SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
แบบจำลองอะตอม
จอห์น ดอลตัน  ( John Dalton )            จากแนวคิดเรื่องอะตอมในสมัยกรีก ซึ่งกล่าวว่า  " สสารประกอบด้วยอะตอม ซึ่งเป็นอนุภาคที่ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก "  จอห์น ดอลตัน จึงได้เสนอความคิดเกี่ยวกับอะตอมมีใจความว่า                 1 .  สารต่างๆ ประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็ก เรียกว่า อะตอม ซึ่งแบ่งแยกอีกไม่ได้ และสร้างขึ้นหรือทำให้สูญหายไปไม่ได้                 2 .  อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน จะมีมวลเท่ากัน มีสมบัติเหมือนกัน แต่จะแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น ๆ                 3 .  สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปและมีอัตราส่วนการรวมตัวเป็นตัวเลขอย่างง่าย เช่น  CO 2        แบบจำลองอะตอมของดอลตัน   อะตอมมีรูปร่างเป็นทรงกลม มีขนาดเล็ก ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เขาทำการทดลองต่อไป เพื่อทดสอบสมบัติของรังสีนี้ โดยเพิ่มขั้วไฟฟ้า  2   ขั้วเพื่อทำให้เกิดสนามไฟฟ้า พบว่ารังสีเบี่ยงเบนเข้าหาขั้วบวก เขาจึงสรุปว่ารังสีแคโทดประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุลบ            นอกจากนี้ เขาได้ทดลองให้รังสีแคโทดอยู่ในสนามแม่เหล็ก ปรากฎว่ารังสีเบนไปอีกทิศทางหนึ่งซึ่งตรงกันข้ามกับรังสีแคโทดที่อยู่ในสนามไฟฟ้า            จะได้ว่า เมื่อรังสีแคโทดอยู่ในสนามไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็ก รังสีจะเบนไปจากแนวเดิม โดยรังสีจะวิ่งไปหาขั้วบวกของสนามไฟฟ้า ส่วนสนามแม่เหล็กนั้นรังสีวิ่งไปหาขั้วใต้ ดังนั้นเขาจึงผ่านสนามไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็กไปยังรังสีแคโทด แล้วใช้อีกสนามหนึ่งมาทำให้รังสีเบนกลับเป็นเส้นตรงเหมือนเดิม แรงผลักของไฟฟ้าจะบอกว่ามีกี่ประจุ ส่วนแรงผลักจากสนามแม่เหล็กนั้นจะบอกว่าอนุภาคมีน้ำหนักเท่าใด เขาจึงหาอัตราส่วนประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนได้     
สรุปผลการทดลอง ,[object Object],[object Object],[object Object]
ความรู้เกี่ยวกับสมบัติทางไฟฟ้าในสมัยโบราณเริ่มขึ้นเมื่อมนุษย์รู้จักนำแท่งอำพันมาถูกับผ้าขนสัตว์แล้วพบว่าแท่งนั้นสามารถดูดของเบาๆได้ นักปราชญ์ในสมัยคริสตศตวรรษที่สิบแปดอธิบายว่า สารทั้งปวงประกอบด้วยของไหลสองอย่าง คือ ไฟฟ้าลบและไฟฟ้าบวก หากเกิดการเสียดสีหรือถู สมบัติทางไฟฟ้าของสารจะปรากฏขึ้น เนื่องจากของไหลทั้งสองมีไม่เท่ากัน วิลเลียมครูกส์ ( WilliamCrookes ) ได้สร้างหลอดรังสีแคโทดขึ้นมาเพื่อทดลองการนำไฟฟ้าของก๊าซซึ่งเขาสรุปผลการทดลองได้ว่า  “ ก๊าซจะนำไฟฟ้าได้ดี เมื่อก๊าซนั้นมีความกดดันต่ำๆ และแรงเคลื่อนไฟฟ้ามีค่าสูงๆ ”                                                                                                การทดลองของ ครูกส์ กับหลอดรังสีแคโทด
การทดลองของทอมสัน  เซอร์โจเซฟ จอห์น ทอมสัน ได้ทดลองเพิ่มเติม โดยดัดแปลงหลอดรังสีแคโทดใหม่  ( ดังรูป ) ผลการทดลอง       พบว่ามีจุดเรืองแสงหรือมีจุดสว่างบนฉากเรืองแสง จากผลการทดลองทอมสันได้ตั้งสมมติฐานว่า   จะต้องมีรังสีชนิดหนึ่งซึ่งมีประจุไฟฟ้าพุ่งเป็นเส้นตรงมาจากขั้วแคโทด มายังฉาก ซึ่งรังสีนี้อาจจะเกิดจากก๊าซที่บรรจุในหลอดแก้ว หรืออาจจะเกิดจากโลหะที่ทำเป็นขั้วแคโทด       เพื่อทดสอบสมมติฐานที่ว่าอะตอมประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุและต้องการจะทราบว่าเป็นประจุไฟฟ้าบวกหรือลบทอมสันจึงได้ทดลองต่อไปโดยใช้สนามไฟฟ้าเข้าช่วย โดยยึดหลักที่ว่า     อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าจะต้องเบี่ยงเบนในสนามไฟฟ้า   “ ถ้าอนุภาคนั้นมีประจุไฟฟ้าบวกจะเบนเข้าหาขั้วลบของสนามไฟฟ้า  และถ้ามีประจุลบจะเบนเข้าหาขั้วบวก ”
ผลการทดลองของทอมสัน  จ ากการทดลองพบว่า จุดสว่างบนฉากเรืองแสง เบนไปจากตำแหน่งเดิมโดยเบนเข้าหาขั้วบวกของสนามไฟฟ้า ทอมสันสรุปว่า   รังสีนั้นมีประจุไฟฟ้าและมีประจุไฟฟ้าเป็นลบเนื่องจากรังสีนี้เคลื่อนที่ออกจากขั้วแคโทดซึ่งเป็นขั้วลบ จึงเรียกรังสีชนิดนี้ว่า  รังสีแคโทด  และเรียกหลอดแก้วที่ใช้ทดลองว่า  หลอดรังสีแคโทด ทอมสัน ยังมีความสงสัยต่อไปว่า เกิดจากอะไร
[object Object]
 
