งใสและเป็ นธรรม
2. ความโปร่ งใส (Transparency)

• คณะกรรมการบริ ษทฯ จะต้องดูแลให้มีการเปิ ดเผยข้อมูลสําคัญทังข้อมูลด้าน
                    ั
  การเงินและด้านอืน ๆ ทีเกียวข้องกับการดําเนินธุรกิจของบริ ษทฯ ภายในระยะเวลา
                                                            ั
  ทีเหมาะสม
• คณะกรรมการบริ ษทฯ จะต้องจัดให้มีหน่วยงานประชาสัมพันธ์และหน่วยงานนัก
                      ั
  ลงทุนสัมพันธ์ โดยให้หน่วยงานประชาสัมพันธ์ทาหน้าทีเผยแพร่ ขอมูลและ
                                                 ํ              ้
  ข่าวสารทัวไปเกียวกับบริ ษทฯ ผูปฏิบติงานจะต้องไม่มีผลประโยชน์ส่วนตนใน
                            ั ้ ั
  การปฏิบติหน้าที ไม่ดาเนินการหรื อละเว้นการดําเนิ นการใดๆ ทีก่อให้เกิดความ
           ั            ํ
                          ั
  ขัดแย้งทางผลประโยชน์กบบริ ษท  ั
• ผูปฏิบติงานจะต้องจัดทํารายงานแจ้งต่อผูบงคับบัญชาต้นสังกัดให้แก่เลขานุการ
    ้ ั                                 ้ ั
  ในทันทีทีสงสัยว่าตนเองหรื อบุคคลทีเกียวข้องมีผลประโยชน์ทีขัดแย้งกันกับ
  บริ ษทฯ
       ั
• ผูปฏิบติงานจะต้องไม่รับตําแหน่งกรรมการหรื อทีปรึ กษาให้แก่บริ ษท
     ้ ั                                                         ั
  หรื อบุคคลใดๆ ซึงจะก่อหรื ออาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง
                ั
  ผลประโยชน์กบบริ ษทฯ เว้นแต่จะได้รับการอนุมติจากคณะกรรมการ
                      ั                        ั
  บริ ษทฯ ก่อนแล้ว
       ั
• การรับทรัพย์สินหรื อประโยชน์อืนใดโดยธรรมจรรยาในการปฏิบติ    ั
                                ่
  หน้าทีของผูปฏิบติงานจะต้องอยูภายใต้หลักเกณฑ์ทีคณะกรรมการ
             ้ ั
                                           ํ
  ป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่ งชาติกาหนด
3. ความรับผิดชอบในหน้ าที (Responsibility)

• ผูปฏิบติงานจะต้องอุทิศตนในการปฏิบติหน้าทีด้วยความรู ้และประสบการณ์อย่าง
         ้ ั                            ั
  เต็มความสามารถ
• ผูปฏิบติงานจะต้องใช้ดุลยพินิจในการปฏิบติหน้าทีอย่างเป็ นอิสระด้วยความ
        ้ ั                                  ั
  ซื อสัตย์สุจริ ตและเป็ นธรรม
• ผูปฏิบติงานจะต้องหลีกเลียงการกระทําใดๆ อันเป็ นการขัดแย้งกับผลประโยชน์
       ้ ั
  ของบริ ษทฯ หรื อเป็ นการใช้โอกาสหรื อข้อมูลทีได้จากการเป็ นผูปฏิบติงานของ
             ั                                                   ้ ั
  บริ ษทฯ เพือแสวงหาผลประโยชน์สาหรับตนเองหรื อผูอืน
           ั                         ํ                ้
• ผูบริ หารจะต้องส่ งเสริ มและปลูกฝังให้ผใต้บงคับบัญชามีจิตสํานึ กของความ
     ้                                    ู้ ั
  รับผิดชอบอย่างสู งในการปฏิบติหน้าที
                                ั
4. ความรับผิดชอบต่ อผลการปฏิบติหน้ าที (Accountability)
                                    ั

• ผูปฏิบติงานจะต้องตังใจปฏิบติหน้าทีอย่างเต็มความสามารถ รวมทัง
    ้ ั                     ั
  พร้อมทีจะรับผิดชอบต่อผลการกระทําของตน

• ผูปฏิบติงานจะต้องพร้อมทีจะชีแจงอธิบายการตัดสิ นใจและการกระทํา
    ้ ั
  ของตนต่อคณะกรรมการบริ ษทฯ ผูบงคับบัญชา ผูถือหุ น ลูกค้า คู่คา
                              ั     ้ ั       ้ ้             ้
  และผูมีส่วนได้เสี ยอืนๆ ของบริ ษทฯ
        ้                         ั

• ผูบริ หารจะต้องส่ งเสริ มและปลูกฝังให้ผใต้บงคับบัญชามีจิตสํานึกของ
    ้                                    ู้ ั
  ความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบติหน้าที
                                 ั
5. ความเป็ นธรรม (Equitable Treatment)

• ผูปฏิบติงานจะต้องดําเนินกิจการและปฏิบติหน้าทีของตนด้วยความเป็ น
    ้ ั                                ั
  ธรรม

• ผูปฏิบติงานจะต้องประพฤติปฏิบติต่อคู่แข่งขันทางการค้าให้สอดคล้อง
    ้ ั                       ั
  กับหลักสากล ภายใต้กรอบแห่ งกฎหมายทีเกียวข้อง

• ผูบริ หารจะต้องจัดให้มีช่องทางให้พนักงานสามารถแจ้งเรื องทีส่ อไป
    ้
  ในทางทีผิดกฎหมายหรื อผิดระเบียบของบริ ษทฯ ได้ และดูแลให้ขอ
                                           ั                     ้
  ร้องเรี ยนได้รับการตอบสนองภายในระยะเวลาทีเหมาะสม
ด้ านสั งคม
• ด้ านสิ งแวดล้ อม
โครงการ “การบินไทย ปลูกชีวตให้ แผ่ นดิน”
                          ิ
ด้ านผู้พการ ผู้ด้อยโอกาส
                           ิ

• โครงการ “หนังสื อเสี ยงพรจากฟา”
                               ้
ด้ านพัฒนาคุณภาพชีวต
                                       ิ
• โครงการ “หมู่ บ้านช้ างการบินไทย สุ รินทร์ ”
ข้ อมูลทางการตลาด
• นายปิ ยสวัสดิ อัมระนันทน์ กรรมการ
  ผูอานวยการใหญ่ บริ ษท การบินไทย จํากัด
      ้ํ                ั
  (มหาชน) เปิ ดเผยว่า จากเหตุการณ์ภูเขาไฟ
  ระเบิดทีประเทศไอซ์แลนด์ จนทําให้
  ประเทศยุโปรประกาศปิ ดน่านฟ้ า และ
  สถานการณ์ความไม่สงบทางการเมือง
  ภายในประเทศ ทําให้ 47 ประเทศ ออก
  Travel Warning เตือนนักท่องเทียว
  หลีกเลียงการเดินทางมาประเทศไทย ทําให้
  ผูโดยสารยกเลิกการเดินทาง บริ ษทจึงได้
    ้                            ั
  ปรับแผนการตลาด เพือลดความเสี ยงในการ
  พึงพาจุดบินใดจุดบินหนึงมาเป็ นการ
  กระจายความเสี ยงไปในหลายจุด ซึ งจะทํา
  ให้การบินไทยมีความเข้มแข้งในระยะยาว
ฝ่ ายบริการลูกค้ า
เครืองแบบของพนักงาน
รายชือฝ่ ายบริหารระดับสู ง




