SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
PHP กับการจัดการข้ อมูลใน Mysql
                                       การเพิมข้ อมูล
                                             ่
ขั้นที่ 1 ขั้นตอนการสร้ างฐานข้ อมูลและตารางเก็บข้ อมูลกาหนด ฐานข้อมูล ชื่อ project ตารางชื่อ member
   1. เปิ ดโปรแกรม phpmyadmin เพื่อสร้างฐานข้อมูล โดยเปิ ด Internet Explorer แล้ วพิมพ์คาว่ า localhost
                                                    1.1 เลือกที่ phpMyadmin Database Manager Version 2.10.3
                                                    1.2 ใส่ username เป็ น root และ password เป็ น 1234
                                                    1.3 สร้างฐานข้อมูลใหม่ ชื่อ project แล้วกดสร้าง




   2. สร้างตารางเก็บข้อมูลสมาชิกชื่อตาราง member จานวน 3 ฟิ ลด์

                                                                       o กาหนด mem_id ให้เป็ น auto_increment
                                                                       และเป็ นคียหลัก
                                                                                  ์
                                                                       o เสร็ จแล้วกดปุ่ ม บันทึก
รายละเอียดของตาราง member
                                                                       o กด แทรก เพื่อเพิ่มข้อมูล




   3. ทาการเพิมข้อมูลให้ตาราง member ดังตัวอย่าง
              ่
o ช่องแรกเป็ นค่าของ
                                                                                       mem_id ไม่ตองกรอก
                                                                                                      ้
                                                                                       เพราะกาหนดเป็ น
                                                                                       auto_increment โปรแกรม
                                                                                       ฐานข้อมูลจะทาการเพิ่มให้
                                                                                       เอง โดยเรี ยงลาดับจาก 1 2
                                                                                       3 ต่อไปเรื่ อย ๆ
                                                                                     o เมื่อเพิ่มแล้วกด ลงมือ


ขั้นที่ 2 สร้ างเว็บเพ็จ ชื่อ register.php เพือรับข้ อมูลสมาชิก
                                              ่
    1. เปิ ดโปรแกรม Dreamweaver
    2. กาหนดค่าพื้นฐานของหน้าเว็บเพจโดยกาหนดให้สามารถอ่านภาษาไทยได้ที่เมนู Modify เลือก Page Properties




คลิกที่ Title/Encoding แล้วเลือก
Encoding เป็ น Unicode(UTF-8)




    3. ใส่ฟอร์มรับค่า โดยคลิกที่ Form และเลือกเครื่ องมือ Form ดังภาพ


    4. กาหนด action ของฟอร์มเพื่อส่งค่าข้อมูลสมาชิกที่รับมาไปประมวลที่ไฟล์ save_member.php ดังภาพ




    5. กลับไปที่มุมมอง Design แล้วคลิกในบริ เวณกรอบเส้นประสีแดง ๆ ของฟอร์มแล้วนาตารางเข้ามาในฟอร์ม 4 แถว 2
       คอมลัมน์ดงภาพ
                  ั
o กล่องรับข้ อความ username กาหนดชื่อเป็ น mem_user
                                                   o กล่องรับข้ อความ password กาหนดชื่อเป็ น mem_pass กล่องนี ้ต้ องเซตให้
                                                     input type เป็ น password ดังภาพ




                                         ขั้นที่ 3 สร้ างเว็บเพ็จ ชื่อ save_member.php
เพื่อนาข้อมูลที่รับจากไฟล์ register.php บันทึกลงตาราง member ในฐานข้อมูล mysql
ขั้นตอนการทางานของไฟล์ save_member.php
                                                            <?
                                                            //กาหนดตัวแปรเก็บข้อมูลเพื่อการเชื่อมต่อเครื่ อง Database Server
                                                                $host ="localhost"; $user = "root"; $pass = "1234"; $db = "project";

                                                                /*เชื่ อมต่ อกับเครื่ อง Database Server ด้ วยฟั งก์ ชัน mysql_connect(ชื่ อServer,ชื่ อ
                                                                ผู้ใช้ ,รหัสผ่ าน)*/
                                                                mysql_connect($host,$user,$pass) or die ("ติดต่ อ Server ไม่ สาเร็จ");