 
 
 
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด ,[object Object]
ในค . ศ . 1909   เออาร์ มิลลิแกนสามารถหาค่าประจุของอิเล็กตรอนได้โดยการทำการทดลองหยดน้ำมันซึ่งมีประจุภายใต้ความโน้มถ่วงของโลก
แบบจำลองอะตอมของ บอห์ร สรุปแบบจำลองอะตอมของ นิลส์ บอห์ร  อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียส และมีอิเล็กตรอนในอะตอมวิ่งอยู่รอบๆนิวเคลียสเป็นชั้นๆ ตามระดับพลังงาน อิเล็กตรอนที่วิ่งอยู่รอบๆนิวเคลียส อยู่เป็นชั้นๆ ตามระดับพลังงาน ได้แก่ชั้น  K,L,M,N,O,P  และ  Q  โดยอิเล็กตรอนที่อยู่ในชั้นที่ใกล้นิวเคลียสที่สุด ( K )  จะมีพลังงานต่ำที่สุด ในปัจจุบันเรียกระดับพลังงานที่อยู่ใกล้นิวเคลียสที่สุด ว่าระดับพลังงาน  n = 1   และระดับพลังงานชั้นถัดไปเป็น  n = 2,n = 3,n = 4…… ตามลำดับ
[object Object]

More Related Content

What's hot

โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอมbigger10
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุchemnpk
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมTutor Ferry
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม AtomsBELL N JOYE
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมApinya Phuadsing
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีoraneehussem
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนDr.Woravith Chansuvarn
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมChakkrawut Mueangkhon
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistrykruannchem
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6oraneehussem
 

What's hot (20)

โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
atom 2
atom 2atom 2
atom 2
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atoms
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
ธาตุ
ธาตุธาตุ
ธาตุ
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistry
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
 

Similar to แบบจำลองอะตอม

Atom-model[1]
 Atom-model[1] Atom-model[1]
Atom-model[1]Nank Vang
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนkrupatcharee
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมคุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมWuttipong Tubkrathok
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอwantnan
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123wantnan
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123wantnan
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอwantnan
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123wantnan
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123Chanukid Chaisri
 
