SlideShare a Scribd company logo
1 of 92
1
2
3
1.1. อินโดนีเซียอินโดนีเซีย 195.272195.272
ล้านคนล้านคน
2.2. ปากีสถานปากีสถาน 157.528157.528
ล้านคนล้านคน
3.3. อินเดียอินเดีย 154.504154.504 ล้านคนล้านคน
4.4. บังคลาเทศบังคลาเทศ 127.3286127.3286
ล้านคนล้านคน
5.5. ตุรกีตุรกี 72.754272.7542 ล้านคนล้านคน
6.6. อียิปอียิป 70.8870.88 ล้านคนล้านคน
7.7. อิหร่านอิหร่าน 68.80568.805 ล้านคนล้านคน
8.8. ไนจีเรียไนจีเรีย 65.2565.25
ล้านคนล้านคน
9.9. จีนจีน 39.11139.111 ล้านคนล้านคน
10.10. เอธิโอเปียเอธิโอเปีย 37.4037.40
ล้านคนล้านคน
11.11. อัลจีเรียอัลจีเรีย 33.1733.17 ล้านคนล้านคน
12.12. โมรอคโคโมรอคโค 31.7831.78 ล้านคนล้านคน
13.13. ซูดานซูดาน 30.0830.08
ล้านคนล้านคน
14.14. อัฟกานิสถานอัฟกานิสถาน 29.60129.601
ล้านคนล้านคน
15.15. อิรักอิรัก 28.7128.71 ล้านคนล้านคน
16.16. รัสเซียรัสเซีย 27.0427.04 ล้านคนล้านคน
17.17. ซาอุดิอาราเบียซาอุดิอาราเบีย 24.124.1
ล้านคนล้านคน
18.18. อุสเบกิสถานอุสเบกิสถาน 23.23223.232
ล้านคนล้านคน
19.19. ยเมนยเมน 2828 ล้านคนล้านคน
20.20. ทานซาเนียทานซาเนีย 18.9518.95 ล้านคนล้านคน
4
5
• ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาสากล ประเภทเอก
เทวนิยม มีแหล่งกำาเนิดในเอเชียตะวันตก คือ
นครเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย มีผู้
นับถือทั่วโลก ส่วนใหญ่ในประเทศอาหรับ
และเอเชีย
• เป็นศาสนาที่มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับ ๒
รองจากศาสนาคริสต์
• อิสลามถือว่า สรรพสิ่งทั้งหลายถูกสร้างโดย
พระผู้เป็นเจ้า คือ พระอัลเลาะห์
6
•ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาแห่งกฎหมาย เพ
ราะคัมภีร์อัลกุรอานได้ประมวลหลักธรรมอัน
เป็นธรรมนูญของชีวิต มีหลักการดำาเนินชีวิต
ประจำาวันในสังคมในทุกๆด้าน เช่น การ
ปกครอง การแต่งงาน พาณิชย์ การลงโทษ
เป็นต้น ครอบคลุมทุกมิติในชีวิตตั้งแต่เกิดจน
ตาย
•ชาวมุสลิมผู้มีศรัทธา คือ ผู้ที่มีชีวิตนอบน้อม
และมอบตนต่อ พระอัลเลาะห์ ย่อมปฏิบัติ
ตามกฎเกณฑ์ที่รวบรวมไว้ในคัมภีร์ อัล
7
•- ในกรณีเกิดความเข้าใจขัดแย้งกัน
ในหลักคำาสอนของศาสนาอิสลาม ให้ดู
“ ”วจนะ (คำาพูด) และ “ ”จริยวัตร (การ
ปฏิบัติ) ของศาสดา มุฮัมหมัด เป็นแนว
ตัดสิน
•- ได้มีผู้รวบรวม วจนะ และ จริยวัตร
ของศาสดาไว้ เรียกว่า “ ”ซุนนะฮ์
•- เฉพาะวจนะ เรียกว่า “ ”ฮาดิษ
•- ถ้ายังแก้ปัญหาความขัดแย้งไม่ได้
สำานักข่าวต่างประเทศรายงานว่า โอมาร์ บูร์กัน อัลกาลา
(Omar Borkan Al Gala) นายแบบหนุ่มอาหรับและช่างภาพจา
กดูไบ ที่กลายเป็นข่าวดังคึกโครมไปทั่วโลก จากกรณีที่ถูก
ทางการซาอุดีอะราเบียสั่งเนรเทศให้ออกจากประเทศ พร้อมกับ
เพื่อนนายแบบอีก 2 คน โดยให้เหตุผลว่า ทั้ง 3 มีรูปร่างหน้าตา
ที่หล่อและน่าหลงใหลเกินไป หวั่นทำาให้หญิงชาวซาอุฯ คลั่ง
ไคล้และเสื่อมเสียทางวัฒนธรรม
8
9
10
•ศาสนาอิสลามมีต้นกำาเนิดมาจากศาสนา
ยิวและศาสนาคริสต์ เพราะอัลเลาะห์
เจ้าได้ส่งผู้ประกาศข่าว ได้แก่
•นบีมูซา หมายถึง โมเสส
•นบีอีซา หมายถึง พระเยซู
•นบีคนสุดท้าย คือ นบีมุฮัมหมัด
•หลังจากท่านนบีมุฮัมหมัดแล้วไม่มีนบีอีก
เพราะถือว่าพระบัญญัติที่ส่งมาทางนบีมุ
ฮัมหมัดสมบูรณ์ ถูกต้อง และแน่นอน
11
บ่อเกิดของศาสนาอิสลาม
• ศาสนาอิสลามมีความเชื่อว่า บ่อเกิด
ของศาสนาอิสลามมาจากการที่อัลเลาะ
ห์ประทานคำาสอนแก่ศาสดามุฮัมหมัด
โดยทรงใช้ เทวทูตญิบรออิล เป็นผู้มา
เปิดเผยให้ท่านโดยตรง
• การเปิดเผยครั้งแรกเกิดขึ้นในวันที่ ๒๗
เดือนรอมฎอน ค.ศ. ๖๑๐ ณ ถำ้าฮิรอ บน
ภูเขานูร์ ขณะที่ท่านกำาลังสงบใจอยู่ใน
ถำ้า เทวทูตญิบรออิลมาสวมกอดท่าน 12
บ่อเกิดของศาสนาอิสลาม
• เทพญิบรออิล บอกว่าพระอัลเลาะห์ได้
แต่งตั้งให้มุฮัมหมัดเป็นศาสดาสั่งสอน
ศาสนาอิสลามของพระองค์ เพราะ
ฉะนั้นมุฮัมหมัดจึงกลายเป็นนบีเป็นต้นมา
• นบีมุฮัมหมัดจึงเป็นศาสนทูตหรือตัวแทน
ของพระเจ้าบนพื้นพิภพเมื่อ พ.ศ. ๑๑๕๓
ขณะที่ท่านมีอายุได้ ๔๐ ปี
• ท่านศาสดาก็ได้วะฮีย์หรือการเปิดเผย
ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติ
ศาสดา
• มุฮัมหมัด เกิดเมื่อวันที่ ๒๙ สิงหาคม พ.ศ.
๑๑๑๓ ณ เมืองเมกกะ ประเทศ
ซาอุดิอาระเบีย มุฮัมหมัดเกิดในตระกูลฮาซิม
เผ่ากุเรซ อันเป็นเผ่าที่มั่งคั่งและมีชื่อเสียง
ของอาหรับ
• ท่านศาสดาเป็นกำาพร้าตั้งแต่เยาว์วัย ใน
เวลาต่อมาจึงไปอยู่ในความอุปการะของลุง
ชื่อ อาบูตอลิบเรื่อยมา
• “ ”มุฮัมหมัด เป็นชื่อเกียรติคุณนามหลังจาก 14
ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติ
ศาสดา
• ในสมัยที่ท่านศาสดาถือกำาเนิดนั้น สังคมอาหรับ
อยู่ในสภาพที่เสื่อมโทรมมาก ผู้คนมั่วสุมดื่มนำ้าเมา
และเล่นการพนัน การละเมิดประเวณีเกิดขึ้นเป็น
ประจำา มีการฝังเด็กหญิงทั้งเป็นเพราะถือว่าเป็น
สิ่งอัปมงคล การแก้แค้นด้วยการประหัตประหาร
เป็นเรื่องปกติ
• ความเชื่อในสังคมสมัยนั้นส่วนใหญ่ถือว่ามี
เทพเจ้าต่างๆมากมาย แล้วสร้างรูปเคารพแทน
เทพแต่ละองค์ขึ้นมา 15
ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติ
ศาสดา
• จนกระทั่งวันหนึ่งขณะที่ท่านอยู่ในถำ้าบนภูเขาฮิ
รอ เทวทูตญิบรออีลก็ได้นำาโองการของพระอัล
เลาะห์ มาประทาน ท่านศาสดามุฮัมมัดจึงเริ่ม
ประกาศศาสนา คนแรกที่เข้ารับนับถือ ศาสนา
อิสลาม ก็คือ นางคอดีญะฮ์ ผู้เป็นภรรยา
•  หลังจากประกาศศาสนาได้ ๑๓ ปี ท่านศาสดาได้
ลี้ภัยจากเมืองเมกกะ โดยไปอยู่ที่เมืองมะดีนะฮ์ ถือ
เป็นการเริ่มต้นนับศักราช อิสลาม เรียกว่า ฮิจเร
าะห์ศักราช (ฮ.ศ.) จนกระทั่งถึงปี พ.ศ.๑๑๗๓ 16
ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติ
ศาสดา
• สิ่งแรกที่นบีสั่งให้สาวกทำา คือ ให้ทำาลายรูป
“เคารพให้หมด โดยนบีมุฮัมหมัดกล่าวว่า เมื่อ
”ความจริงมาแล้ว ความไม่จริงย่อมหนีไป
• นับตั้งแต่กลับเข้าเมืองเมกกะแล้ว นบีมุฮัมหมัด
ก็ได้ประกาศศาสนาออกไปอย่างกว้างไกล จึง
ทำาให้มีศาสนิกชนมากขึ้นทุกที เกิดเป็น
อาณาจักรมุสลิมขึ้นในโลก ท่านนบีจึงต้องวาง
ระเบียบปกครองหมู่คณะ โดยท่านนบีเป็นผู้
ปกครองสูงสุด วินิจฉัยตัดสินปัญหาต่างๆ ด้วย
ตนเอง คอยดูแลศาสนาและศาสนิกให้อยู่กันเป็น
17
ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติ
ศาสดา
- ท่านศาสดามุฮัมมัด ถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ.