                                                                /* เลือกฐานข้ อมูล ด้ วยฟั งก์ ชัน mysql_select_db(ชื่ อฐานข้ อมูล)*/
                                                                mysql_select_db($db) or die ("ติดต่ อฐานข้ อมูลไม่ สาเร็จ");

                                                                // กาหนดให้ การเพิ่ มข้ อมูลลงฐานข้ อมูลรั บภาษาไทย
                                                                mysql_query("SET NAMES utf8");

                                                                /* เขียนคาสั่ งภาษา SQL เพิ่ มข้ อมูลลงตาราง member โดยใช้ คาสั่ ง
1. เปิ ดโปรแกรม Dreamweaver สร้างไฟล์ใหม่ ตั้งชื่อเป็ น         INSERT INTO ชื่ อตาราง VALUES (ค่ าต้ องต้ องการเพิ่ มละฟิ วด์ )*/
save_member.php เก็บไว้ที่โฟลเดอร์ member (สร้าง                $sql = " insert into member values (NULL,'$mem_user','$mem_pass') ";
โฟลเดอร์ member ไว้ในโฟลเดอร์ www)
                                                                /* ประมวลผลคาสั่ ง sql โดยใช้ คาสั่ ง mysql_query(คาสั่ งภาษา SQL)*/
2. ลงเมื่อเขียนโปรแกรมโดยต้องเขียนทั้งหมดอยูในแท็ก php
                                            ่                   $sql_query=mysql_query($sql);
<?
                                                                /*ใช้ คาสั่ ง if เพื่ อตรวจสอบการเพิ่ มข้ อมูล ถ้ าสาเร็ จ ตัวแปร $sql_query จะมีค่า
…ขั้นตอนการเขียนตามที่อธิบาย =================
                                                                เป็ นจริ ง*/
?>
                                                                if ($sql_query) {echo "เพิ่มข้ อมูลสำเร็จ";}
                                                                  else {echo " เพิ่มข้ อมูลไม่ สำเร็จ";}

                                                                /*ปิ ดการเชื่ อมต่ อกับฐานข้ อมูล */
                                                                 mysql_close();
                                                                ?>
การดูผลงาน :
1. เปิ ดโปรแกรม Internet Explorer แล้วพิมพ์คาว่า localhost/member/register.php
2. กรอกข้อมูลแล้วกดปุ่ มตกลง ถ้าเพิ่มข้อมูลสาเร็ จ โปรแกรมจะบอกว่า เพิ่มข้อมูลสาเร็ จ ถ้า เพิ่มไม่สาเร็ จ จะบอกว่า เพิ่มข้อมูล
ไม่สาเร็ จ
3. กรณี ที่เจอความผิดพลาด ให้อ่านตามที่บอกไว้ว่าที่ไฟล์อะไร บรรทัดที่เท่าไหร่ แล้วเข้าไปแก้ตามนั้น ส่วนมากที่ผดจะลืมใส่
                                                                                                                  ิ
เครื่ องหมายจบประโยคคาสัง (;) หรื อพิมพ์คาสังผิด
                          ่                 ่


                หลักการเขียนคาสั่ งภาษา SQL เพือสั่ งให้ เพิมข้ อมูลลงตาราง member
                                               ่            ่