ดงมะไฟพิทยาคม การค้นพบอิเล็กตรอน
ดงมะไฟพิทยาคม การค้นพบอิเล็กตรอนดงมะไฟพิทยาคม การค้นพบอิเล็กตรอน
ดงมะไฟพิทยาคม การค้นพบอิเล็กตรอนNang Ka Nangnarak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันKatewaree Yosyingyong
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนkrupatcharee
 

Similar to แบบจำลองอะตอม (17)

Atom-model[1]
 Atom-model[1] Atom-model[1]
Atom-model[1]
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอน
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
Atomic structures m4
Atomic structures m4Atomic structures m4
Atomic structures m4
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
 
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมคุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123
 
ดงมะไฟพิทยาคม การค้นพบอิเล็กตรอน
ดงมะไฟพิทยาคม การค้นพบอิเล็กตรอนดงมะไฟพิทยาคม การค้นพบอิเล็กตรอน
ดงมะไฟพิทยาคม การค้นพบอิเล็กตรอน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอน
 

แบบจำลองอะตอม

  • 2. จอห์น ดอลตัน ( John Dalton )           จากแนวคิดเรื่องอะตอมในสมัยกรีก ซึ่งกล่าวว่า " สสารประกอบด้วยอะตอม ซึ่งเป็นอนุภาคที่ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก " จอห์น ดอลตัน จึงได้เสนอความคิดเกี่ยวกับอะตอมมีใจความว่า                1 . สารต่างๆ ประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็ก เรียกว่า อะตอม ซึ่งแบ่งแยกอีกไม่ได้ และสร้างขึ้นหรือทำให้สูญหายไปไม่ได้                2 . อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน จะมีมวลเท่ากัน มีสมบัติเหมือนกัน แต่จะแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น ๆ                3 . สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปและมีอัตราส่วนการรวมตัวเป็นตัวเลขอย่างง่าย เช่น CO 2      แบบจำลองอะตอมของดอลตัน   อะตอมมีรูปร่างเป็นทรงกลม มีขนาดเล็ก ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก
  • 3.
  • 4. เขาทำการทดลองต่อไป เพื่อทดสอบสมบัติของรังสีนี้ โดยเพิ่มขั้วไฟฟ้า 2 ขั้วเพื่อทำให้เกิดสนามไฟฟ้า พบว่ารังสีเบี่ยงเบนเข้าหาขั้วบวก เขาจึงสรุปว่ารังสีแคโทดประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุลบ           นอกจากนี้ เขาได้ทดลองให้รังสีแคโทดอยู่ในสนามแม่เหล็ก ปรากฎว่ารังสีเบนไปอีกทิศทางหนึ่งซึ่งตรงกันข้ามกับรังสีแคโทดที่อยู่ในสนามไฟฟ้า           จะได้ว่า เมื่อรังสีแคโทดอยู่ในสนามไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็ก รังสีจะเบนไปจากแนวเดิม โดยรังสีจะวิ่งไปหาขั้วบวกของสนามไฟฟ้า ส่วนสนามแม่เหล็กนั้นรังสีวิ่งไปหาขั้วใต้ ดังนั้นเขาจึงผ่านสนามไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็กไปยังรังสีแคโทด แล้วใช้อีกสนามหนึ่งมาทำให้รังสีเบนกลับเป็นเส้นตรงเหมือนเดิม แรงผลักของไฟฟ้าจะบอกว่ามีกี่ประจุ ส่วนแรงผลักจากสนามแม่เหล็กนั้นจะบอกว่าอนุภาคมีน้ำหนักเท่าใด เขาจึงหาอัตราส่วนประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนได้     