๑๑๗๕ ตรงกับ ฮ.ศ. ๑๑ รวมอายุได้ ๖๒ ปี ณ
เมืองมะดินะ ปัจจุบันพระศพของท่านถูกฝังอยู่ที่
“ ” “เมืองมะดินะ เรียกว่า มัสยิดนะบะวีย์ หรือ มัสยิด
”นบี อันเป็นสถานที่ที่มุสลิมทั่วโลกพากันไปทำา
ละหมาดอยู่เสมอ
- ท่านได้ดำารงตนเป็นผู้เสมอต้นเสมอปลาย มี
เมตตากับทุกคน รักสันโดษมีความยุติธรรม และ
ความซื่อสัตย์เป็นเลิศ จนได้รับฉายาตั้งแต่สมัย18
19
คัมภีร์ศาสนาอิสลาม
• คัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ คัมภีร์อัลกุรอาน
(Al-Quran) หรือ ชาวตะวันตก เรียก โกราน
(Koran)
• “ ”อัล เท่ากับ the / “ ”กุรอาน แปลว่า บทอ่าน ,
บทท่อง, พระคัมภีร์
• “คัมภีร์อัลกุรอาน หมายถึง อ่าน ท่องเพื่อ
”พระเจ้า >> เป็นพระคัมภีร์ที่ศาสนิกชนจะต้อง
อ่านและศึกษาให้เข้าใจ สามารถอ่านด้วย
ทำานองไพเราะและมีศิลปะได้
20
คัมภีร์ศาสนาอิสลาม
• คัมภีร์อัลกุรอานกำาเนิดมาจากการเขียนขึ้น
จากคำาบอกเล่าของท่านนบีมุฮัมหมัด ซึ่งได้รับ
ทราบจากทูตสวรรค์บ้าง จากพระอัลเลาะห์
โดยตรงบ้าง เพื่อให้ใช้เป็นธรรมนูญในการ
ดำาเนินชีวิตของมุสลิมทั่วโลก
• คัมภีร์อัลกุรอานเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ต้องแสดง
ความเคารพอย่างเคร่งครัด เพราทุกตัวอัการ
เกิดจากการเปิดเผยของพระเจ้า (วะฮีย์) เป็น
เทวบัญชาของพระเจ้า ไม่มีใครจะสงสัย
ดัดแปลง แก้ไขได้ 21
คัมภีร์ศาสนาอิสลาม
• คัมภีร์อัลกุรอาน ได้รวบรวมเอาข้อความ
ของคัมภีร์ต่างๆ ที่พระเจ้าได้เคยประทาน
แก่ศาสดาองค์อื่นๆ ก่อนหน้านั้นมาไว้ด้วย
• *** คัมภีร์อัลกุรอานถือเป็นคัมภีร์สุดท้ายที่
สมบูรณ์ที่สุด
• ลักษณะการบรรจุเนื้อหาในคัมภีร์อัลกุรอาน
“ ”แบ่งเป็น ซูเราะห์ หรือ บท มี ๑๑๔ บท
• ๑) ซูเราะห์ที่เมืองเมกกะ >> เรื่องราวของ
ชาติต่างๆ, ลักษณะความเป็นเอกภาพของ
พระอัลเลาะห์และศรัทธาที่ควรมีต่อ
22
คัมภีร์ศาสนาอิสลาม
• ๒) ซูเราะห์ที่เมืองมะดีนะฮฺ >> ประมวล
กฎหมาย, หลักปฏิบัติของมุสลิม
• อัล-ฮะดีษ >> เป็นการบันทึกหรืออธิบาย
เกี่ยวกับคำาสอน และพระจริยวัตรของท่าน
ศาสดามุฮัมหมัด มีอยู่จำานวน ๔,๐๐๐ ข้อ
เช่น
• - มนุษย์ที่ดีที่สุด คือ ผู้บำาเพ็ญประโยชน์แก่
เพื่อนมนุษย์
• - ผู้ใดมีความพยายาม ผู้นั้นจะได้รับความ
สำาเร็จ
23
24
25
26
27
28
29
30
“จงอ่าน ! ด้วยพระนามของพระผู้อภิบาล
ของสูเจ้าผู้ทรงสร้าง ผู้สร้างมนุษย์จากก้อน
เลือด จงอ่านและพระผู้อภิบาลของเจ้านั้น
ทรงไพโรจน์ ผู้ทรงสอนด้วยปากกา ผู้ทรง
สอนมนุษย์
”ในสิ่งที่เขาไม่รู้
31
• มุสลิมจะต้องเชื่อถือศรัทธาในคัมภีร์
ต่อไปนี้อีกด้วย1. คัมภีร์ซะบูรฺ ซึ่งเป็น
คัมภีร์ที่ถูกประทานให้แก่
ศาสดาดาวุด (เดวิด)
2. คัมภีร์เตารอต ซึ่ง
เป็นคัมภีร์ที่ถูกประทานให้
แก่ศาสดามูซา (โมเสส)
3. คัมภีร์อินญีล
(ไบเบิ้ล) ซึ่งถูกประทาน
32
33
34
35
36
37
38
39
เป็นการยอมรับด้วยศรัทธาและความบริสุทธิ์ใจว่า
พระอัลเลาะห์ทรงเป็นพระเจ้าสูงสุดเพียงองค์เดียว
การปฏิญาณตนเป็นก้าวแรกที่นำาไปสู่ความเป็น
40
การละหมาด
• การละหมาดเป็นการแสดงความเคารพ
ต่อพระเป็นเจ้า เป็นการขอบคุณ ขอ
ขมา และสรรเสริญพระองค์
• - มุสลิมทั้งชาย หญิงที่บรรลุนิติภาวะ
แล้วจะต้องปฏิบัติทุกวัน วันละ ๕ ครั้ง
ในเวลาเช้ามืด, เที่ยงวัน, บ่าย,
พระอาทิตย์ตก และเวลาคำ่า
• - ผู้ปฏิบัติทุกคนต้องหันหน้าไปสู่ทิศทาง
เดียวกัน คือ ทิศที่ตั้งของวิหารกาบาห์ 41
42
43
1. ตรวจสุขภาพตัวเองให้พร้อม
2. ทบทวนการกระทำาของตัวเอง
3. หยุดทำาความชั่ว
4. ตั้งใจว่าจะทำาอะไรดี ๆ เป็นพิเศษ
44
นายแพทย์ Allan Cott ชาวอเมริกันได้
เขียนหนังสือ “Why Fast ?” (ทำาไมต้อง
ถือศีลอด) ไว้ 10 ข้อ ดังนี้
1. ทำาให้รู้สึกว่าสุขภาพกายและจิตใจที่ดีขึ้น
2. ทำาให้มองเห็นและรู้สึกอ่อนเยาว์ขึ้น
3. ทำาให้ร่างกายสะอาดสะอ้าน
4. ช่วยลดความดันโลหิตสูงและระดับคอเลสเตอรอล
ในเลือด
5. ช่วยลดความรู้สึกอารมณ์ใคร่
6. ให้โอกาสแก่ร่างกายได้มันบำาบัดตัวมันเอง
7. ช่วยลดความตึงเครียด
8. ทำาให้สติปัญญาเฉียบแหลม
9. ทำาให้สามารถควบคุมตนเองได้
10. ช่วยชะลอความชรา / แก่
45
46
47
48
การทำาฮัจญ์ที่การทำาฮัจญ์ที่
นครเมกกะนครเมกกะ
การกระทำาที่เป็นข้ออนุญาต
และส่งเสริม - Halal
• บอกทางให้แก่ผู้หลงทาง
• ต่อสู้ถ้ามีการกดขี่
• รู้จักการให้อภัยและยึดเอาความผ่อนปรน
• เป็นคนดีต่อบิดามารดา ต่อญาติ ต่อเด็ก
• สำารวมตนให้พ้นความชั่ว
• เตือนกันและกันในสัจธรรม
• ศึกษาวิชาตั้งแต่อยู่ในเปลจนถึงหลุมศพ
• ตวงให้เต็มเมื่อจะตวง และชั่งด้วยตราชั่งที่ 49
การกระทำาที่เป็นข้อห้ามปราม
- Harom
• ห้ามยกย่องใครหรือสิ่งใดเสมอพระอัลเลาะห์
• ห้ามเคารพบูชารูปทุกชนิด
• ห้ามกราบไหว้บูชาธรรมชาติทุกชนิด
• ห้ามขายบริการหรือห้ามดื่มสุราเมรัยทุกชนิด
• ห้ามเรียกหรือให้ดอกเบี้ย
• ห้ามเสี่ยงโชคหรือการพนันทุกชนิด
• ห้ามคุมกำาเนิด ห้ามทำาแท้ง
• ห้ามฆ่าตัวเองและผู้อื่น ฯลฯ 50
พิธีกรรมของศาสนาอิสลาม
• ๑) พิธีฮัจญ์
• ๒) พิธีถือศีลอด
• ๓) พิธีละหมาด
• ๔) พิธีบริจาคซะกาต
• ๕) พิธีสุหนัต
• ๖) พิธีศพ
51
จุดหมายสูงสุดของศาสนา
อิสลาม
• ศาสนาอิสลามมีจุดหมายปลายทางคือ
การได้ไปอยู่กับพระเจ้าในสรวงสวรรค์
อันเป็นความสุขนิรันดร
• จะไปสู่จุดมุ่งหมายได้ *** ชาวมุสลิมจะ
ต้องถือปฏิบัติตามบทบัญญัติว่าด้วยหลัก
ปฏิบัติ ๕ ประการของอิสลามโดย
เคร่งครัดและถูกต้องสมบูรณ์
52
นิกายในศาสนาอิสลาม
• ๑) นิกายชุนนี (Sunni) เป็นนิกายที่ยึด
คัมภีร์อัลกุรอานเป็นหลัก และถือพระวจนะ
ของท่านนบีมุฮัมหมัดเป็นทางนำา และปฏิบัติ
ตามอิหม่ามทั้ง ๔ ***ชนมุสลิมกลุ่มใหญ่
นับถือนิกายนี้ รวมทั้งในประเทศอินโดนิเซีย
มาเลเซีย และไทยด้วย