หมายเหตุ ค่าแรกใส่เป็ น NULL เนื่องจาก เรากาหนดฟิ วด์ mem_id ในฐานข้ อมูลให้ เป็ น auto_increment ซึ่งในฐานข้ อมูลจะ
เพิ่มค่าให้ เองอัตโนมัติเริ่มจาก 1 2 3 ….. เราจึงไม่ใส่ข้อมูลอะไรลงไปซึ่งก็คือ NULL
การดึงข้ อมูลจากตาราง member ออกมาแสดงที่หน้ าเว็บเพ็จ
  วิธีที่1 ไม่ ใช้ ฟอร์ ม กาหนดชื่ อไฟล์ show_member.php
                                                          <?
                                                          //กาหนดตัวแปรเก็บข้อมูลเพื่อการเชื่อมต่อเครื่ อง Database Server
                                                          $host ="localhost"; $user = "root"; $pass = "1234"; $db = "project";
                                                          /*เชื่ อมต่ อกับเครื่ องด้ วยฟั งก์ ชัน mysql_connect(ชื่ อServer,ชื่ อผู้ใช้ ,รหัสผ่ าน)*/
                                                          mysql_connect($host,$user,$pass) or die ("ติดต่ อ Server ไม่ สาเร็จ");
                                                          /* เลือกฐานข้ อมูล ด้ วยฟั งก์ ชัน mysql_select_db(ชื่ อฐานข้ อมูล)*/
                                                          mysql_select_db($db) or die ("ติดต่ อฐานข้ อมูลไม่ สาเร็จ");
                                                          /* กาหนดให้ การเพิ่ มข้ อมูลลงฐานข้ อมูลรั บภาษาไทย */
                                                          mysql_query("SET NAMES utf8");
                                                          /* เขียนคาสั่ งภาษา SQL เพื่ อดึงข้ อมูลออกมาแสดง*/
                                                          $sql = "SELECT * FROM member";
                                                          /* ประมวลผลคาสั่ ง sql โดยใช้ คาสั่ ง mysql_query(คาสั่ งภาษา SQL)*/
                                                          $sql_query=mysql_query($sql);
1. เปิ ดโปรแกรม Dreamweaver สร้างไฟล์ใหม่ ตั้งชื่อเป็ น   ?>
show_member.php เก็บไว้ที่โฟลเดอร์ member (สร้าง          /* เขียน html สร้ างหัวตาราง*/
โฟลเดอร์ member ไว้ในโฟลเดอร์ www)                        <table border=1 width=50%>
2. ลงเมื่อเขียนโปรแกรมโดยต้องเขียนทั้งหมดอยูในแท็ก php
                                            ่             <tr align="center" >
                                                          <td>ลาดับ</td><td>Username</td><td>Password</td>
<?                                                        </tr>
…ขั้นตอนการเขียนตามที่อธิบาย =================           /*ใช้ภาษา php ในการดึงข้อมูลออกมาที ละแถวโดยใช้ คาสัง While เพือวนรอบ ่             ่
?>                                                        และใช้คาสัง mysql_fetch_array() ดึงข้อมูลจากการค้นหามาเก็บในตัวแปร
                                                                        ่
ภาพผลลัพธ์                                                ประเภทอาเรย์ในทีนีตงชือตัวแปรเป็ น $array */
                                                                                 ่ ้ ั้ ่
                                                          <?
                                                          while($array =mysql_fetch_array($sql_query))
                                                          {
                                                          echo "<tr>";
                                                          echo "<td>$array[mem_id]</td>";
                                                          echo "<td>$array[mem_user]</td>";
                                                          echo "<td>$array[mem_pass]</td>";
                                                          echo "</tr>";
                                                          }
                                                            mysql_close();
                                                          ?>
                                                          </table>
วิธีที่2 ใช้ ฟอร์ ม กาหนดชื่อไฟล์ show_frm.php
                                                          <?
                                                          //กาหนดตัวแปรเก็บข้อมูลเพื่อการเชื่อมต่อเครื่ อง Database Server
                                                          $host ="localhost"; $user = "root"; $pass = "1234"; $db = "project";
                                                          /*เชื่ อมต่ อกับเครื่ องด้ วยฟั งก์ ชัน mysql_connect(ชื่ อServer,ชื่ อผู้ใช้ ,รหัสผ่ าน)*/
                                                          mysql_connect($host,$user,$pass) or die ("ติดต่ อ Server ไม่ สาเร็จ");
                                                          /* เลือกฐานข้ อมูล ด้ วยฟั งก์ ชัน mysql_select_db(ชื่ อฐานข้ อมูล)*/
                                                          mysql_select_db($db) or die ("ติดต่ อฐานข้ อมูลไม่ สาเร็จ");
                                                          /* กาหนดให้ การเพิ่ มข้ อมูลลงฐานข้ อมูลรั บภาษาไทย */
                                                          mysql_query("SET NAMES utf8");
                                                          /* เขียนคาสั่ งภาษา SQL เพื่ อดึงข้ อมูลออกมาแสดง*/
                                                          $sql = "SELECT * FROM member";
                                                          /* ประมวลผลคาสั่ ง sql โดยใช้ คาสั่ ง mysql_query(คาสั่ งภาษา SQL)*/
                                                          $sql_query=mysql_query($sql);
1. เปิ ดโปรแกรม Dreamweaver สร้างไฟล์ใหม่ ตั้งชื่อเป็ น   ?>
show_member.php เก็บไว้ที่โฟลเดอร์ member (สร้าง          /* สร้ างฟอร์ มเพื่ อแสดงข้ อมูล ภายในฟอร์ มจะมีตาราง*/
โฟลเดอร์ member ไว้ในโฟลเดอร์ www)                        <form>
2. ลงเมื่อเขียนโปรแกรมโดยต้องเขียนทั้งหมดอยูในแท็ก
                                            ่             <table border=1 width=50%>
php                                                       <tr align="center" >
                                                          <td width="5%">ลำดับที่</td><td>Username</td><td>Password</td>
<?
                                                          </tr>
…ขั้นตอนการเขียนตามที่อธิบาย
                                                          <?
=================                                        while($array =mysql_fetch_array($sql_query))
?>                                                        {
ภาพผลลัพธ์                                                echo "<td> <input type =text name=mem_id value=$array[mem_id]> </td>";
                                                          echo "<td> <input type =text name=mem_user value=$array[mem_user]> </td>";
                                                          echo "<td> <input type =text name=mem_pass value=$array[mem_pass]> </td>";
                                                          echo "</tr>";
                                                          }
                                                            mysql_close();
                                                          ?>
                                                          </table>
                                                          </form>
                                                          </body>
                                                          </html>
อธิบายเพิมเติม
         ่
ฟังก์ชัน mysql_fetch_array() :
ดึงค่าผลลัพธ์ที่ได้จากคาสัง mysql_query( ) เก็บลงอาร์เรย์เพื่อนาไปใช้งานต่อไป
                          ่
คาอธิบายคาสั่ง
$sql = “SELECT * FROM member”;
$sql_query = mysql_query($sql)
$array =mysql_fetch_array($sql_query)