นายปิ ยสวัสดิ อัมระนันทน์                        นายปานฑิต ชนะภัย
กรรมการผูอานวยการใหญ่
             ้ํ                                  รองกรรมการผูอานวยการใหญ่ สายการพานิ ชย์
                                                                ้ํ
ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 19 ตุลาคม 2552          ร่ วมงานกับการบินไทยเมือเดือนพฤศจิกายน 2526
ผ่านประสบการณ์ทางาน ในการวางรากฐานเพือสร้าง
                   ํ                             ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านการตลาด การขาย
                                                                    ํ
                            ั
ความมันคงด้านพลังงานให้กบประเทศไทยมาอย่าง        บริ การลูกค้า และ บริ หารทรัพยากรบุคคล
ต่อเนื อง โดยเฉพาะอย่างยิง ในช่วงดํารงตําแหน่ง
           ่
รัฐมนตรี วาการกระทรวงพลังงาน
การบินไทย รั กคณเท่ าฟ้ า
               ุ
เรืออากาศเอก มนตรี จําเรียง
รองกรรมการผูอานวยการใหญ่ฝ่ายช่าง
              ้ํ
ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 2 ตุลาคม 2531
ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านปฏิบติการบิน และด้านบริ หาร
                  ํ             ั
บุคคลากร
                                                  นายโชคชัย ปัญญายงค์
                                                  รองกรรมการผูอานวยการใหญ่ สายกลยุทธ์และพัฒนาธุรกิจ
                                                                ้ํ
                                                  ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 27 ตุลาคม 2526
                                                  ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านการบริ หารจัดการ และ
                                                                    ํ
                                                  วางแผนการลงทุนโครงการ ณ ท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิ
                                                  รวมทังการบริ หารทรัพย์สินของบริ ษทฯ
                                                                                   ั
นาวาอากาศตรี อัษฎาวุธ วัฒนางกูร
                                                        รองกรรมการผูอานวยการใหญ่ สายปฏิบติการ
                                                                      ้ํ                      ั
                                                        ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 4 กุมภาพันธ์ 2538
                                                        ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านปฏิบติการบิน และ ด้าน
                                                                          ํ             ั
                                                        ฝึ กอบรมนักบิน
นายธีรพล โชติชนาภิบาล
รองกรรมการผูอานวยการใหญ่ สายผลิตภัณฑ์และบริ การลูกค้า
              ้ํ
ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 1 พฤศจิกายน 2526
ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านการพาณิ ชย์ การขาย และ ครัว
                  ํ
การบิน
นายดนุช บุนนาค                                   นายนิรุจน์ มณีพนธ์
                                                                  ั
กรรมการผูจดการ หน่วยธุรกิจการบริ การภาคพืน
           ้ั                                    รองกรรมการผูอานวยการใหญ่ สํานักเลขานุการบริ ษท
                                                               ้ํ                             ั
(ระดับรองกรรมการผูอานวยการใหญ่)
                    ้ํ                           ฯ
ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 1 สิ งหาคม 2531         ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 3 มีนาคม 2551
ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านบริ หารรายได้ ดูแลระบบ
                  ํ                              ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านกฎหมายและกํากับ
                                                                    ํ
สํารองทีนังอะมาดิอุส และวางแผนการตลาด            กิจกรรมองค์กร
นายสาธก วรศะริน                               นางวสุ กานต์ วิศาลสวัสดิ
รองกรรมการผูอานวยการใหญ่ สายทรัพยากรบุคคล
              ้ํ                              รองกรรมการผูอานวยการใหญ่ สายการเงินและการ
                                                             ้ํ
ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 22 กรกฎาคม 2517      บัญชี
ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านบริ การบนเครื องบิน
                  ํ                           ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 1 มีนาคม 2531
และครัวการบิน                                 ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านการเงินและการบัญชี
                                                                 ํ
สรุ ป
•   บริ ษท การบินไทย จํากัด (มหาชน) เป็ นสายการบินทีให้บริ การขนส่ งผูโดยสาร รวมถึง ขนส่ ง
         ั                                                            ้
                                               ่
    พัสดุภณฑ์และไปรษณี ยภัณฑ์ ซึ งมีฐานทีตังอยูในประเทศไทยทีมีขนาดใหญ่ทีสุ ด กิจกรรมหลัก
           ั
    ของบริ ษทฯ คือ การ ประกอบธุรกิจสายการบิน ให้บริ การขนส่ งผูโดยสาร พัสดุภณฑ์และ
             ั                                                 ้              ั
    ไปรษณี ยภัณฑ์ตามตารางการบินภายในประเทศ ภายในภูมภาค และข้ ามทวีป
                                                         ิ

• บริ ษทฯ จัดตังขึนในปี 2503 และเป็ นสายการบินทีมีขนาดใหญ่เป็ นอันดับ 2 ในภูมิภาคเอเชีย
       ั
  ตะวันออกเฉี ยงใต้ มีขนาดใหญ่เป็ นอันดับ 5 ในทวีปเอเชีย และมีขนาดใหญ่เป็ นอันดับ 14 ของโลก

• บริ ษทฯ เป็ น 1 ใน 5 สมาชิกผูก่อตังกลุ่มพันธมิตรการบินสตาร์อลไลแอนซ์ (Star Alliance)
         ั                     ้                              ั
• นอกจากธุรกิจสายการบิน ซึ งเป็ นธุรกิจหลักของบริ ษทฯ แล้ว บริ ษทฯ ยังลงทุนในบริ ษทย่อย คือ
                                                     ั          ั                  ั
  บริ ษท ไทย-อะมาดิอุสเซาท์อีสต์เอเชีย จํากัด
       ั
• นอกจากนี บริ ษทฯ ยังเป็ นผูถือหุนในบริ ษท สายการบินนกแอร์ จํากัด ซึ งประกอบธุรกิจสายการ
                   ั          ้ ้            ั
  บินราคาประหยัด (BudgetAirline) ให้บริ การเส้นทางบินภายในประเทศด้วยการประสานเครื อข่าย
  เส้นทางบินเชิงกลยุทธ์เข้ากับเส้นทางบินของบริ ษทฯ โดยในปี 2553 บริ ษทฯ ได้โอนเส้นทางบิน
                                                  ั                   ั
  บางเส้นทางให้สายการบินนกแอร์เป็ นผูให้บริ การแทน
                                          ้

More Related Content

What's hot

ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2Prapaporn Boonplord
 
โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)
โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)
โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)TIt KhawThong
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม 1
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม  1แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม  1
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม 1Knes Kantaporn
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomPl'nice Destiny
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพวSircom Smarnbua
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6WijittraSreepraram
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติกแผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติกEnormity_tung
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 

What's hot (20)

ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
 
โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)
โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)
โครงงานสร้างสื่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาทฤษฎีใหม่ (โมเดล)
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม 1
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม  1แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม  1
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม 1
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติกแผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to การบินไทย PPT

20120245 t05 business
20120245 t05 business20120245 t05 business
20120245 t05 businessLumi Doll
 
ประวัติ True
ประวัติ Trueประวัติ True
ประวัติ TrueTn' Nam
 
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัดบริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัดDrDanai Thienphut
 

Similar to การบินไทย PPT (7)

20120245 t05 business
20120245 t05 business20120245 t05 business
20120245 t05 business
 