• ๒) นิกายชีอะฮฺ (Sheite) ถือว่าผู้ที่เหมาะสม
จะเป็นกาหลิบ หรือผู้ปกครองชาวมุสลิมต่อ
จากมุฮัมหมัด คือ อาลี ซึ่งเป็นบุตรเขยของ 53
สัญลักษณ์ในศาสนาอิสลาม
54
สัญลักษณ์ในศาสนาอิสลาม
• ในศาสนาอิสลามเคารพเฉพาะพระอัลเลาะห์
องค์เดียวเท่านั้น ไม่มีการเคารพบูชารูปเคา
รพใดๆ
• สัญลักษณ์ของศาสนาอิสลามโดยอนุโลม
“ได้แก่ รูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวและมีดวงดาว
อยู่ข้างบน เป็นเครื่องหมายของอาณาจัก
รอ๊อตโตมานเตอร์กในอดีตที่เคยรุ่งเรือง
(ศตวรรษที่ ๑๕ ถึง ๒๐) บรรดาประเทศมุสลิม
ที่เคยอยู่ในอำานาจของอาณาจักรอ๊อตโตมาน55
Halan - เครื่องหมายการค้า ของไทย
เพื่อกลุ่มอิสลาม
56
Halan - เครื่องหมายการค้า ของไทย
เพื่อกลุ่มอิสลาม
• เป็นศัพท์นิติศาสตร์อิสลามจากภาษาอาหรับ คือ
กฎบัญญัติอนุมัติให้ มุกัลลัฟ (มุสลิมที่อยู่
ในศาสนนิติภาวะ) กระทำาได้ อันได้แก่ การ
นึกคิด วาจา และการกระทำาที่ศาสนาได้อนุมัติ
ให้
• ***เช่น การรับประทานเนื้อปศุสัตว์ที่ได้รับการ
เชือดอย่างถูกต้อง การค้าขายโดยสุจริตวิธี การ
สมรสกับสตรีตามกฏเกณฑ์ที่ได้ระบุไว้ เป็นต้น
ในเมืองไทย คำาว่า ฮาลาล เป็นที่รู้จักในความ
หมาย อาหาร หรือสิ่งเจือปนที่ไม่ขัดกับหลัก
57
58
• ธรรมชาติ คือกฎระเบียบที่อัลลอฮฺได้
ทรงวางไว้ให้แก่ทุกสรรพสิ่งในสากล
จักรวาล ตั้งแต่การเคลื่อนไหวของ
อะตอมในโมเลกุล การทำางานของ
ระบบอวัยวะในร่างกายมนุษย์ไป
จนถึงการโคจรของดวงดาวต่าง ๆ
ในสากลจักรวาล
59
• กฎระเบียบเหล่านี้เป็น
“ ”ซุนนะฮ์ (แบบแผน)
ของ อัลลอฮฺ ที่ไม่อาจ
เปลี่ยนแปลงได้ และ
เป็นสิ่งที่อยู่เบื้องหลังสิ่ง
ที่มนุษย์เรียกว่าปรากฎ
การทางธรรมชาติ
• มนุษย์เป็นเพียงแต่ผู้ที่
ค้นพบกฎเหล่านี้ และ
นำามันมาใช้ประโยชน์
60
• “ทุกชีวิตต้องได้ลิ้มรส
”ความตาย
สัจธรรมจากคัมภีร์อัลกุ
รอาน
• ความตายมิได้เป็นการ
สิ้นสุดหรือเป็นจุด
สุดท้ายของชีวิต หาก
แต่มันเป็นจุดเริ่มต้น
ของการที่มนุษย์จะ
61
62
1. เนื้อหมูถูกห้ามในอัล
กุรอาน
2. การบริโภคเนื้อหมูเป็น
สาเหตุของโรคหลาย
ชนิด
3. เนื้อหมูก่อให้เกิดการ
สร้างไขมัน
เกินความจำาเป็น
4. หมูเป็นสัตว์ที่สกปรก
หมู ไม่
อร่อย...?
63
• ฮาลาล หมายถึง สิ่งที่
กฎหมายอิสลาม หรือ
บทบัญญัติของอัลลอฮฺ
อนุมัติให้ปฏิบัติหรือ
บริโภคได้
• อาหารฮาลาล หมายถึง
อาหารที่อนุมัติให้มุสลิม
บริโภค
• ขณะเดียวกัน มุสลิม จะ
หลีกเลี่ยงการบริโภค
อาหารที่ศาสนาห้าม
64
• หะรอม หมายถึง สิ่งที่กฎหมายอิสลาม หรือ
บทบัญญัติของอัลลอฮฺไม่อนุมัติให้กระทำา
และถือเป็นที่ต้องห้าม สำาหรับมุสลิม
ใครก็ตาม ที่เข้าไปเกี่ยวข้อง จะต้องได้รับ
โทษจากอัลลอฮฺ (ซ.บ.) มุสลิม หรือผู้ศรัทธา
ต้องดำาเนินชีวิตตาม แนวทางที่ฮาลาล และ
หลีกเลี่ยงสิ่งที่หะรอม
65
• นม (จากวัว แกะ และแพะ)
• นำ้าผึ้ง
• ปลา
• พืชที่ไม่มีสารที่เป็นพิษ
• ผัก ผลไม้
• พืชตระกูลถั่ว เช่น ถั่วลิสง เม็ดมะม่วงหิมพานต์ ลูก
วอลนัท ฯลฯ
• เมล็ดข้าว หรือธัญพืช เช่น ข้าวสาลี ข้าวเจ้า ข้าว
บาร์เลย์ ข้าวโอ๊ต ฯลฯ
• สัตว์จำาพวก วัว แกะ แพะ กวาง ไก่ เป็ด นก ฯลฯ
ซึ่งเป็นสัตว์ที่ฮาลาล และจะต้องผ่านกระบวนการ
66
• หมูบ้าน, หมูป่า, สุนัข, ลา, และ สัตว์กินเนื้อเช่น เสือ
• สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์นำาโรค เช่น หนอน, หมัด, เห็บ,
แมลงวันและแมลงสาบ เป็นต้น
• สัตว์ที่ตายเอง ยกเว้นสัตว์นำ้า สัตว์ที่ถูกรัดคอตาย สัตว์ที่ถูกตี, ทุบ
หรือขว้างตาย สัตว์ที่ตกจากที่สูงตาย สัตว์ที่ถูกขวิดตาย และ
สัตว์ที่ถูกสัตว์อื่นกินจนตาย
• สัตว์ที่ถูกเชือดด้วยนามอื่นนอกจากอัลลอฮฺ สัตว์ที่ถูกเชือดเพื่อ
บูชาเจว็ด
• สัตว์ที่มีเขี้ยวและกรงเล็บ เช่น สิงห์โต, หมี, และสัตว์อื่นที่มี
ลักษณะเดียวกัน เช่น ลิง, แมว
• สัตว์ครึ่งบกครึ่งนำ้า เช่น กบ, จระเข้, และเต่า
• สัตว์ที่อิสลามอนุญาตให้ฆ่าได้ เช่น แมงป่อง, ตะขาบ, หนู และ
สัตว์สกปรก มีพิษอื่น ๆ
• สัตว์ที่ห้ามฆ่าในอิสลาม เช่น มด, ผึ้ง, นกหัวขวาน
• นกที่มีกรงเล็บไว้ล่าเหยื่อ เช่น เค้าแมว, เหยี่ยว, อินทรีย์ และนก
ประเภทเดียวกัน
67
68
1. อิสลามยอมรับความต้องการ
ทางเพศของ
ฝ่ายชาย แต่อิสลามก็ควบคุม
ความต้องการนั้นให้อยู่ในทาง
ที่ถูกที่ควร
2. อัลลอฮ เป็นผู้สร้างมนุษย์ ทรง
รู้ความสามารถของมนุษย์เป็น
อย่างดี
3. “ความยุติธรรม” เป็นเงื่อนไข
สำาคัญ ขณะเดียวกันก็เพื่อที่จะ
ให้มุสลิมได้นำาหลักการอิสลาม
ไปใช้ในการแก้ปัญหาสังคม
69
70
ฮิญาบ
คือ การ
ปกป้อง
ศักดิ์ศรีและ
เกียรติ
72
ฮิญาบ คือ การปกปิดอันถูกต้องสำาหรับสตรีซึ่ง
จัดว่าเป็นหนึ่งในปัจจัยที่มีผลมากที่สุดในการ
ปกป้อง และดูแลครอบครัว สตรีที่ไม่ปกปิด
ศีรษะและเรือนร่างของเธอนั้น เท่ากับเป็นการ
จุดไฟแห่งอารมณ์ของบุรุษให้ลุกโชติช่วง เปิด
ประกายสายตาของเขาให้เบิกออก และสาด
ส่องสายตาไปตามอารมณ์และอำานาจฝ่ายตำ่า
โดยไม่อาจควบคุมได้อีก ตั้งมากมายของ
อาชญากรรมที่เกิดขึ้น หรือความเสื่อมทราม
ทางสังคมทีไม่อาจคำานวณนับได้นั้น ส่วนหนึ่ง
มาจากบทบาทของสตรีที่ไม่คลุมผ้าให้มิดชิด
ซึ่งชายแปลกหน้าทั้งหลายบนโลกนี้ล้วนตกเป็น
73
ฮิญาบ คือองค์ประกอบสำาคัญที่ช่วยรักษาความ
บริสุทธิ์และศักดิ์ศรีของสตรี เป็นเสมือนป้อม
ปราการที่คอยปกป้องเธอให้รอดปลอดภัยตลอด
เวลา จากการถลำาไปในความชั่วร้ายอนาจาร
หรือการกระทำาที่ไม่ดีไม่งามทั้งหลาย นอกจาก
นั้นแล้ว ฮิญาบ ยังช่วยเสริมสร้างเกียรติยศและ
ทำาให้สตรีคนนั้นได้รับเกียรติ และได้ความ
เคารพจากบุคคลอื่น อีกทั้งยังทำาให้เธออกห่าง
จากความผิดบาป
74
75
76
1. ปาณาติปาตา เวรมณี (สิกฺขาปทำสมาทิยามิ) เว้น
จากการฆ่าสัตว์ตัดชีวิตอิสลามสอนว่า ....