$array[mem_id] : เก็บข้อมูลของคอลัมน์ mem_id
$array[mem_user] : เก็บข้อมูลของคอลัมน์ mem_user
$array[mem_pass] : เก็บข้อมูลของคอลัมน์ mem_pass
ดังนั้นถ้ าต้องการแสดงผลของค่าทีอยู่ในตาราง member ออกมาทีละแถว จึงต้องใช้ คาสั่ง
                                ่
<?
while($array =mysql_fetch_array($sql_query))
{
echo "<tr>";
echo "<td>$array[mem_id]</td>";
echo "<td>$array[mem_user]</td>";
echo "<td>$array[mem_pass]</td>";
echo "</tr>";
}
  mysql_close();
?>
การส่ งค่ าข้ ามเพ็จโดย QueryString
                QueryString                         ร ??                                           าร าน มล า QueryString
 Querystring มลท Browser                     ต ทาย URL                    Page ท       าน ด า าตั ปรทเราตั นมา ดเลย เ น
ต าร ปยั Web Server เ น
           http://localhost/edit_type.php?type_id=1                                             http://localhost/edit_type.php?type_id=1
                                                                                         ามารถ า ั ด าตั ปร ดดั น
 มลท ป ปร บ ปด ย         มล ล า    มล
 า ตั ยา  มลหร ตั ปร type_id ล าท ป 1                                                 echo"$type_id";
หา ต าร ามา าหน า เ ร หมาย นร ห า ตั ปร
                                 ั                                                      ลลั     1
    http://localhost/edit_type.php?type_id=1&amount=5
                                                                                       ข้ อส เ เ ลำ ส่    ร ้ ำ URL จ ไม่มเ ร่อ มำ $
                                                                                           ่เ ลำเร ้ ำ ้อ มเ ร่อ มำ $