Amadeus g.5
Amadeus   g.5Amadeus   g.5
Amadeus g.5
 
Amadeus g.5
Amadeus   g.5Amadeus   g.5
Amadeus g.5
 
BDC412_Airline3013
BDC412_Airline3013BDC412_Airline3013
BDC412_Airline3013
 
รายงานว ชาการ ทอท. 1_ _1_
รายงานว ชาการ ทอท.  1_ _1_รายงานว ชาการ ทอท.  1_ _1_
รายงานว ชาการ ทอท. 1_ _1_
 
ประวัติ True
ประวัติ Trueประวัติ True
ประวัติ True
 
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัดบริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
 

การบินไทย PPT

  • 2. ประวัตของบริษท การบินไทย จํากัดมหาชน ิ ั • บริษัท การบินไทย จํากัด ( มหาชน ) เป็ นรัฐวิสาหกิจ ใน สั งกัดกระทรวงคมนาคม ดําเนินกิจการในด้ านการบิน พาณิชย์ ในประเทศ และระหว่ างประเทศ ในฐานะสายการบิน แห่ งชาติ • การบินไทยเริมก่ อตังขึนโดยการทําสั ญญาร่ วมทุนระหว่ าง บริษัท เดินอากาศไทย จํากัด กับสายการบินสแกนดิเนเวียน แอร์ ไลน์ ซิสเต็ม หรือใช้ ชือย่ อว่ า เอส เอ เอส เมือวันที 24 สิ งหาคม 2502 • ต่ อมา เมือวันที 30 มีนาคม 2520 เอส. เอ. เอส. ได้ โอนหุ้นทีมี อยู่ทังหมดให้ แก่ บริษัท เดินอากาศไทย จํากัด • ต่ อมาเมือวันที1 เมษายน 2531 คณะรัฐมนตรีได้ มีมติให้ ดําเนินการรวมกิจการการบินภายในประเทศทีดําเนินการ โดยบริษัท เดินอากาศไทย จํากัด เข้ ากับกิจการของบริษัทฯ โดยมีกระทรวงการคลังเป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ดังนันบริษัทฯ จึงเป็ นสายการบินแห่ งชาติ
  • 3. วิสัยทัศน์ ของบริษทการบินไทย จํากัด มหาชน ั เป็ นสายการบินทีลูกค้ าเลือกเป็ นอันดับแรก ให้ บริการดีเลิศด้ วยเสน่ ห์ไทย
  • 4. ภารกิจของบริ ษทการบินไทย จํากัด มหาชน ั • ให้บริ การขนส่ งทางอากาศอย่างครบวงจร ทัง ภายในประเทศและระหว่างประเทศ โดยใส่ ใจใน เรื องความปลอดภัย ความสะดวกสบาย และ การ บริ การทีมีคุณภาพ เพือสร้างความเชือมันและ ความพึงพอใจต่อลูกค้า • มีการบริ หารธุรกิจอย่างมีประสิ ทธิภาพ และ โปร่ งใสด้วยความซื อสัตย์สุจริ ตตามแนวทาง ปฏิบติทีเป็ นสากล และมีผลประกอบการทีน่า ั พอใจ เพือสร้างประโยชน์สูงสุ ดให้แก่ผถือหุน ู้ ้ • สร้างสิ งแวดล้อมในการทํางานและให้ ผลตอบแทนทีเหมาะสม เพือจูงใจให้พนักงาน เรี ยนรู ้และทํางานอย่างเต็มศักยภาพ และภูมิใจที เป็ นส่ วนร่ วมในความสําเร็ จของบริ ษทฯ ั • มีความรับผิดชอบต่อสังคม ในฐานะเป็ นสายการ บินแห่งชาติ
  • 5. นโยบายของบริษท การบินไทย จํากัก มหาชน ั ดําเนินงานในฐานะทีเป็ นสายการบินแห่ งชาติ เป็ นตัวแทนของประเทศไทยในการดํารงรักษาและ เพิมพูนสิ ทธิด้านการบิน ร่ วมส่ งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมการท่ องเทียว แสวงหาและ เพิมพูนรายได้ ทังในรู ปเงินบาท และเงินตราต่ างประเทศ นอกจากนัน ยังดําเนินการส่ งเสริม พัฒนาทรัพยากรบุคคลของบริษทฯ ให้ มทกษะ และวิชาชีพทีเป็ นมาตรฐานสากล รวมถึง ั ี ั ส่ งเสริมพัฒนาเทคโนโลยีทุกสาขาทีเกียวข้ อง ในการบินพาณิชย์ ของโลก ทังนี บริษทฯ ยังมุ่ง ั เผยแพร่ วฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และเอกลักษณ์ ของประเทศไทย สู่ สายตาชาวโลก ั อย่ างต่ อเนือง
  • 6. นโยบายด้ านสิ งแวดล้ อมของบริษท ั 1. บริ ษทฯ จะพัฒนาระบบการจัดการสิ งแวดล้ อมตาม ั มาตรฐานสากลเพือทําให้ มนใจว่ า กิจกรรมและการ ั ดําเนินงานของบริษทฯ จะเป็ นไปตามมาตรฐานและ ั กฎหมายด้ านสิ งแวดล้ อมทีเกียวข้ อง 2. พัฒนาและปรั บปรุ งระบบการจัดการสิ งแวดล้ อม ในทุก กิจกรรมของบริษทฯ เพือลดมลภาวะและผลกระทบต่ อ ั สิ งแวดล้ อมอย่ างต่ อเนือง 3. การดําเนินงานของบริ ษทฯ จะคํานึงถึงผลกระทบต่ อ ั สิ งแวดล้ อมในประเด็นทีสํ าคัญต่ างๆ การนําสิ งของมาใช้ ซํา หรือการนํากลับมาใช้ ใหม่ เพือเป็ นการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ
  • 7. ผลการดําเนินงาน ํ ผลการดําเนินงานของการบินไทยมีกาไรต่อเนืองมาตังแต่ปีงบประมาณ2507/2508 จนถึงปั จจุบน แม้วาธุรกิจการบินเป็ นธุรกิจทีต้องมีการลงทุนและค่าใช้จ่ายทีสู ง ั ่ มาก นอกจากผลการดําเนิ นการด้านกําไร การบินไทยยังได้ชือว่าเป็ นผูร่วมบุกเบิก ้ จุดบินใหม่ๆ จนได้เป็ นทีรู ้จกกันทัวโลก ริ เริ มการบินเส้นทางตรงสู่ยโรป รวมทัง ั ุ เปิ ดเส้นทางบินใหม่ๆ ในภูมิภาคนีเพือใช้กรุ งเทพฯ เป็ นศูนย์กลางการบิน และได้ ร่ วมกําหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในด้าน
  • 8. ผลการดําเนินงาน • 2552บริ ษทฯ มีรายได้รวมทังสิ น 163,875 ล้านบาท ลดลงจากปี ก่อน ั 38,731 ล้านบาท หรื อร้อยละ 19.1 สาเหตุสาคัญ เนืองจากการแข่งขัน ํ ด้านราคาทีรุ นแรง ปริ มาณการ ขนส่ งทีลดลง • 2553 เดือนมกราคมถึงสิ นเดือนธันวาคม บริ ษท ั ฯ ได้ดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์จนสามารถ ํ ประสบความสําเร็ จในการสร้างพืนฐานธุรกิจที ั แข็งแกร่ งให้กบองค์กร (Build Solid Foundation) ถึงแม้จะ ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ภเู ขาไฟระเบิดใน