• ‫ا‬ْ ‫لاو‬ُ‫او‬‫ت‬ُ‫او‬‫ق‬ْ ‫ت‬َ‫تْق‬‫ال‬َ‫تْق‬ ‫و‬َ‫تْق‬‫س‬َ‫تْق‬ ‫ف‬ْ ‫ن‬َّ‫ال‬‫ت ي‬ِ‫ح ي‬‫ل‬َّ‫ا‬‫م‬َ‫تْق‬‫ر‬َّ ‫ح‬َ‫تْق‬‫لل‬ّ‫ُه‬ ‫ا‬‫ال‬َّ ‫إ‬ِ‫ح ي‬‫ق‬ِّ  ‫ح‬َ‫تْق‬ ‫بلال‬ِ‫ح ي‬
• และท่านทั้งหลายจงอย่าฆ่าชีวิตใดที่อัลลอฮฺ
ได้ทรงห้ามไว้ นอกจากเพื่อสิทธิอันชอบ
ธรรม (17:33)
77
2. อทินฺนาทานา เวรมณี (สิกฺขาปทำสมาทิยามิ) เว้น
จากการลักทรัพย์
อิสลามสอนว่า
• ‫ق‬ُ‫او‬ ‫ر‬ِ‫ح ي‬ ‫سلا‬َّ ‫وال‬َ‫تْق‬‫ة‬ُ‫او‬ ‫ق‬َ‫تْق‬‫ر‬ِ‫ح ي‬ ‫سلا‬َّ ‫وال‬َ‫تْق‬‫ا‬ْ ‫عاو‬ُ‫او‬ ‫ط‬َ‫تْق‬ ‫ق‬ْ ‫فلا‬َ‫تْق‬‫ملا‬َ‫تْق‬ ‫ه‬ُ‫او‬ ‫ي‬َ‫تْق‬‫د‬ِ‫ح ي‬‫ي‬ْ ‫أ‬َ‫تْق‬‫زاء‬َ‫تْق‬ ‫ج‬َ‫تْق‬‫ملا‬َ‫تْق‬ ‫ب‬ِ‫ح ي‬‫بلا‬َ‫تْق‬‫س‬َ‫تْق‬ ‫ك‬َ‫تْق‬‫ال‬ً ‫م‬ ‫كلا‬َ‫تْق‬ ‫ن‬َ‫تْق‬‫ن‬َ‫تْق‬ ‫م‬ِّ ‫لل‬ِّ  ‫ا‬
• ส่วนขโมยผู้ชายและขโมยผู้หญิงนั้น ท่านทั้ง
หลายจงตัดมือมันทั้งสองเป็นการตอบแทนสำาหรับ
สิ่งที่มันได้กระทำาไว้ เป็นการลงโทษเพื่อเป็นเยี่ยง
อย่างจากอัลลอฮฺ (5:38)
• ‫ال‬َ‫تْق‬ ‫و‬َ‫تْق‬‫ا‬ْ ‫باو‬ُ‫او‬‫ر‬َ‫تْق‬ ‫ق‬ْ ‫ت‬َ‫تْق‬‫ل‬َ‫تْق‬ ‫ملا‬َ‫تْق‬‫م‬ِ‫ح ي‬‫تمي‬ِ‫ح ي‬‫مي‬َ‫تْق‬‫ل‬ْ ‫ا‬‫ال‬َّ ‫إ‬ِ‫ح ي‬‫ت ي‬ِ‫ح ي‬‫ل‬َّ‫بلا‬ِ‫ح ي‬‫ ي‬َ‫تْق‬ ‫ه‬ِ‫ح ي‬‫ن‬ُ‫او‬ ‫س‬َ‫تْق‬ ‫ح‬ْ  ‫أ‬َ‫تْق‬
• และท่านทั้งหลายจงอย่าเข้าใกล้ทรัพย์ของเด็ก
กำาพร้า (ด้วยเจตนาฉ้อฉล) นอกจากเพื่อดำาเนิน
78
3. กาเมสุมิจฺฉาจารา เวรมณี (สิกฺขาปทำสมาทิยามิ)
เว้นจากการประพฤติผิดในกามทั้งหลาย
อิสลามสอนว่า
• ‫ال‬َ‫تْق‬ ‫و‬َ‫تْق‬‫ا‬ْ ‫باو‬ُ‫او‬‫ر‬َ‫تْق‬ ‫ق‬ْ ‫ت‬َ‫تْق‬‫ن ى‬َ‫تْق‬‫ز‬ِّ  ‫ال‬‫ه‬ُ‫او‬ ‫ن‬َّ‫إ‬ِ‫ح ي‬‫ن‬َ‫تْق‬ ‫كلا‬َ‫تْق‬‫ة‬ً ‫م‬ ‫ش‬َ‫تْق‬ ‫ح‬ِ‫ح ي‬ ‫فلا‬َ‫تْق‬‫سلاء‬َ‫تْق‬ ‫و‬َ‫تْق‬‫ال‬ً ‫م‬ ‫بمي‬ِ‫ح ي‬‫س‬َ‫تْق‬
• และท่านทั้งหลายจงอย่าเข้าใกล้การละเมิด
ประเวณี แท้จริงมันเป็นการลามกและเป็นหนทาง
อันชั่วช้ายิ่ง (17:32)
79
4. มุสาวาทา เวรมณี (สิกฺขาปทำสมาทิยามิ) เว้นจาก
การพูดเท็จ คำาหยาบ หรือพูดส่อเสียด
อิสลามสอนว่า
4. ‫باوا‬ُ‫او‬‫ن‬ِ‫ح ي‬‫ت‬َ‫تْق‬‫ج‬ْ  ‫وا‬َ‫تْق‬‫ل‬َ‫تْق‬ ‫او‬ْ  ‫ق‬َ‫تْق‬‫ر‬ِ‫ح ي‬ ‫زو‬ّ‫ُه‬ ‫ال‬
5. และท่านทั้งหลายจงห่างไกลจากการกล่าว
เท็จ (22:30)
80
5. สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี (สิกฺขาปทำสมา
ทิยามิ) เว้นจากการดื่มนำ้าเมา อันเป็นที่ตั้งแห่ง
ความประมาท
อิสลามสอนว่า
• ‫يلا‬َ‫تْق‬‫هلا‬َ‫تْق‬ ‫ي‬ّ‫ُه‬‫أ‬َ‫تْق‬‫ن‬َ‫تْق‬ ‫ذي‬ِ‫ح ي‬‫ل‬َّ‫ا‬‫ا‬ْ ‫ناو‬ُ‫او‬‫م‬َ‫تْق‬ ‫آ‬‫ملا‬َ‫تْق‬ ‫ن‬َّ‫إ‬ِ‫ح ي‬‫ر‬ُ‫او‬ ‫م‬ْ  ‫خ‬َ‫تْق‬ ‫ل‬ْ ‫ا‬‫ر‬ُ‫او‬ ‫س‬ِ‫ح ي‬ ‫مي‬ْ ‫م‬َ‫تْق‬ ‫ل‬ْ ‫وا‬َ‫تْق‬‫ب‬ُ‫او‬ ‫صلا‬َ‫تْق‬ ‫ألن‬َ‫تْق‬ ‫وا‬َ‫تْق‬‫م‬ُ‫او‬‫ال‬َ‫تْق‬ ‫ز‬ْ  ‫أل‬َ‫تْق‬ ‫وا‬َ‫تْق‬‫ج‬ْ  ‫ر‬ِ‫ح ي‬
‫س‬ٌ‫ن‬ْ  ‫م‬ِّ ‫ل‬ِ‫ح ي‬ ‫م‬َ‫تْق‬ ‫ع‬َ‫تْق‬‫ن‬ِ‫ح ي‬ ‫طلا‬َ‫تْق‬ ‫مي‬ْ ‫ش‬َّ ‫ال‬‫ه‬ُ‫او‬‫باو‬ُ‫او‬‫ن‬ِ‫ح ي‬‫ت‬َ‫تْق‬‫ج‬ْ  ‫فلا‬َ‫تْق‬‫م‬ْ  ‫ك‬ُ‫او‬ ‫ل‬َّ‫ع‬َ‫تْق‬ ‫ل‬َ‫تْق‬‫ن‬َ‫تْق‬ ‫حاو‬ُ‫او‬ ‫ل‬ِ‫ح ي‬‫ف‬ْ ‫ت‬ُ‫او‬
• โอ้บรรดาผู้ศรัทธาทั้งหลายเอ๋ย แท้จริงสุรา, การ
พนัน, การเซ่นสรวงบูชา และการเสี่ยงทายนั้นเป็น
ความโสมมจากการกระทำาของชัยฏอน (มารร้าย)
ดังนั้นท่านทั้งหลายจงห่างไกลจากมันเถิด เพื่อว่า
พวกท่านจักได้ชัยชนะ (5:90)
81
82
83
• “ญิฮาด” มาจากคำาว่า “ ”ญะฮาดา หมาย
“ ”ถึง ความพยายาม
• “ ”ญิฮาด หมายถึง การพยายาม การ
ดิ้นรนต่อสู้ หรือการใช้พลังอำานาจของ
ตนเองไปในแนวทางของอัลลอฮฺ เพื่อที่
จะเพิ่มพูนความศรัทธาในพระเจ้า ซึ่งจะ
บรรลุได้ด้วยความมีศรัทธามั่น การกระ
ทำาความดี หลีกเลี่ยงความชั่ว
การทำาตามคำาสั่งของพระผู้เป็นเจ้า การ
เผยแพร่ศาสนาอิสลาม และเทอดทูน
ปกป้องอิสลาม
84
85
ญิฮาด
86
87
88
 ท่านนบีมุฮัมมัด (ศ็อลฯ) กล่าวไว้ว่า “ไม่ใช่
เป็นส่วนหนึ่งของประชาชาติของฉันสำาหรับผู้
ที่เรียกร้องบนฐานแนวคิดของการคลั่งไคล้
ในชาติพันธุ์ ไม่ใช่เป็นส่วนหนึ่งของ
ประชาชาติของฉันสำาหรับผู้ที่ทำาสงครามบน
ฐานแนวคิดของการคลั่งไคล้ในชาติพันธุ์และ
ไม่ใช่เป็นส่วนหนึ่งของประชาชาติของฉัน
สำาหรับผู้ที่เสียชีวิตเนื่องจากการต่อสู้ในการ
ปกป้องและพิทักษ์รักษาแนวคิดของการคลั่ง
ไคล้ในชาติพันธุ์”
89
““ด้วยหลักฐานทั้งหลายที่ชัดแจ้ง และด้วยหลักฐานทั้งหลายที่ชัดแจ้ง และ
คัมภีร์ต่าง ๆ ที่ศักดิ์สิทธิ์คัมภีร์ต่าง ๆ ที่ศักดิ์สิทธิ์
และเราได้ให้อัลกุรอานแก่เจ้า เพื่อเจ้าและเราได้ให้อัลกุรอานแก่เจ้า เพื่อเจ้า
จะได้ชี้แจงจะได้ชี้แจง ((ให้กระจ่างให้กระจ่าง))
แก่มนุษย์ ซึ่งสิ่งที่ได้ถูกประทานมาแก่แก่มนุษย์ ซึ่งสิ่งที่ได้ถูกประทานมาแก่
พวกเขาพวกเขา
”และเพื่อพวกเขาจะได้ไตร่ตรอง”และเพื่อพวกเขาจะได้ไตร่ตรอง
อัลกุรอานอัลกุรอาน 16:4416:44
90
91
92

More Related Content

Viewers also liked

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
thnaporn999
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Jani Kp
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
Anchalee BuddhaBucha
 

Viewers also liked (9)

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 

ศาสนาอิสลาม

  • 1. 1
  • 2. 2