  • 5.
  • 6. ความรู้เกี่ยวกับสมบัติทางไฟฟ้าในสมัยโบราณเริ่มขึ้นเมื่อมนุษย์รู้จักนำแท่งอำพันมาถูกับผ้าขนสัตว์แล้วพบว่าแท่งนั้นสามารถดูดของเบาๆได้ นักปราชญ์ในสมัยคริสตศตวรรษที่สิบแปดอธิบายว่า สารทั้งปวงประกอบด้วยของไหลสองอย่าง คือ ไฟฟ้าลบและไฟฟ้าบวก หากเกิดการเสียดสีหรือถู สมบัติทางไฟฟ้าของสารจะปรากฏขึ้น เนื่องจากของไหลทั้งสองมีไม่เท่ากัน วิลเลียมครูกส์ ( WilliamCrookes ) ได้สร้างหลอดรังสีแคโทดขึ้นมาเพื่อทดลองการนำไฟฟ้าของก๊าซซึ่งเขาสรุปผลการทดลองได้ว่า “ ก๊าซจะนำไฟฟ้าได้ดี เมื่อก๊าซนั้นมีความกดดันต่ำๆ และแรงเคลื่อนไฟฟ้ามีค่าสูงๆ ”                                                                                               การทดลองของ ครูกส์ กับหลอดรังสีแคโทด
  • 7. การทดลองของทอมสัน เซอร์โจเซฟ จอห์น ทอมสัน ได้ทดลองเพิ่มเติม โดยดัดแปลงหลอดรังสีแคโทดใหม่ ( ดังรูป ) ผลการทดลอง       พบว่ามีจุดเรืองแสงหรือมีจุดสว่างบนฉากเรืองแสง จากผลการทดลองทอมสันได้ตั้งสมมติฐานว่า   จะต้องมีรังสีชนิดหนึ่งซึ่งมีประจุไฟฟ้าพุ่งเป็นเส้นตรงมาจากขั้วแคโทด มายังฉาก ซึ่งรังสีนี้อาจจะเกิดจากก๊าซที่บรรจุในหลอดแก้ว หรืออาจจะเกิดจากโลหะที่ทำเป็นขั้วแคโทด       เพื่อทดสอบสมมติฐานที่ว่าอะตอมประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุและต้องการจะทราบว่าเป็นประจุไฟฟ้าบวกหรือลบทอมสันจึงได้ทดลองต่อไปโดยใช้สนามไฟฟ้าเข้าช่วย โดยยึดหลักที่ว่า     อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าจะต้องเบี่ยงเบนในสนามไฟฟ้า   “ ถ้าอนุภาคนั้นมีประจุไฟฟ้าบวกจะเบนเข้าหาขั้วลบของสนามไฟฟ้า  และถ้ามีประจุลบจะเบนเข้าหาขั้วบวก ”
  • 8. ผลการทดลองของทอมสัน จ ากการทดลองพบว่า จุดสว่างบนฉากเรืองแสง เบนไปจากตำแหน่งเดิมโดยเบนเข้าหาขั้วบวกของสนามไฟฟ้า ทอมสันสรุปว่า   รังสีนั้นมีประจุไฟฟ้าและมีประจุไฟฟ้าเป็นลบเนื่องจากรังสีนี้เคลื่อนที่ออกจากขั้วแคโทดซึ่งเป็นขั้วลบ จึงเรียกรังสีชนิดนี้ว่า รังสีแคโทด และเรียกหลอดแก้วที่ใช้ทดลองว่า หลอดรังสีแคโทด ทอมสัน ยังมีความสงสัยต่อไปว่า เกิดจากอะไร
  • 9.
  • 10.  
  • 11.  
  • 12.  
  • 13.  
  • 14.
  • 15. ในค . ศ . 1909 เออาร์ มิลลิแกนสามารถหาค่าประจุของอิเล็กตรอนได้โดยการทำการทดลองหยดน้ำมันซึ่งมีประจุภายใต้ความโน้มถ่วงของโลก
  • 16. แบบจำลองอะตอมของ บอห์ร สรุปแบบจำลองอะตอมของ นิลส์ บอห์ร อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียส และมีอิเล็กตรอนในอะตอมวิ่งอยู่รอบๆนิวเคลียสเป็นชั้นๆ ตามระดับพลังงาน อิเล็กตรอนที่วิ่งอยู่รอบๆนิวเคลียส อยู่เป็นชั้นๆ ตามระดับพลังงาน ได้แก่ชั้น K,L,M,N,O,P และ Q โดยอิเล็กตรอนที่อยู่ในชั้นที่ใกล้นิวเคลียสที่สุด ( K ) จะมีพลังงานต่ำที่สุด ในปัจจุบันเรียกระดับพลังงานที่อยู่ใกล้นิวเคลียสที่สุด ว่าระดับพลังงาน n = 1 และระดับพลังงานชั้นถัดไปเป็น n = 2,n = 3,n = 4…… ตามลำดับ
  • 17.