  • 9. จรรยาบรรณของบริษท ั 1. ปฏิบติต่อลูกค้าและผูเ้ กียวข้องทางธุรกิจด้วยความเป็ นธรรม ซือสัตย์ ั สุ จริ ตและรักษาผลประโยชน์ของลูกค้าทุกคน 2. ไม่ฝักใฝ่ ทางการเมือง โดยวางตัวเป็ นกลางเพือสร้างประโยชน์ให้ สังคมและประเทศชาติ 3. ดําเนินธุรกิจบนพืนฐานของการแข่งขันทีเป็ นธรรม 4. สนับสนุนการใช้ทรัพยากรภายในประเทศอย่างมีประสิ ทธิภาพ โดย คํานึงถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม
  • 10. พัฒนาการการบินไทย • พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2502 - พ.ศ. 2511 • 2502 - ในเดือนสิ งหาคม การบินไทยร่ วมกับสายการบิน สแกนดิเนเวียน แอร์ ไลน์ ได้ ก่อตังสายการบินระหว่างประเทศสายใหม่ • 2503 - ในวันที 1 พฤษภาคม เครื องบินใบพัดดักกลาส ดีซี 6 บี พร้อมผูโดยสารเต็มลํา ้ จํานวน 60 คน ออกเดินทางจากท่าอากาศยานกรุ งเทพ ไปสู่เมือง ฮ่องกง ไทเป และ โตเกียว นับเป็ นเทียวบินแรกของการบินไทย ซึ งภายในปี แรกของการบินไทย ได้ทาการ ํ บินเชือมโยงกรุ งเทพฯ กับ 11 จุดบิน ในทวีปเอเชีย โดยใช้ฝงบิน ดีซี 6 บี จํานวน 3 ลํา ู • 2504 - ในปี นีการบินไทยให้บริ การผูโดยสารมากกว่า 83,000 คน และได้สร้าง ้ เอกลักษณ์ของบริ การเอืองหลวง โดยผสมผสานความเป็ นไทยในการบริ การบนเครื อง • 2505 - เครื องบินไอพ่น คอนแวร์ 990 โคโรนาโด ขนาด 99 ทีนังลําแรก และนับเป็ นพระ ่ ั มหากรุ ณาธิ คุณทีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว และสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดําเนินเปิ ดเทียวบินปฐมฤกษ์ของเครื องบินลํานี
  • 11. พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2502 - พ.ศ. 2511 • 2506 - การบินไทยร่ วมกับสายการบินอืนๆ ในภูมิภาคเอเชีย ทําการบินในเส้นทาง จากกรุ งเทพฯ สู่ ฮ่องกง กัลกัตตา และสิ งคโปร์ เพือให้บริ การผูโดยสารด้วยจํานวนเทียวบินทีมากขึน และมีความ ้ สะดวกสบายยิงขึน สํานักงานใหญ่ ของการบินไทยในขณะนัน เป็ นอาคาร 3 ชัน บนถนนเจริ ญ กรุ ง และมีพนักงานกว่า 600 คน • 2507 - การบินไทยขยายฝูงบินอีกครัง โดยเพิมเครื องบินไอพ่น คาราแวล เอสอี 210 ขนาด 72 ทีนัง ซึ งผลิตจากประเทศฝรังเศส และมีความลําสมัยอย่างยิง ํ • 2508 - การบินไทยเริ มมีกาไร จากผลการดําเนินงานเป็ นปี แรก เป็ นจํานวนเงินทังสิ น 3.9 ล้านบาท ั ํ และตังแต่นนเป็ นต้นมา การบินไทยยังคงมีกาไรต่อเนืองทุกปี จนกระทังถึงปั จจุบน ั • 2509 - การบินไทย เป็ นสายการบินแรกในทวีปเอเชีย ทีใช้เครื องบินไอพ่นทังฝูงบิน • 2510 - ในปี นีการบินไทยให้บริ การแก่ผโดยสารถึง 1 ล้านคน และได้เริ มการบุกเบิก เส้นทางบินสู่ ู้ บาหลี ซึ งนับว่าประสบผลสําเร็ จอย่างงดงาม โดยได้เปิ ดประตูเมืองบาหลี สู่สายตานักท่องเทียวทัว โลก • 2511 - จากความสําเร็ จของการบุกเบิกเทียวบินสู่บาหลี การบินไทยได้ริเริ มเทียวบิน สู่ เมือง กาฐมาณฑุ และประสบความสําเร็ จอีกครัง ในการส่ งเสริ มเมืองท่องเทียวแห่งใหม่ ในทวีปเอเชีย และในปี นี ได้เพิมเส้นทางบินไปยังกรุ งโซล และกรุ งเดลลี อีกด้วย
  • 12. พัฒนาการการบินไทย • พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2512 - พ.ศ. 2521 • 2512 การบินไทยประสบผลสําเร็ จตามเป้ าหมายทีวางไว้ สามารถให้บริ การ โดย ใช้ฝงบินไอพ่นทังหมด อีกทังยังได้ทาการเผยแพร่ วฒนธรรมไทย และการ ู ํ ั ท่องเทียวสู่ สายตาชาวโลก • 2513 บริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด และสายการบินสแกนดิเนเวียน ซึ งได้ร่วมทุน ั ก่อตังการบินไทยมาครบ 10 ปี ได้ดาเนินการต่อสัญญาความร่ วมมือระหว่างกัน ํ ออกไปอีก 7 ปี • 2514 การบินไทยเริ มทําการบินข้ามทวีปเป็ นครังแรก เชือมโยง กรุ งเทพฯ - สิ งคโปร์ - ซิ ดนีย ์ และเปิ ดอาคารคลังสิ นค้าแห่งใหม่ ณ ท่าอากาศยานกรุ งเทพ ซึ ง ในปี แรกให้บริ การสิ นค้าเข้า-ออก ได้ถึง2,000 ตัน • 2515 การบินไทยเปิ ดเส้นทางบินข้ามทวีปเส้นทางที 2 จากเอเชียสู่ ยโรป สู่ เมือง ุ โคเปนเฮเกน และได้ติดตังเครื องฝึ กบินจําลองแบบ ดีซี 8-33 เครื องแรกทีมีระบบ ควบคุมอัตโนมัติในศูนย์ฝึก อบรมนักบินแห่งใหม่ของการบินไทย นับเป็ นแห่ง แรกของประเทศ นอกจากนี ยังเปิ ดบริ การอาหาร เครื องดืม และภัตตาคารในท่า อากาศยานกรุ งเทพ ซึ งได้รับความนิยมมาก
  • 13. พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2512 - พ.