  • 3. 3 1.1. อินโดนีเซียอินโดนีเซีย 195.272195.272 ล้านคนล้านคน 2.2. ปากีสถานปากีสถาน 157.528157.528 ล้านคนล้านคน 3.3. อินเดียอินเดีย 154.504154.504 ล้านคนล้านคน 4.4. บังคลาเทศบังคลาเทศ 127.3286127.3286 ล้านคนล้านคน 5.5. ตุรกีตุรกี 72.754272.7542 ล้านคนล้านคน 6.6. อียิปอียิป 70.8870.88 ล้านคนล้านคน 7.7. อิหร่านอิหร่าน 68.80568.805 ล้านคนล้านคน 8.8. ไนจีเรียไนจีเรีย 65.2565.25 ล้านคนล้านคน 9.9. จีนจีน 39.11139.111 ล้านคนล้านคน 10.10. เอธิโอเปียเอธิโอเปีย 37.4037.40 ล้านคนล้านคน 11.11. อัลจีเรียอัลจีเรีย 33.1733.17 ล้านคนล้านคน 12.12. โมรอคโคโมรอคโค 31.7831.78 ล้านคนล้านคน 13.13. ซูดานซูดาน 30.0830.08 ล้านคนล้านคน 14.14. อัฟกานิสถานอัฟกานิสถาน 29.60129.601 ล้านคนล้านคน 15.15. อิรักอิรัก 28.7128.71 ล้านคนล้านคน 16.16. รัสเซียรัสเซีย 27.0427.04 ล้านคนล้านคน 17.17. ซาอุดิอาราเบียซาอุดิอาราเบีย 24.124.1 ล้านคนล้านคน 18.18. อุสเบกิสถานอุสเบกิสถาน 23.23223.232 ล้านคนล้านคน 19.19. ยเมนยเมน 2828 ล้านคนล้านคน 20.20. ทานซาเนียทานซาเนีย 18.9518.95 ล้านคนล้านคน
  • 4. 4
  • 5. 5 • ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาสากล ประเภทเอก เทวนิยม มีแหล่งกำาเนิดในเอเชียตะวันตก คือ นครเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย มีผู้ นับถือทั่วโลก ส่วนใหญ่ในประเทศอาหรับ และเอเชีย • เป็นศาสนาที่มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับ ๒ รองจากศาสนาคริสต์ • อิสลามถือว่า สรรพสิ่งทั้งหลายถูกสร้างโดย พระผู้เป็นเจ้า คือ พระอัลเลาะห์
  • 6. 6 •ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาแห่งกฎหมาย เพ ราะคัมภีร์อัลกุรอานได้ประมวลหลักธรรมอัน เป็นธรรมนูญของชีวิต มีหลักการดำาเนินชีวิต ประจำาวันในสังคมในทุกๆด้าน เช่น การ ปกครอง การแต่งงาน พาณิชย์ การลงโทษ เป็นต้น ครอบคลุมทุกมิติในชีวิตตั้งแต่เกิดจน ตาย •ชาวมุสลิมผู้มีศรัทธา คือ ผู้ที่มีชีวิตนอบน้อม และมอบตนต่อ พระอัลเลาะห์ ย่อมปฏิบัติ ตามกฎเกณฑ์ที่รวบรวมไว้ในคัมภีร์ อัล
  • 7. 7 •- ในกรณีเกิดความเข้าใจขัดแย้งกัน ในหลักคำาสอนของศาสนาอิสลาม ให้ดู “ ”วจนะ (คำาพูด) และ “ ”จริยวัตร (การ ปฏิบัติ) ของศาสดา มุฮัมหมัด เป็นแนว ตัดสิน •- ได้มีผู้รวบรวม วจนะ และ จริยวัตร ของศาสดาไว้ เรียกว่า “ ”ซุนนะฮ์ •- เฉพาะวจนะ เรียกว่า “ ”ฮาดิษ •- ถ้ายังแก้ปัญหาความขัดแย้งไม่ได้
  • 8. สำานักข่าวต่างประเทศรายงานว่า โอมาร์ บูร์กัน อัลกาลา (Omar Borkan Al Gala) นายแบบหนุ่มอาหรับและช่างภาพจา กดูไบ ที่กลายเป็นข่าวดังคึกโครมไปทั่วโลก จากกรณีที่ถูก ทางการซาอุดีอะราเบียสั่งเนรเทศให้ออกจากประเทศ พร้อมกับ เพื่อนนายแบบอีก 2 คน โดยให้เหตุผลว่า ทั้ง 3 มีรูปร่างหน้าตา ที่หล่อและน่าหลงใหลเกินไป หวั่นทำาให้หญิงชาวซาอุฯ คลั่ง ไคล้และเสื่อมเสียทางวัฒนธรรม 8
  • 9. 9
  • 10. 10 •ศาสนาอิสลามมีต้นกำาเนิดมาจากศาสนา ยิวและศาสนาคริสต์ เพราะอัลเลาะห์ เจ้าได้ส่งผู้ประกาศข่าว ได้แก่ •นบีมูซา หมายถึง โมเสส •นบีอีซา หมายถึง พระเยซู •นบีคนสุดท้าย คือ นบีมุฮัมหมัด •หลังจากท่านนบีมุฮัมหมัดแล้วไม่มีนบีอีก เพราะถือว่าพระบัญญัติที่ส่งมาทางนบีมุ ฮัมหมัดสมบูรณ์ ถูกต้อง และแน่นอน
  • 11. 11
  • 12. บ่อเกิดของศาสนาอิสลาม • ศาสนาอิสลามมีความเชื่อว่า บ่อเกิด ของศาสนาอิสลามมาจากการที่อัลเลาะ ห์ประทานคำาสอนแก่ศาสดามุฮัมหมัด โดยทรงใช้ เทวทูตญิบรออิล เป็นผู้มา เปิดเผยให้ท่านโดยตรง • การเปิดเผยครั้งแรกเกิดขึ้นในวันที่ ๒๗ เดือนรอมฎอน ค.ศ. ๖๑๐ ณ ถำ้าฮิรอ บน ภูเขานูร์ ขณะที่ท่านกำาลังสงบใจอยู่ใน ถำ้า เทวทูตญิบรออิลมาสวมกอดท่าน 12
  • 13. บ่อเกิดของศาสนาอิสลาม • เทพญิบรออิล บอกว่าพระอัลเลาะห์ได้ แต่งตั้งให้มุฮัมหมัดเป็นศาสดาสั่งสอน ศาสนาอิสลามของพระองค์ เพราะ ฉะนั้นมุฮัมหมัดจึงกลายเป็นนบีเป็นต้นมา • นบีมุฮัมหมัดจึงเป็นศาสนทูตหรือตัวแทน ของพระเจ้าบนพื้นพิภพเมื่อ พ.ศ. ๑๑๕๓ ขณะที่ท่านมีอายุได้ ๔๐ ปี • ท่านศาสดาก็ได้วะฮีย์หรือการเปิดเผย
  • 14. ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติ ศาสดา • มุฮัมหมัด เกิดเมื่อวันที่ ๒๙ สิงหาคม พ.ศ. ๑๑๑๓ ณ เมืองเมกกะ ประเทศ ซาอุดิอาระเบีย มุฮัมหมัดเกิดในตระกูลฮาซิม เผ่ากุเรซ อันเป็นเผ่าที่มั่งคั่งและมีชื่อเสียง ของอาหรับ • ท่านศาสดาเป็นกำาพร้าตั้งแต่เยาว์วัย ใน เวลาต่อมาจึงไปอยู่ในความอุปการะของลุง ชื่อ อาบูตอลิบเรื่อยมา • “ ”มุฮัมหมัด เป็นชื่อเกียรติคุณนามหลังจาก 14
  • 15. ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติ ศาสดา • ในสมัยที่ท่านศาสดาถือกำาเนิดนั้น สังคมอาหรับ อยู่ในสภาพที่เสื่อมโทรมมาก ผู้คนมั่วสุมดื่มนำ้าเมา และเล่นการพนัน การละเมิดประเวณีเกิดขึ้นเป็น ประจำา มีการฝังเด็กหญิงทั้งเป็นเพราะถือว่าเป็น สิ่งอัปมงคล การแก้แค้นด้วยการประหัตประหาร เป็นเรื่องปกติ • ความเชื่อในสังคมสมัยนั้นส่วนใหญ่ถือว่ามี เทพเจ้าต่างๆมากมาย แล้วสร้างรูปเคารพแทน เทพแต่ละองค์ขึ้นมา 15
  • 16. ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติ ศาสดา • จนกระทั่งวันหนึ่งขณะที่ท่านอยู่ในถำ้าบนภูเขาฮิ รอ เทวทูตญิบรออีลก็ได้นำาโองการของพระอัล เลาะห์ มาประทาน ท่านศาสดามุฮัมมัดจึงเริ่ม ประกาศศาสนา คนแรกที่เข้ารับนับถือ ศาสนา อิสลาม ก็คือ นางคอดีญะฮ์ ผู้เป็นภรรยา •  หลังจากประกาศศาสนาได้ ๑๓ ปี ท่านศาสดาได้ ลี้ภัยจากเมืองเมกกะ โดยไปอยู่ที่เมืองมะดีนะฮ์ ถือ เป็นการเริ่มต้นนับศักราช อิสลาม เรียกว่า ฮิจเร าะห์ศักราช (ฮ.ศ.) จนกระทั่งถึงปี พ.ศ.๑๑๗๓ 16