ศ. 2521 • 2516 การบินไทยรุ กส่ งเสริ มศักยภาพกรุ งเทพฯ ให้เป็ นศูนย์กลางการบินในภูมิภาค และเป็ น ประตูสาคัญเชือมทวีปเอเชียสู่ยโรป โดยเปิ ดจุดบินใหม่อีก 2 จุด คือ แฟรงก์เฟิ ร์ต และ ํ ุ ลอนดอน และยังไม่เปิ ดดําเนินกิจการร้านค้าปลอดภาษีทีท่าอากาศยานกรุ งเทพ • 2517 การบินไทยเปิ ดจุดบินใหม่สู่กรุ งโรม และเริ มนําระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการสํารอง ทีนัง • 2518 การบินไทยได้เปลียนสัญลักษณ์ใหม่ จาก ตุ๊กตารําไทย เป็ นรู ปแบบสากลยิงขึน • 2519 จากการเปิ ดบินสู่อมสเตอร์ดม ปารี ส และเอเธนส์ ในปี ทีผ่านมา ทําให้เส้นทางบินของ ั ั การบินไทย สู่ทวีปยุโรปขยายอย่างรวดเร็ ว และยังเป็ นทีนิยมของผูใช้บริ การเป็ นอันมาก ้ • 2520 นับเป็ นก้าวสําคัญยิงของชาวไทย ทีการบินไทย มีสถานภาพเป็ นสายการบินของคน ไทย ปี นีการบินไทยมีเครื อข่ายเส้นทางบินครอบคลุม 3 ทวีป พร้อมด้วยพนักงานทีมี ประสบการณ์สูง และฝูงบินทีทันสมัยพร้อมทีจะสร้างชือเสี ยงให้ขจรไกลไปทัวโลก • 2521การเดินทางทางอากาศได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง ทังในหมู่คนไทยและทัวโลก การบินไทยได้รับมอบเครื องบินลําตัวกว้าง แบบแอร์บส เอ 300 - บี4 จํานวน 223 ทีนัง เข้า ั มาประจําการในฝูงบินเพิมขึนจากแบบ ดีซี 10-30 เพือให้บริ การในเส้นทางบินระยะไกล รวมทังเพิมความจุของทีนัง และขนส่ งสิ นค้าได้ปริ มาณมากขึน
  • 14. พัฒนาการการบินไทย • พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2522 - พ.ศ. 2531 ่ • 2522 การบินไทยเปิ ดสํานักงานใหญ่ซึงตังอยูบน ถนนวิภาวดีรังสิ ต ในเนือที 26 ไร่ ในปี เดียวกันนีการบินไทยได้พฒนาเส้นทางบินสู่ทวีปยุโรป ให้สามารถบินตรง ั ไปสู่ จุดบินต่างๆ โดยไม่หยุดพัก โดยใช้เครื องบินแบบ • 2523 ด้วยฝูงบินแบบโบอิง 747-200 หรื อ จัมโบ้ การบินไทยมีศกยภาพทีจะขยาย ั เส้นทางบินสู่ทวีปอเมริ กาเหนือ โดยการบินเข้ามหาสมุทรแปซิ ฟิกสู่นครลอสแอง เจลิส ซึ งเป็ นจุดบินแรกของการบินไทยสู่ประเทศสหรัฐอเมริ กา นอกจากนัน การ บินไทยยังได้เพิมจุดบินสู่ ตะวันออกกลาง ่ • 2524 นับได้วาการบินไทยเป็ นสายการบินแรก ทีได้บุกเบิกเส้นทางบินเชือม ทวีป อเมริ กาเหนือ ในเส้นทาง กรุ งเทพฯ -นครซี แอตเทิล เป็ นครังแรก และยังขยาย เส้นทางบินไปสู่เมืองกวางเจา ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน • 2525 ธุรกิจต่างๆ ในประเทศไทยต่างประสบภาวะวิกฤตจากการลดค่าเงินบาท แต่ การบินไทยสามารถผ่านพ้นภาวะวิกฤตดังกล่าวด้วยดี
  • 15. พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2522 - พ.ศ. 2531 ั • 2526 การบินไทยริ เริ มบริ การชันธุรกิจ Royal Executive Class เพือเพิมความสะดวกสบายให้กบนัก ธุรกิจ • 2527 การบินไทยร่ วมส่ งเสริ มธุรกิจท่องเทียวในจังหวัดใหญ่ๆ ของประเทศ โดยก่อนหน้านีได้ ให้บริ การในเส้นทางบินสู่ฮ่องกง โดยแวะผ่านเชียงใหม่ ในปี นี การบินไทยได้เพิมเส้นทางบิน ภายในประเทศอีก 2 เส้นทาง คือ กรุ งเทพฯ-หาดใหญ่-สิ งคโปร์ และกรุ งเทพฯ-ภูเก็ต-สิ งคโปร์ • 2528 การบินไทยเปิ ดศูนย์ซ่อมอากาศยานแห่งใหม่ บริ เวณท่าอากาศยานกรุ งเทพ เป็ นการเพิม ศักยภาพในการซ่อมบํารุ ง เครื องบินลําตัวกว้างของการบินไทย • 2529 การบินไทยเปิ ดบินสู่ เมืองสตอกโฮล์ม และรุ กขยายเส้นทางบินไปยังภูมิภาคตะวันออกกลาง มากขึน และยังได้เปิ ดสาขาภัตตาคารการบินไทยแห่งแรกขึน ทีอาคารผูโดยสารแห่งใหม่ของท่า ้ อากาศยานเชียงใหม่ ทังนีเพือส่ งเสริ มศักยภาพของสนามบินแห่งนี ในฐานะท่าอากาศยานนานาชาติ • 2530 การบินไทยร่ วมรณรงค์ส่งเสริ มปี ท่องเทียวไทย ซึ งประสบผลสําเร็ จอย่างงดงาม ทังด้านการ เผยแพร่ เอกลักษณ์ความเป็ นไทย สู่สายตาชาวโลก และการนํานักท่องเทียว เดินทางเข้ามาใน ประเทศเป็ นจํานวนมาก • 2531 รัฐบาลดําเนินการรวม บริ ษท การบินไทย จํากัด และ บริ ษท เดินอากาศไทย จํากัด (บดท.) ซึ ง ั ั เป็ นบริ ษทแม่ ให้เป็ นบริ ษทเดียวกัน ทําให้การบินไทยเป็ นสายการบินทีเติบโตอย่างรวดเร็ ว ั ั
  • 16. พัฒนาการการบินไทย • พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2541 • 2532 การบินไทยร่ วมสนับสนุนปี ศิลปะและหัตถกรรมไทย ด้วยการจัดรายการบัตรโดยสารราคา พิเศษ ทีมีชือว่า Discover Thailand ํ • 2533 ปี งบประมาณ 2532/33 นี เป็ นปี ทีบริ ษทฯ ดําเนินกิจการมาครบ 30 ปี และมีกาไรก่อนหัก ั ภาษี 6,753.6 ล้านบาท ซึ งนับว่าสู งเป็ นอันดับสองของผลกําไรแต่ละปี ทีผ่านมา รวมทังมียอด ขนส่ งผูโดยสารสู งสุ ดเป็ นประวัติการณ์จานวนถึง 8.3 ล้านคน นอกจากนัน ยังได้รับมอบ ้ ํ เครื องบินโบอิง 747-400 ลําแรก ซึ งเป็ นเครื องบินโดยสารขนาดใหญ่ทีสุ ดในปั จจุบน ั • 2534-2535 - การบินไทยได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกในระบบสํารองทีนังแบบเบ็ดเสร็ จอะมาดิอุส (AMADEUS) • 2536 ในปี นี การบินไทยให้บริ การผูโดยสารมากกว่า 10 ล้านคน และประสบความสําเร็ จในการ ้ เปิ ดรับสมาชิกในรายการสะสมไมล์ รอยัล ออร์คิด พลัส ซึงภายในปี แรก มีผสมัครเป็ น สมาชิก ู้ กว่า 200,000 คน จาก 115 ประเทศ • 2537 การบินไทยได้จดทะเบียนเป็ นบริ ษทมหาชน และได้เปิ ดจุดบินใหม่ 3 แห่ง สู่ เมืองเซี ยงไฮ้ ั เมืองละฮอร์ และจังหวัดนครพนม
  • 17. พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2541 ่ • 2538 การบินไทยได้วาจ้างบริ ษททีปรึ กษาด้านการบริ หารจากต่างประเทศ ร่ วม ั ดําเนินการเพิมประสิ ทธิภาพในการปฎิบติงานของบริ ษทฯ ใน 3 ด้าน คือ ั ั ด้านปฎิบติการ ด้านบริ การลูกค้า และด้านการจัดการและเทคโนโลยี ั สารสนเทศ • 2539 เครื องบินโบอิงแบบ 777-200 ลําแรกของการบินไทยและของ โลก เครื องบินลํานีเป็ นเครื องบิน 2 เครื องยนต์ • 2540 การบินไทยเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกก่อตังกลุ่มพันธมิตรทางการบิน สตาร์ อัลไลแอนซ์ • 2541 มาตรการลดค่าเงินบาท ทําให้มีการท่องเทียว มายังประเทศไทย เพิมมากขึนในปี ท่องเทียว อะเมซิงไทยแลนด์
  • 18. พัฒนาการการบินไทย • พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2542 - 2551 • 2542 การบินไทยร่ วมกับปวงชนชาวไทยเฉลิมฉลอง เนืองในโอกาสปี มหามงคลเฉลิม ่ ั พระชนมพรรษาครบ 6 รอบ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว โดยประดับตรา สัญลักษณ์ ของวโรกาสนี บนเครื องบินทุกลํา • 2543 การบินไทยครบรอบ 40 ปี ในการดําเนินกิจการ และประสบความสําเร็ จอย่าง งดงาม การบินไทยจะก้าวต่อไปสู่ สหัสวรรษใหม่ อย่างมันคงด้วยประสบการณ์ และ จะทําการบุกเบิกพัฒนาสร้างสรรค์บริ การ และเส้นทางบินใหม่ๆ ให้ครอบคลุมมาก ขึน ทังภายในประเทศ และต่างประเทศ • 2544 การบินไทยเริ มดําเนินโครงการระบบจัดการลูกค้าสัมพันธ์ the Customer Relationship Management (CRM) • 2546 การบินไทยแนะนําบริ การใหม่รอยัล อี เซอร์ วส นวัตกรรมทีช่วยอํานวยความ ิ สะดวกสบายรวดเร็ วแก่ผโดยสารอย่างครบวงจรในการเลือกเทียวบิน ู้ • 2547 การบินไทยเริ มดําเนินกลยุทธ์ การพัฒนาเอกลักษณ์และบริ การสู่ความเป็ นหนึ ง โดยการลงนามกับบริ ษทอินเตอร์ แบรนด์ เพือปรับปรุ งเอกลักษณ์ของบริ ษทฯ พร้อม ั ั กันนี ยังได้แนะนําบริ การใหม่ Premium Customer Service
  • 19. พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2542 - 2551 • 2548 การบินไทยเฉลิมฉลองครบรอบ 45 ปี ด้วยการเปิ ดตัวสัญลักษณ์รูปแบบใหม่ ของบริ ษทฯ ทีสะท้อนเอกลักษณ์ความเป็ นไทยโดยพัฒนาจากตราสัญลักษณ์เดิม ั ตามแนวความคิดใหม่ของบริ ษทฯ ได้แก่ High Trust, World Class and Thai Touch ั พร้อมกันนียังได้ปรับเปลียนเครื องแบบใหม่ของบริ ษท ั ่ ั • 2549 เพือร่ วมฉลองในวโรกาสทีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงครองสิ ริราช สมบัติครบ 60 ปี การบินไทยเปิ ดตัวโครงการ THAI Grand Season Campaign 2006 ส่ งเสริ มให้นกท่องเทียวร่ วมเฉลิมฉลองวโรกาสอันเป็ นมงคลนี นอกจากนี ั การบินไทยได้จดโปรโมชัน “THAI Value Card” ั • 2550 เป็ นปี ทีบริ ษทฯ เริ มให้บริ การทีท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิอย่างสมบูรณ์ โดย ั ห้องพักรับรองพิเศษชันเฟิ ร์ สต์คลาสของการบินไทยทีท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิ ได้รับการโหวตให้เป็ นห้องพักรับรอง "ทีดีทีสุ ดในโลก" จากผลการสํารวจของ Skytrax World Airline Survey • 2551 การบินไทยได้เปิ ดเทียวบินใหม่บินตรงเกาะสมุย จังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี นอกจากนี การบินไทยยังได้รับรางวัลหลากหลายสาขา
  • 20. พัฒนาการการบินไทย • พัฒนาการการบินไทย ปี พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน 2552 การบินไทยเปิ ดจุดบินใหม่ เส้นทางกรุ งเทพฯ – ออสโล ประเทศ นอร์เวย์ ถือเป็ นจุดบินต่างประเทศจุดที 59 ใน 34 ประเทศทีการบินไทย ทําการบิน เพือตอบสนองความต้องการของผูโดยสารในการเดินทางไป ้ ยังจุดหมายต่างๆ ได้ครอบคลุมทัวโลก ปี 2552 เป็ นอีกหนึงปี ทีการบิน ไทยได้รับรางวัลจากสถาบันชันนําต่างๆ บริษทฯ จึงมุงมันที่ ั ่ ่ จะพัฒนาคุณลักษณะ 3 ประการ คือ เพือเป็ น ่ องคกรทีมุงเน้นลูกค้า เพือเป็ นองคกรทีสามารถ ์ ่ ่ ่ ์ ่ แขงขัน และเพือเป็ นองคกรทีมความคลองตัวสูง ่ ่ ์ ่ ี ่ ทังนี้เพือสร้างโอกาสการขยายทางธุรกิจ เพิม ้ ่ ่ ความสามารถในการแขงขันและรองรับการเปิ ด ่ เสรีการบินของภูมภาค ิ
  • 21. สภาพแวดล้ อมของบริษทการบินไทย ั -จุดแข็ง (Strength:s) เป็ นสายการบินประจําชาติไทย เป็ นสายการบินทีให้บริ การครบวรจรมีบริ การทีดีเลิศและมีเครื อข่ายการ ่ บินทีครอบคลุมมีภาพลักษณ์อยูในระดับโลก ทังนีเป็ นผลมาจากการ บริ หารงานทีมีประสิ ทธิภาพ รวมทังการใช้กลยุทธ์ร่วมมือกับสายการบิน อืนๆในเส้นทางการบินสําคัญ -จุดอ่ อน (Weakness:w)ปั ญหาเศรษฐกิจถดถอยอาจจะส่ งผลกระทบต่อการ บิน เช่น เกิดโรคระบาดไข้หวัด 2009 ความไม่มนคงทางการเมือง ราคา ั นํามัน การปิ ดสนามบิน และอาจจะประสบภาวะจากการลดค่าเงินบาท
  • 22. สภาพแวดล้อมของบริ ษทการบินไทย ั • โอกาสทางธุรกิจ (Opportunity : O) เป็ นสายการบินทีมีชือเสี ยงและมีผคน ู้ รู ้จกเป็ นอย่างมากและได้รับรางวัลจากสถาบันต่างๆทัวโลก และเป็ นสายการบิน ั แรกทีมรส่ วนร่ วมชดเชยการปลดปล่อยคาร์ บอนไดออกไซด์ มีการพัฒนา เอกลักษณ์และบริ การสู่ความเป็ นหนึ งอยูเ่ สมอ • อุปสรรค (Threat : T) ในการทําธุรกิจของบริ ษทสภาวะแข่งขันในธุรกิจการ ั บินปั จจุบนค่อนข้างรุ นแรงเนืองจากการเข้ามาของสายการบินต้นทุนตํา นโยบาย ั ภาครัฐทีให้บริ การถึงสองสนามบินคือ สนามบินดอนเมืองและสนามบินสุ วรรณ ภูมิ ปั ญหาเศรษฐกิจโลกทีทําให้การท่องเทียวซบเซาส่ งผลให้ธุรกิจการบินซึ งมี รายได้ส่วนใหญ่จากการเดินทางท่องเทียวมีผลกระทบอย่างรุ นแรง และปั ญหา ทางการเมืองในประเทศส่ งผลกระทบเศรษฐกิจโดยภาพรวม