  • 17. ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติ ศาสดา • สิ่งแรกที่นบีสั่งให้สาวกทำา คือ ให้ทำาลายรูป “เคารพให้หมด โดยนบีมุฮัมหมัดกล่าวว่า เมื่อ ”ความจริงมาแล้ว ความไม่จริงย่อมหนีไป • นับตั้งแต่กลับเข้าเมืองเมกกะแล้ว นบีมุฮัมหมัด ก็ได้ประกาศศาสนาออกไปอย่างกว้างไกล จึง ทำาให้มีศาสนิกชนมากขึ้นทุกที เกิดเป็น อาณาจักรมุสลิมขึ้นในโลก ท่านนบีจึงต้องวาง ระเบียบปกครองหมู่คณะ โดยท่านนบีเป็นผู้ ปกครองสูงสุด วินิจฉัยตัดสินปัญหาต่างๆ ด้วย ตนเอง คอยดูแลศาสนาและศาสนิกให้อยู่กันเป็น 17
  • 18. ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติ ศาสดา - ท่านศาสดามุฮัมมัด ถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. ๑๑๗๕ ตรงกับ ฮ.ศ. ๑๑ รวมอายุได้ ๖๒ ปี ณ เมืองมะดินะ ปัจจุบันพระศพของท่านถูกฝังอยู่ที่ “ ” “เมืองมะดินะ เรียกว่า มัสยิดนะบะวีย์ หรือ มัสยิด ”นบี อันเป็นสถานที่ที่มุสลิมทั่วโลกพากันไปทำา ละหมาดอยู่เสมอ - ท่านได้ดำารงตนเป็นผู้เสมอต้นเสมอปลาย มี เมตตากับทุกคน รักสันโดษมีความยุติธรรม และ ความซื่อสัตย์เป็นเลิศ จนได้รับฉายาตั้งแต่สมัย18
  • 19. 19
  • 20. คัมภีร์ศาสนาอิสลาม • คัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ คัมภีร์อัลกุรอาน (Al-Quran) หรือ ชาวตะวันตก เรียก โกราน (Koran) • “ ”อัล เท่ากับ the / “ ”กุรอาน แปลว่า บทอ่าน , บทท่อง, พระคัมภีร์ • “คัมภีร์อัลกุรอาน หมายถึง อ่าน ท่องเพื่อ ”พระเจ้า >> เป็นพระคัมภีร์ที่ศาสนิกชนจะต้อง อ่านและศึกษาให้เข้าใจ สามารถอ่านด้วย ทำานองไพเราะและมีศิลปะได้ 20
  • 21. คัมภีร์ศาสนาอิสลาม • คัมภีร์อัลกุรอานกำาเนิดมาจากการเขียนขึ้น จากคำาบอกเล่าของท่านนบีมุฮัมหมัด ซึ่งได้รับ ทราบจากทูตสวรรค์บ้าง จากพระอัลเลาะห์ โดยตรงบ้าง เพื่อให้ใช้เป็นธรรมนูญในการ ดำาเนินชีวิตของมุสลิมทั่วโลก • คัมภีร์อัลกุรอานเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ต้องแสดง ความเคารพอย่างเคร่งครัด เพราทุกตัวอัการ เกิดจากการเปิดเผยของพระเจ้า (วะฮีย์) เป็น เทวบัญชาของพระเจ้า ไม่มีใครจะสงสัย ดัดแปลง แก้ไขได้ 21
  • 22. คัมภีร์ศาสนาอิสลาม • คัมภีร์อัลกุรอาน ได้รวบรวมเอาข้อความ ของคัมภีร์ต่างๆ ที่พระเจ้าได้เคยประทาน แก่ศาสดาองค์อื่นๆ ก่อนหน้านั้นมาไว้ด้วย • *** คัมภีร์อัลกุรอานถือเป็นคัมภีร์สุดท้ายที่ สมบูรณ์ที่สุด • ลักษณะการบรรจุเนื้อหาในคัมภีร์อัลกุรอาน “ ”แบ่งเป็น ซูเราะห์ หรือ บท มี ๑๑๔ บท • ๑) ซูเราะห์ที่เมืองเมกกะ >> เรื่องราวของ ชาติต่างๆ, ลักษณะความเป็นเอกภาพของ พระอัลเลาะห์และศรัทธาที่ควรมีต่อ 22
  • 23. คัมภีร์ศาสนาอิสลาม • ๒) ซูเราะห์ที่เมืองมะดีนะฮฺ >> ประมวล กฎหมาย, หลักปฏิบัติของมุสลิม • อัล-ฮะดีษ >> เป็นการบันทึกหรืออธิบาย เกี่ยวกับคำาสอน และพระจริยวัตรของท่าน ศาสดามุฮัมหมัด มีอยู่จำานวน ๔,๐๐๐ ข้อ เช่น • - มนุษย์ที่ดีที่สุด คือ ผู้บำาเพ็ญประโยชน์แก่ เพื่อนมนุษย์ • - ผู้ใดมีความพยายาม ผู้นั้นจะได้รับความ สำาเร็จ 23
  • 24. 24
  • 25. 25
  • 26. 26
  • 27. 27
  • 28. 28
  • 29. 29
  • 30. 30 “จงอ่าน ! ด้วยพระนามของพระผู้อภิบาล ของสูเจ้าผู้ทรงสร้าง ผู้สร้างมนุษย์จากก้อน เลือด จงอ่านและพระผู้อภิบาลของเจ้านั้น ทรงไพโรจน์ ผู้ทรงสอนด้วยปากกา ผู้ทรง สอนมนุษย์ ”ในสิ่งที่เขาไม่รู้
  • 31. 31 • มุสลิมจะต้องเชื่อถือศรัทธาในคัมภีร์ ต่อไปนี้อีกด้วย1. คัมภีร์ซะบูรฺ ซึ่งเป็น คัมภีร์ที่ถูกประทานให้แก่ ศาสดาดาวุด (เดวิด) 2. คัมภีร์เตารอต ซึ่ง เป็นคัมภีร์ที่ถูกประทานให้ แก่ศาสดามูซา (โมเสส) 3. คัมภีร์อินญีล (ไบเบิ้ล) ซึ่งถูกประทาน
  • 32. 32
  • 33. 33
  • 34. 34
  • 35. 35
  • 36. 36
  • 37. 37
  • 38. 38
  • 40. 40
  • 41. การละหมาด • การละหมาดเป็นการแสดงความเคารพ ต่อพระเป็นเจ้า เป็นการขอบคุณ ขอ ขมา และสรรเสริญพระองค์ • - มุสลิมทั้งชาย หญิงที่บรรลุนิติภาวะ แล้วจะต้องปฏิบัติทุกวัน วันละ ๕ ครั้ง ในเวลาเช้ามืด, เที่ยงวัน, บ่าย, พระอาทิตย์ตก และเวลาคำ่า • - ผู้ปฏิบัติทุกคนต้องหันหน้าไปสู่ทิศทาง เดียวกัน คือ ทิศที่ตั้งของวิหารกาบาห์ 41
  • 42. 42
  • 43. 43 1. ตรวจสุขภาพตัวเองให้พร้อม 2. ทบทวนการกระทำาของตัวเอง 3. หยุดทำาความชั่ว 4. ตั้งใจว่าจะทำาอะไรดี ๆ เป็นพิเศษ
  • 44. 44 นายแพทย์ Allan Cott ชาวอเมริกันได้ เขียนหนังสือ “Why Fast ?” (ทำาไมต้อง ถือศีลอด) ไว้ 10 ข้อ ดังนี้ 1. ทำาให้รู้สึกว่าสุขภาพกายและจิตใจที่ดีขึ้น 2. ทำาให้มองเห็นและรู้สึกอ่อนเยาว์ขึ้น 3. ทำาให้ร่างกายสะอาดสะอ้าน 4. ช่วยลดความดันโลหิตสูงและระดับคอเลสเตอรอล ในเลือด 5. ช่วยลดความรู้สึกอารมณ์ใคร่ 6. ให้โอกาสแก่ร่างกายได้มันบำาบัดตัวมันเอง 7. ช่วยลดความตึงเครียด 8. ทำาให้สติปัญญาเฉียบแหลม 9. ทำาให้สามารถควบคุมตนเองได้ 10. ช่วยชะลอความชรา / แก่
  • 45. 45
  • 46. 46
  • 47. 47
  • 49. การกระทำาที่เป็นข้ออนุญาต และส่งเสริม - Halal • บอกทางให้แก่ผู้หลงทาง • ต่อสู้ถ้ามีการกดขี่ • รู้จักการให้อภัยและยึดเอาความผ่อนปรน • เป็นคนดีต่อบิดามารดา ต่อญาติ ต่อเด็ก • สำารวมตนให้พ้นความชั่ว • เตือนกันและกันในสัจธรรม • ศึกษาวิชาตั้งแต่อยู่ในเปลจนถึงหลุมศพ • ตวงให้เต็มเมื่อจะตวง และชั่งด้วยตราชั่งที่ 49
  • 50. การกระทำาที่เป็นข้อห้ามปราม - Harom • ห้ามยกย่องใครหรือสิ่งใดเสมอพระอัลเลาะห์ • ห้ามเคารพบูชารูปทุกชนิด • ห้ามกราบไหว้บูชาธรรมชาติทุกชนิด • ห้ามขายบริการหรือห้ามดื่มสุราเมรัยทุกชนิด • ห้ามเรียกหรือให้ดอกเบี้ย • ห้ามเสี่ยงโชคหรือการพนันทุกชนิด • ห้ามคุมกำาเนิด ห้ามทำาแท้ง • ห้ามฆ่าตัวเองและผู้อื่น ฯลฯ 50
  • 51. พิธีกรรมของศาสนาอิสลาม • ๑) พิธีฮัจญ์ • ๒) พิธีถือศีลอด • ๓) พิธีละหมาด • ๔) พิธีบริจาคซะกาต • ๕) พิธีสุหนัต • ๖) พิธีศพ 51