  • 24. หลักทางบริ ษทภิบาล ั บริ ษทการบินไทย จํากัด (มหาชน) ยึดมันในหลักบริ ษทภิบาล ั ั อันประกอบด้วย • การสร้างมูลค่าเพิมให้แก่องค์กรในระยะยาว(Creation of Long Term Value) • ความโปร่ งใส (Transparency) • ความรับผิดชอบในหน้าที (Responsibility) • ความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบติหน้าที(Accountability) ั • ความเป็ นธรรม (Equitable
  • 25. 1. การสร้ างมูลค่ าเพิมให้ แก่ องค์ กรในระยะยาว (Creation of Long Term Value) • คณะกรรมการบริ ษทฯ จะต้องส่ งเสริ มและปลูกฝังให้ผปฏิบติงานมีวสัยทัศน์และ ั ู้ ั ิ ตระหนักถึงความสําคัญในการเพิมขีดความสามารถในการแข่งขันในทุกด้าน เพือให้เกิดความเชือมันต่อผลการดําเนิ นงานทังในปั จจุบนและอนาคต ั • คณะกรรมการบริ ษทฯ จะต้องจัดให้มีคณะกรรมการสรรหาเพือเสนอชือผูทีสมควร ั ้ ได้รับการแต่งตังให้ดารงตําแหน่งกรรมการของบริ ษทฯ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ํ ั ทีเป็ นทียอมรับกัน ทัวไปและสามารถตรวจสอบได้ • คณะกรรมการบริ ษทฯ จะต้องแต่งตังประธานกรรมการจากกรรมการทีมิใช่ผที ั ู้ ดํารงตําแหน่งกรรมการผูอานวยการใหญ่ ้ํ • คณะกรรมการบริ ษทฯ จะต้องแต่งตังเลขานุการบริ ษทเพือทําหน้าทีต่างๆ ตามที ั ั กฎหมายกําหนด • ผูบริ หารจะต้องปฏิบติตามนโยบายว่าด้วยการสรรหา แต่งตัง โยกย้าย และพิจารณา ้ ั ความดีความชอบด้วยความโปร่ งใสและเป็ นธรรม
  • 26. 2. ความโปร่ งใส (Transparency) • คณะกรรมการบริ ษทฯ จะต้องดูแลให้มีการเปิ ดเผยข้อมูลสําคัญทังข้อมูลด้าน ั การเงินและด้านอืน ๆ ทีเกียวข้องกับการดําเนินธุรกิจของบริ ษทฯ ภายในระยะเวลา ั ทีเหมาะสม • คณะกรรมการบริ ษทฯ จะต้องจัดให้มีหน่วยงานประชาสัมพันธ์และหน่วยงานนัก ั ลงทุนสัมพันธ์ โดยให้หน่วยงานประชาสัมพันธ์ทาหน้าทีเผยแพร่ ขอมูลและ ํ ้ ข่าวสารทัวไปเกียวกับบริ ษทฯ ผูปฏิบติงานจะต้องไม่มีผลประโยชน์ส่วนตนใน ั ้ ั การปฏิบติหน้าที ไม่ดาเนินการหรื อละเว้นการดําเนิ นการใดๆ ทีก่อให้เกิดความ ั ํ ั ขัดแย้งทางผลประโยชน์กบบริ ษท ั • ผูปฏิบติงานจะต้องจัดทํารายงานแจ้งต่อผูบงคับบัญชาต้นสังกัดให้แก่เลขานุการ ้ ั ้ ั ในทันทีทีสงสัยว่าตนเองหรื อบุคคลทีเกียวข้องมีผลประโยชน์ทีขัดแย้งกันกับ บริ ษทฯ ั
  • 27. • ผูปฏิบติงานจะต้องไม่รับตําแหน่งกรรมการหรื อทีปรึ กษาให้แก่บริ ษท ้ ั ั หรื อบุคคลใดๆ ซึงจะก่อหรื ออาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง ั ผลประโยชน์กบบริ ษทฯ เว้นแต่จะได้รับการอนุมติจากคณะกรรมการ ั ั บริ ษทฯ ก่อนแล้ว ั • การรับทรัพย์สินหรื อประโยชน์อืนใดโดยธรรมจรรยาในการปฏิบติ ั ่ หน้าทีของผูปฏิบติงานจะต้องอยูภายใต้หลักเกณฑ์ทีคณะกรรมการ ้ ั ํ ป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่ งชาติกาหนด
  • 28. 3. ความรับผิดชอบในหน้ าที (Responsibility) • ผูปฏิบติงานจะต้องอุทิศตนในการปฏิบติหน้าทีด้วยความรู ้และประสบการณ์อย่าง ้ ั ั เต็มความสามารถ • ผูปฏิบติงานจะต้องใช้ดุลยพินิจในการปฏิบติหน้าทีอย่างเป็ นอิสระด้วยความ ้ ั ั ซื อสัตย์สุจริ ตและเป็ นธรรม • ผูปฏิบติงานจะต้องหลีกเลียงการกระทําใดๆ อันเป็ นการขัดแย้งกับผลประโยชน์ ้ ั ของบริ ษทฯ หรื อเป็ นการใช้โอกาสหรื อข้อมูลทีได้จากการเป็ นผูปฏิบติงานของ ั ้ ั บริ ษทฯ เพือแสวงหาผลประโยชน์สาหรับตนเองหรื อผูอืน ั ํ ้ • ผูบริ หารจะต้องส่ งเสริ มและปลูกฝังให้ผใต้บงคับบัญชามีจิตสํานึ กของความ ้ ู้ ั รับผิดชอบอย่างสู งในการปฏิบติหน้าที ั
  • 29. 4. ความรับผิดชอบต่ อผลการปฏิบติหน้ าที (Accountability) ั • ผูปฏิบติงานจะต้องตังใจปฏิบติหน้าทีอย่างเต็มความสามารถ รวมทัง ้ ั ั พร้อมทีจะรับผิดชอบต่อผลการกระทําของตน • ผูปฏิบติงานจะต้องพร้อมทีจะชีแจงอธิบายการตัดสิ นใจและการกระทํา ้ ั ของตนต่อคณะกรรมการบริ ษทฯ ผูบงคับบัญชา ผูถือหุ น ลูกค้า คู่คา ั ้ ั ้ ้ ้ และผูมีส่วนได้เสี ยอืนๆ ของบริ ษทฯ ้ ั • ผูบริ หารจะต้องส่ งเสริ มและปลูกฝังให้ผใต้บงคับบัญชามีจิตสํานึกของ ้ ู้ ั ความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบติหน้าที ั
  • 30. 5. ความเป็ นธรรม (Equitable Treatment) • ผูปฏิบติงานจะต้องดําเนินกิจการและปฏิบติหน้าทีของตนด้วยความเป็ น ้ ั ั ธรรม • ผูปฏิบติงานจะต้องประพฤติปฏิบติต่อคู่แข่งขันทางการค้าให้สอดคล้อง ้ ั ั กับหลักสากล ภายใต้กรอบแห่ งกฎหมายทีเกียวข้อง • ผูบริ หารจะต้องจัดให้มีช่องทางให้พนักงานสามารถแจ้งเรื องทีส่ อไป ้ ในทางทีผิดกฎหมายหรื อผิดระเบียบของบริ ษทฯ ได้ และดูแลให้ขอ ั ้ ร้องเรี ยนได้รับการตอบสนองภายในระยะเวลาทีเหมาะสม
  • 31. ด้ านสั งคม • ด้ านสิ งแวดล้ อม โครงการ “การบินไทย ปลูกชีวตให้ แผ่ นดิน” ิ
  • 32. ด้ านผู้พการ ผู้ด้อยโอกาส ิ • โครงการ “หนังสื อเสี ยงพรจากฟา” ้
  • 33. ด้ านพัฒนาคุณภาพชีวต ิ • โครงการ “หมู่ บ้านช้ างการบินไทย สุ รินทร์ ”