  • 52. จุดหมายสูงสุดของศาสนา อิสลาม • ศาสนาอิสลามมีจุดหมายปลายทางคือ การได้ไปอยู่กับพระเจ้าในสรวงสวรรค์ อันเป็นความสุขนิรันดร • จะไปสู่จุดมุ่งหมายได้ *** ชาวมุสลิมจะ ต้องถือปฏิบัติตามบทบัญญัติว่าด้วยหลัก ปฏิบัติ ๕ ประการของอิสลามโดย เคร่งครัดและถูกต้องสมบูรณ์ 52
  • 53. นิกายในศาสนาอิสลาม • ๑) นิกายชุนนี (Sunni) เป็นนิกายที่ยึด คัมภีร์อัลกุรอานเป็นหลัก และถือพระวจนะ ของท่านนบีมุฮัมหมัดเป็นทางนำา และปฏิบัติ ตามอิหม่ามทั้ง ๔ ***ชนมุสลิมกลุ่มใหญ่ นับถือนิกายนี้ รวมทั้งในประเทศอินโดนิเซีย มาเลเซีย และไทยด้วย • ๒) นิกายชีอะฮฺ (Sheite) ถือว่าผู้ที่เหมาะสม จะเป็นกาหลิบ หรือผู้ปกครองชาวมุสลิมต่อ จากมุฮัมหมัด คือ อาลี ซึ่งเป็นบุตรเขยของ 53
  • 55. สัญลักษณ์ในศาสนาอิสลาม • ในศาสนาอิสลามเคารพเฉพาะพระอัลเลาะห์ องค์เดียวเท่านั้น ไม่มีการเคารพบูชารูปเคา รพใดๆ • สัญลักษณ์ของศาสนาอิสลามโดยอนุโลม “ได้แก่ รูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวและมีดวงดาว อยู่ข้างบน เป็นเครื่องหมายของอาณาจัก รอ๊อตโตมานเตอร์กในอดีตที่เคยรุ่งเรือง (ศตวรรษที่ ๑๕ ถึง ๒๐) บรรดาประเทศมุสลิม ที่เคยอยู่ในอำานาจของอาณาจักรอ๊อตโตมาน55
  • 56. Halan - เครื่องหมายการค้า ของไทย เพื่อกลุ่มอิสลาม 56
  • 57. Halan - เครื่องหมายการค้า ของไทย เพื่อกลุ่มอิสลาม • เป็นศัพท์นิติศาสตร์อิสลามจากภาษาอาหรับ คือ กฎบัญญัติอนุมัติให้ มุกัลลัฟ (มุสลิมที่อยู่ ในศาสนนิติภาวะ) กระทำาได้ อันได้แก่ การ นึกคิด วาจา และการกระทำาที่ศาสนาได้อนุมัติ ให้ • ***เช่น การรับประทานเนื้อปศุสัตว์ที่ได้รับการ เชือดอย่างถูกต้อง การค้าขายโดยสุจริตวิธี การ สมรสกับสตรีตามกฏเกณฑ์ที่ได้ระบุไว้ เป็นต้น ในเมืองไทย คำาว่า ฮาลาล เป็นที่รู้จักในความ หมาย อาหาร หรือสิ่งเจือปนที่ไม่ขัดกับหลัก 57
  • 58. 58 • ธรรมชาติ คือกฎระเบียบที่อัลลอฮฺได้ ทรงวางไว้ให้แก่ทุกสรรพสิ่งในสากล จักรวาล ตั้งแต่การเคลื่อนไหวของ อะตอมในโมเลกุล การทำางานของ ระบบอวัยวะในร่างกายมนุษย์ไป จนถึงการโคจรของดวงดาวต่าง ๆ ในสากลจักรวาล
  • 59. 59 • กฎระเบียบเหล่านี้เป็น “ ”ซุนนะฮ์ (แบบแผน) ของ อัลลอฮฺ ที่ไม่อาจ เปลี่ยนแปลงได้ และ เป็นสิ่งที่อยู่เบื้องหลังสิ่ง ที่มนุษย์เรียกว่าปรากฎ การทางธรรมชาติ • มนุษย์เป็นเพียงแต่ผู้ที่ ค้นพบกฎเหล่านี้ และ นำามันมาใช้ประโยชน์
  • 61. 61
  • 62. 62 1. เนื้อหมูถูกห้ามในอัล กุรอาน 2. การบริโภคเนื้อหมูเป็น สาเหตุของโรคหลาย ชนิด 3. เนื้อหมูก่อให้เกิดการ สร้างไขมัน เกินความจำาเป็น 4. หมูเป็นสัตว์ที่สกปรก หมู ไม่ อร่อย...?
  • 63. 63 • ฮาลาล หมายถึง สิ่งที่ กฎหมายอิสลาม หรือ บทบัญญัติของอัลลอฮฺ อนุมัติให้ปฏิบัติหรือ บริโภคได้ • อาหารฮาลาล หมายถึง อาหารที่อนุมัติให้มุสลิม บริโภค • ขณะเดียวกัน มุสลิม จะ หลีกเลี่ยงการบริโภค อาหารที่ศาสนาห้าม
  • 64. 64 • หะรอม หมายถึง สิ่งที่กฎหมายอิสลาม หรือ บทบัญญัติของอัลลอฮฺไม่อนุมัติให้กระทำา และถือเป็นที่ต้องห้าม สำาหรับมุสลิม ใครก็ตาม ที่เข้าไปเกี่ยวข้อง จะต้องได้รับ โทษจากอัลลอฮฺ (ซ.บ.) มุสลิม หรือผู้ศรัทธา ต้องดำาเนินชีวิตตาม แนวทางที่ฮาลาล และ หลีกเลี่ยงสิ่งที่หะรอม
  • 65. 65 • นม (จากวัว แกะ และแพะ) • นำ้าผึ้ง • ปลา • พืชที่ไม่มีสารที่เป็นพิษ • ผัก ผลไม้ • พืชตระกูลถั่ว เช่น ถั่วลิสง เม็ดมะม่วงหิมพานต์ ลูก วอลนัท ฯลฯ • เมล็ดข้าว หรือธัญพืช เช่น ข้าวสาลี ข้าวเจ้า ข้าว บาร์เลย์ ข้าวโอ๊ต ฯลฯ • สัตว์จำาพวก วัว แกะ แพะ กวาง ไก่ เป็ด นก ฯลฯ ซึ่งเป็นสัตว์ที่ฮาลาล และจะต้องผ่านกระบวนการ
  • 66. 66 • หมูบ้าน, หมูป่า, สุนัข, ลา, และ สัตว์กินเนื้อเช่น เสือ • สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์นำาโรค เช่น หนอน, หมัด, เห็บ, แมลงวันและแมลงสาบ เป็นต้น • สัตว์ที่ตายเอง ยกเว้นสัตว์นำ้า สัตว์ที่ถูกรัดคอตาย สัตว์ที่ถูกตี, ทุบ หรือขว้างตาย สัตว์ที่ตกจากที่สูงตาย สัตว์ที่ถูกขวิดตาย และ สัตว์ที่ถูกสัตว์อื่นกินจนตาย • สัตว์ที่ถูกเชือดด้วยนามอื่นนอกจากอัลลอฮฺ สัตว์ที่ถูกเชือดเพื่อ บูชาเจว็ด • สัตว์ที่มีเขี้ยวและกรงเล็บ เช่น สิงห์โต, หมี, และสัตว์อื่นที่มี ลักษณะเดียวกัน เช่น ลิง, แมว • สัตว์ครึ่งบกครึ่งนำ้า เช่น กบ, จระเข้, และเต่า • สัตว์ที่อิสลามอนุญาตให้ฆ่าได้ เช่น แมงป่อง, ตะขาบ, หนู และ สัตว์สกปรก มีพิษอื่น ๆ • สัตว์ที่ห้ามฆ่าในอิสลาม เช่น มด, ผึ้ง, นกหัวขวาน • นกที่มีกรงเล็บไว้ล่าเหยื่อ เช่น เค้าแมว, เหยี่ยว, อินทรีย์ และนก ประเภทเดียวกัน
  • 67. 67
  • 68. 68 1. อิสลามยอมรับความต้องการ ทางเพศของ ฝ่ายชาย แต่อิสลามก็ควบคุม ความต้องการนั้นให้อยู่ในทาง ที่ถูกที่ควร 2. อัลลอฮ เป็นผู้สร้างมนุษย์ ทรง รู้ความสามารถของมนุษย์เป็น อย่างดี 3. “ความยุติธรรม” เป็นเงื่อนไข สำาคัญ ขณะเดียวกันก็เพื่อที่จะ ให้มุสลิมได้นำาหลักการอิสลาม ไปใช้ในการแก้ปัญหาสังคม
  • 69. 69
  • 70. 70
  • 72. 72 ฮิญาบ คือ การปกปิดอันถูกต้องสำาหรับสตรีซึ่ง จัดว่าเป็นหนึ่งในปัจจัยที่มีผลมากที่สุดในการ ปกป้อง และดูแลครอบครัว สตรีที่ไม่ปกปิด ศีรษะและเรือนร่างของเธอนั้น เท่ากับเป็นการ จุดไฟแห่งอารมณ์ของบุรุษให้ลุกโชติช่วง เปิด ประกายสายตาของเขาให้เบิกออก และสาด ส่องสายตาไปตามอารมณ์และอำานาจฝ่ายตำ่า โดยไม่อาจควบคุมได้อีก ตั้งมากมายของ อาชญากรรมที่เกิดขึ้น หรือความเสื่อมทราม ทางสังคมทีไม่อาจคำานวณนับได้นั้น ส่วนหนึ่ง มาจากบทบาทของสตรีที่ไม่คลุมผ้าให้มิดชิด ซึ่งชายแปลกหน้าทั้งหลายบนโลกนี้ล้วนตกเป็น