  • 34. ข้ อมูลทางการตลาด • นายปิ ยสวัสดิ อัมระนันทน์ กรรมการ ผูอานวยการใหญ่ บริ ษท การบินไทย จํากัด ้ํ ั (มหาชน) เปิ ดเผยว่า จากเหตุการณ์ภูเขาไฟ ระเบิดทีประเทศไอซ์แลนด์ จนทําให้ ประเทศยุโปรประกาศปิ ดน่านฟ้ า และ สถานการณ์ความไม่สงบทางการเมือง ภายในประเทศ ทําให้ 47 ประเทศ ออก Travel Warning เตือนนักท่องเทียว หลีกเลียงการเดินทางมาประเทศไทย ทําให้ ผูโดยสารยกเลิกการเดินทาง บริ ษทจึงได้ ้ ั ปรับแผนการตลาด เพือลดความเสี ยงในการ พึงพาจุดบินใดจุดบินหนึงมาเป็ นการ กระจายความเสี ยงไปในหลายจุด ซึ งจะทํา ให้การบินไทยมีความเข้มแข้งในระยะยาว
  • 37. รายชือฝ่ ายบริหารระดับสู ง นายปิ ยสวัสดิ อัมระนันทน์ นายปานฑิต ชนะภัย กรรมการผูอานวยการใหญ่ ้ํ รองกรรมการผูอานวยการใหญ่ สายการพานิ ชย์ ้ํ ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 19 ตุลาคม 2552 ร่ วมงานกับการบินไทยเมือเดือนพฤศจิกายน 2526 ผ่านประสบการณ์ทางาน ในการวางรากฐานเพือสร้าง ํ ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านการตลาด การขาย ํ ั ความมันคงด้านพลังงานให้กบประเทศไทยมาอย่าง บริ การลูกค้า และ บริ หารทรัพยากรบุคคล ต่อเนื อง โดยเฉพาะอย่างยิง ในช่วงดํารงตําแหน่ง ่ รัฐมนตรี วาการกระทรวงพลังงาน
  • 39. เรืออากาศเอก มนตรี จําเรียง รองกรรมการผูอานวยการใหญ่ฝ่ายช่าง ้ํ ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 2 ตุลาคม 2531 ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านปฏิบติการบิน และด้านบริ หาร ํ ั บุคคลากร นายโชคชัย ปัญญายงค์ รองกรรมการผูอานวยการใหญ่ สายกลยุทธ์และพัฒนาธุรกิจ ้ํ ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 27 ตุลาคม 2526 ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านการบริ หารจัดการ และ ํ วางแผนการลงทุนโครงการ ณ ท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิ รวมทังการบริ หารทรัพย์สินของบริ ษทฯ ั
  • 40. นาวาอากาศตรี อัษฎาวุธ วัฒนางกูร รองกรรมการผูอานวยการใหญ่ สายปฏิบติการ ้ํ ั ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 4 กุมภาพันธ์ 2538 ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านปฏิบติการบิน และ ด้าน ํ ั ฝึ กอบรมนักบิน นายธีรพล โชติชนาภิบาล รองกรรมการผูอานวยการใหญ่ สายผลิตภัณฑ์และบริ การลูกค้า ้ํ ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 1 พฤศจิกายน 2526 ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านการพาณิ ชย์ การขาย และ ครัว ํ การบิน
  • 41. นายดนุช บุนนาค นายนิรุจน์ มณีพนธ์ ั กรรมการผูจดการ หน่วยธุรกิจการบริ การภาคพืน ้ั รองกรรมการผูอานวยการใหญ่ สํานักเลขานุการบริ ษท ้ํ ั (ระดับรองกรรมการผูอานวยการใหญ่) ้ํ ฯ ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 1 สิ งหาคม 2531 ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 3 มีนาคม 2551 ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านบริ หารรายได้ ดูแลระบบ ํ ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านกฎหมายและกํากับ ํ สํารองทีนังอะมาดิอุส และวางแผนการตลาด กิจกรรมองค์กร
  • 42. นายสาธก วรศะริน นางวสุ กานต์ วิศาลสวัสดิ รองกรรมการผูอานวยการใหญ่ สายทรัพยากรบุคคล ้ํ รองกรรมการผูอานวยการใหญ่ สายการเงินและการ ้ํ ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 22 กรกฎาคม 2517 บัญชี ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านบริ การบนเครื องบิน ํ ร่ วมงานกับการบินไทยเมือ 1 มีนาคม 2531 และครัวการบิน ผ่านประสบการณ์ทางาน ด้านการเงินและการบัญชี ํ
  • 43. สรุ ป • บริ ษท การบินไทย จํากัด (มหาชน) เป็ นสายการบินทีให้บริ การขนส่ งผูโดยสาร รวมถึง ขนส่ ง ั ้ ่ พัสดุภณฑ์และไปรษณี ยภัณฑ์ ซึ งมีฐานทีตังอยูในประเทศไทยทีมีขนาดใหญ่ทีสุ ด กิจกรรมหลัก ั ของบริ ษทฯ คือ การ ประกอบธุรกิจสายการบิน ให้บริ การขนส่ งผูโดยสาร พัสดุภณฑ์และ ั ้ ั ไปรษณี ยภัณฑ์ตามตารางการบินภายในประเทศ ภายในภูมภาค และข้ ามทวีป ิ • บริ ษทฯ จัดตังขึนในปี 2503 และเป็ นสายการบินทีมีขนาดใหญ่เป็ นอันดับ 2 ในภูมิภาคเอเชีย ั ตะวันออกเฉี ยงใต้ มีขนาดใหญ่เป็ นอันดับ 5 ในทวีปเอเชีย และมีขนาดใหญ่เป็ นอันดับ 14 ของโลก • บริ ษทฯ เป็ น 1 ใน 5 สมาชิกผูก่อตังกลุ่มพันธมิตรการบินสตาร์อลไลแอนซ์ (Star Alliance) ั ้ ั • นอกจากธุรกิจสายการบิน ซึ งเป็ นธุรกิจหลักของบริ ษทฯ แล้ว บริ ษทฯ ยังลงทุนในบริ ษทย่อย คือ ั ั ั บริ ษท ไทย-อะมาดิอุสเซาท์อีสต์เอเชีย จํากัด ั • นอกจากนี บริ ษทฯ ยังเป็ นผูถือหุนในบริ ษท สายการบินนกแอร์ จํากัด ซึ งประกอบธุรกิจสายการ ั ้ ้ ั บินราคาประหยัด (BudgetAirline) ให้บริ การเส้นทางบินภายในประเทศด้วยการประสานเครื อข่าย เส้นทางบินเชิงกลยุทธ์เข้ากับเส้นทางบินของบริ ษทฯ โดยในปี 2553 บริ ษทฯ ได้โอนเส้นทางบิน ั ั บางเส้นทางให้สายการบินนกแอร์เป็ นผูให้บริ การแทน ้