  • 73. 73 ฮิญาบ คือองค์ประกอบสำาคัญที่ช่วยรักษาความ บริสุทธิ์และศักดิ์ศรีของสตรี เป็นเสมือนป้อม ปราการที่คอยปกป้องเธอให้รอดปลอดภัยตลอด เวลา จากการถลำาไปในความชั่วร้ายอนาจาร หรือการกระทำาที่ไม่ดีไม่งามทั้งหลาย นอกจาก นั้นแล้ว ฮิญาบ ยังช่วยเสริมสร้างเกียรติยศและ ทำาให้สตรีคนนั้นได้รับเกียรติ และได้ความ เคารพจากบุคคลอื่น อีกทั้งยังทำาให้เธออกห่าง จากความผิดบาป
  • 74. 74
  • 75. 75
  • 76. 76 1. ปาณาติปาตา เวรมณี (สิกฺขาปทำสมาทิยามิ) เว้น จากการฆ่าสัตว์ตัดชีวิตอิสลามสอนว่า .... • ‫ا‬ْ ‫لاو‬ُ‫او‬‫ت‬ُ‫او‬‫ق‬ْ ‫ت‬َ‫تْق‬‫ال‬َ‫تْق‬ ‫و‬َ‫تْق‬‫س‬َ‫تْق‬ ‫ف‬ْ ‫ن‬َّ‫ال‬‫ت ي‬ِ‫ح ي‬‫ل‬َّ‫ا‬‫م‬َ‫تْق‬‫ر‬َّ ‫ح‬َ‫تْق‬‫لل‬ّ‫ُه‬ ‫ا‬‫ال‬َّ ‫إ‬ِ‫ح ي‬‫ق‬ِّ ‫ح‬َ‫تْق‬ ‫بلال‬ِ‫ح ي‬ • และท่านทั้งหลายจงอย่าฆ่าชีวิตใดที่อัลลอฮฺ ได้ทรงห้ามไว้ นอกจากเพื่อสิทธิอันชอบ ธรรม (17:33)
  • 77. 77 2. อทินฺนาทานา เวรมณี (สิกฺขาปทำสมาทิยามิ) เว้น จากการลักทรัพย์ อิสลามสอนว่า • ‫ق‬ُ‫او‬ ‫ر‬ِ‫ح ي‬ ‫سلا‬َّ ‫وال‬َ‫تْق‬‫ة‬ُ‫او‬ ‫ق‬َ‫تْق‬‫ر‬ِ‫ح ي‬ ‫سلا‬َّ ‫وال‬َ‫تْق‬‫ا‬ْ ‫عاو‬ُ‫او‬ ‫ط‬َ‫تْق‬ ‫ق‬ْ ‫فلا‬َ‫تْق‬‫ملا‬َ‫تْق‬ ‫ه‬ُ‫او‬ ‫ي‬َ‫تْق‬‫د‬ِ‫ح ي‬‫ي‬ْ ‫أ‬َ‫تْق‬‫زاء‬َ‫تْق‬ ‫ج‬َ‫تْق‬‫ملا‬َ‫تْق‬ ‫ب‬ِ‫ح ي‬‫بلا‬َ‫تْق‬‫س‬َ‫تْق‬ ‫ك‬َ‫تْق‬‫ال‬ً ‫م‬ ‫كلا‬َ‫تْق‬ ‫ن‬َ‫تْق‬‫ن‬َ‫تْق‬ ‫م‬ِّ ‫لل‬ِّ ‫ا‬ • ส่วนขโมยผู้ชายและขโมยผู้หญิงนั้น ท่านทั้ง หลายจงตัดมือมันทั้งสองเป็นการตอบแทนสำาหรับ สิ่งที่มันได้กระทำาไว้ เป็นการลงโทษเพื่อเป็นเยี่ยง อย่างจากอัลลอฮฺ (5:38) • ‫ال‬َ‫تْق‬ ‫و‬َ‫تْق‬‫ا‬ْ ‫باو‬ُ‫او‬‫ر‬َ‫تْق‬ ‫ق‬ْ ‫ت‬َ‫تْق‬‫ل‬َ‫تْق‬ ‫ملا‬َ‫تْق‬‫م‬ِ‫ح ي‬‫تمي‬ِ‫ح ي‬‫مي‬َ‫تْق‬‫ل‬ْ ‫ا‬‫ال‬َّ ‫إ‬ِ‫ح ي‬‫ت ي‬ِ‫ح ي‬‫ل‬َّ‫بلا‬ِ‫ح ي‬‫ ي‬َ‫تْق‬ ‫ه‬ِ‫ح ي‬‫ن‬ُ‫او‬ ‫س‬َ‫تْق‬ ‫ح‬ْ  ‫أ‬َ‫تْق‬ • และท่านทั้งหลายจงอย่าเข้าใกล้ทรัพย์ของเด็ก กำาพร้า (ด้วยเจตนาฉ้อฉล) นอกจากเพื่อดำาเนิน
  • 78. 78 3. กาเมสุมิจฺฉาจารา เวรมณี (สิกฺขาปทำสมาทิยามิ) เว้นจากการประพฤติผิดในกามทั้งหลาย อิสลามสอนว่า • ‫ال‬َ‫تْق‬ ‫و‬َ‫تْق‬‫ا‬ْ ‫باو‬ُ‫او‬‫ر‬َ‫تْق‬ ‫ق‬ْ ‫ت‬َ‫تْق‬‫ن ى‬َ‫تْق‬‫ز‬ِّ ‫ال‬‫ه‬ُ‫او‬ ‫ن‬َّ‫إ‬ِ‫ح ي‬‫ن‬َ‫تْق‬ ‫كلا‬َ‫تْق‬‫ة‬ً ‫م‬ ‫ش‬َ‫تْق‬ ‫ح‬ِ‫ح ي‬ ‫فلا‬َ‫تْق‬‫سلاء‬َ‫تْق‬ ‫و‬َ‫تْق‬‫ال‬ً ‫م‬ ‫بمي‬ِ‫ح ي‬‫س‬َ‫تْق‬ • และท่านทั้งหลายจงอย่าเข้าใกล้การละเมิด ประเวณี แท้จริงมันเป็นการลามกและเป็นหนทาง อันชั่วช้ายิ่ง (17:32)
  • 79. 79 4. มุสาวาทา เวรมณี (สิกฺขาปทำสมาทิยามิ) เว้นจาก การพูดเท็จ คำาหยาบ หรือพูดส่อเสียด อิสลามสอนว่า 4. ‫باوا‬ُ‫او‬‫ن‬ِ‫ح ي‬‫ت‬َ‫تْق‬‫ج‬ْ  ‫وا‬َ‫تْق‬‫ل‬َ‫تْق‬ ‫او‬ْ  ‫ق‬َ‫تْق‬‫ر‬ِ‫ح ي‬ ‫زو‬ّ‫ُه‬ ‫ال‬ 5. และท่านทั้งหลายจงห่างไกลจากการกล่าว เท็จ (22:30)
  • 80. 80 5. สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี (สิกฺขาปทำสมา ทิยามิ) เว้นจากการดื่มนำ้าเมา อันเป็นที่ตั้งแห่ง ความประมาท อิสลามสอนว่า • ‫يلا‬َ‫تْق‬‫هلا‬َ‫تْق‬ ‫ي‬ّ‫ُه‬‫أ‬َ‫تْق‬‫ن‬َ‫تْق‬ ‫ذي‬ِ‫ح ي‬‫ل‬َّ‫ا‬‫ا‬ْ ‫ناو‬ُ‫او‬‫م‬َ‫تْق‬ ‫آ‬‫ملا‬َ‫تْق‬ ‫ن‬َّ‫إ‬ِ‫ح ي‬‫ر‬ُ‫او‬ ‫م‬ْ  ‫خ‬َ‫تْق‬ ‫ل‬ْ ‫ا‬‫ر‬ُ‫او‬ ‫س‬ِ‫ح ي‬ ‫مي‬ْ ‫م‬َ‫تْق‬ ‫ل‬ْ ‫وا‬َ‫تْق‬‫ب‬ُ‫او‬ ‫صلا‬َ‫تْق‬ ‫ألن‬َ‫تْق‬ ‫وا‬َ‫تْق‬‫م‬ُ‫او‬‫ال‬َ‫تْق‬ ‫ز‬ْ  ‫أل‬َ‫تْق‬ ‫وا‬َ‫تْق‬‫ج‬ْ  ‫ر‬ِ‫ح ي‬ ‫س‬ٌ‫ن‬ْ  ‫م‬ِّ ‫ل‬ِ‫ح ي‬ ‫م‬َ‫تْق‬ ‫ع‬َ‫تْق‬‫ن‬ِ‫ح ي‬ ‫طلا‬َ‫تْق‬ ‫مي‬ْ ‫ش‬َّ ‫ال‬‫ه‬ُ‫او‬‫باو‬ُ‫او‬‫ن‬ِ‫ح ي‬‫ت‬َ‫تْق‬‫ج‬ْ  ‫فلا‬َ‫تْق‬‫م‬ْ  ‫ك‬ُ‫او‬ ‫ل‬َّ‫ع‬َ‫تْق‬ ‫ل‬َ‫تْق‬‫ن‬َ‫تْق‬ ‫حاو‬ُ‫او‬ ‫ل‬ِ‫ح ي‬‫ف‬ْ ‫ت‬ُ‫او‬ • โอ้บรรดาผู้ศรัทธาทั้งหลายเอ๋ย แท้จริงสุรา, การ พนัน, การเซ่นสรวงบูชา และการเสี่ยงทายนั้นเป็น ความโสมมจากการกระทำาของชัยฏอน (มารร้าย) ดังนั้นท่านทั้งหลายจงห่างไกลจากมันเถิด เพื่อว่า พวกท่านจักได้ชัยชนะ (5:90)
  • 81. 81
  • 82. 82
  • 83. 83 • “ญิฮาด” มาจากคำาว่า “ ”ญะฮาดา หมาย “ ”ถึง ความพยายาม • “ ”ญิฮาด หมายถึง การพยายาม การ ดิ้นรนต่อสู้ หรือการใช้พลังอำานาจของ ตนเองไปในแนวทางของอัลลอฮฺ เพื่อที่ จะเพิ่มพูนความศรัทธาในพระเจ้า ซึ่งจะ บรรลุได้ด้วยความมีศรัทธามั่น การกระ ทำาความดี หลีกเลี่ยงความชั่ว การทำาตามคำาสั่งของพระผู้เป็นเจ้า การ เผยแพร่ศาสนาอิสลาม และเทอดทูน ปกป้องอิสลาม
  • 84. 84
  • 86. 86
  • 87. 87
  • 88. 88  ท่านนบีมุฮัมมัด (ศ็อลฯ) กล่าวไว้ว่า “ไม่ใช่ เป็นส่วนหนึ่งของประชาชาติของฉันสำาหรับผู้ ที่เรียกร้องบนฐานแนวคิดของการคลั่งไคล้ ในชาติพันธุ์ ไม่ใช่เป็นส่วนหนึ่งของ ประชาชาติของฉันสำาหรับผู้ที่ทำาสงครามบน ฐานแนวคิดของการคลั่งไคล้ในชาติพันธุ์และ ไม่ใช่เป็นส่วนหนึ่งของประชาชาติของฉัน สำาหรับผู้ที่เสียชีวิตเนื่องจากการต่อสู้ในการ ปกป้องและพิทักษ์รักษาแนวคิดของการคลั่ง ไคล้ในชาติพันธุ์”
  • 89. 89 ““ด้วยหลักฐานทั้งหลายที่ชัดแจ้ง และด้วยหลักฐานทั้งหลายที่ชัดแจ้ง และ คัมภีร์ต่าง ๆ ที่ศักดิ์สิทธิ์คัมภีร์ต่าง ๆ ที่ศักดิ์สิทธิ์ และเราได้ให้อัลกุรอานแก่เจ้า เพื่อเจ้าและเราได้ให้อัลกุรอานแก่เจ้า เพื่อเจ้า จะได้ชี้แจงจะได้ชี้แจง ((ให้กระจ่างให้กระจ่าง)) แก่มนุษย์ ซึ่งสิ่งที่ได้ถูกประทานมาแก่แก่มนุษย์ ซึ่งสิ่งที่ได้ถูกประทานมาแก่ พวกเขาพวกเขา ”และเพื่อพวกเขาจะได้ไตร่ตรอง”และเพื่อพวกเขาจะได้ไตร่ตรอง อัลกุรอานอัลกุรอาน 16:4416:44
  • 90. 90
  • 91. 91
  • 92. 92