               ธ าร          มลด ย QueryString                                                      ธ าร             มลด ย QueryString
  สร้ ำ จำ Tag Link <a href>... </a>                                                   ล sam2.php
 ำ ด                บั      HREF          TAG <a href> </a> ั         ำ               <?
  ล sam1.html                                                                          echo $name;
  <html>                                                                               ?>
  <body>                                                                            คลิกที่คาว่ า Test Querystring           : แสดงคาว่ า peanthip
   <a href="sample2.php?name=peanthip">Test Querystring </a>
   </body>
   </html>
                             ผลลั ธ


   2. ำรสร้ ำ Querystring ้ HTML Form                                                              ารด       มล า าน มลมา ด น รม
 เหมือนกันการออกแบบ Form รรมดาแต่แตกต่างตรง ี่                                     - ต     ด าผาน ททรบ ต Value                 ท input
 method="get" ตัวอย่าง                                                              ตั ยา เ น
                                                   Show.php
                                                   <?
                                                   Echo $_GET[user];
                                                   Echo “<br>”;                                   <input type =text name=mem_id
                                                   Echo $_GET[pass];
                                                   ?>                                                  value=$array[mem_id]>

<form method=“get” action=“show.php”>
Username : <input type=“text” name=“user”>
password : <input type=“password” name=“pass”>
<input type=submit name =“submit” value =“ตกลง”>
<input type=“reset” name =reset value =“ตกลง”>
</form>
หลักใช้ ฟังก์ ชัน include()
     - ทุกไฟล์ที่มีการติดต่อกับฐานข้อมูลจะต้องดาเนินขึ้นตอนเดียวกันหมดคือ
           1. ติดต่อเครื่ อง Database Server
           2. เลือกฐานข้อมูลที่ตองการ
                                  ้
     ดังนั้นเราสามารถสร้ างไฟล์นไว้เพือให้ไฟล์อน ๆ ดึงมาใช้ งานโดยเรียกผ่านฟังก์ชั่น include() เช่ น
                                ี้ ่           ื่

                         ไฟล์ connect.php                                                ตัวอย่างไฟล์ show_member.php
<?                                                                      <?
$hostname = "localhost";                                                include("connect.php");
$user = "root";                                                         $sql = "select * from member";
$password = "";                                                         $sql_query=mysql_query($sql);
$dbname = "project";                                                    ?>
mysql_connect($hostname, $user, $password) or die("ติดต่ อไม่ ได้ ");   <html>
mysql_select_db($dbname) or die("ติดต่ อไม่ ได้ ");                     <head><title>ข้อมูลลูกค้า</title></head>
mysql_query("SET NAMES utf8");                                          <body>
                                                                        <table border=1 width=30% >
?>
                                                                        <tr align="center" bgcolor="#CCCCFF">
                                                                        <td>ลาดับที่</td><td>Username</td><td>Password</td><td>แก้ไข</td><td>
                                                                        ลบ</td>
                                                                        </tr>
                                                                        <?
                                                                        while($array =mysql_fetch_array($sql_query))
                                                                        {
                                                                        echo "<td>$array[mem_id]</td>";
                                                                        echo "<td>$array[mem_user]</td>";
                                                                        echo "<td>$array[mem_pass]</td>";
                                                                        echo "<td><a href='edit_member.php?show_id=$array[mem_id]'>แก้ไข
                                                                        </a></td>";
                                                                        echo "<td>ลบ</td>";
                                                                        echo "</tr>";
                                                                        }
                                                                          mysql_close();
                                                                        ?>
                                                                        </table>
                                                                        </body>
                                                                        </html>
การแก้ไขข้ อมูลผ่ านทางเว็บเพจ
ไฟล์ ที่เกี่ยวข้ อง
          ไฟล์ show_member.php             หลักการ
                                           - ส่งค่าตัวแปรข้ามเพ็จไปยังไฟล์ show_edit โดยใช้เทคนิค QueryString - ตัว
                                           แปรที่ส่งไปคือ show_id โดยค่าที่เก็บในตัวแปรนี้คือ ค่าของรหัสสมาชิก
                                           (mem_id)ที่ดึงมาเก็บไว้ในตัวแปรอาร์เรย์ $array[mem_id] โดยเพิ่มคาสังลิงค์
                                                                                                               ่

                                           <a href='edit_member.php?show_id=$array[mem_id]'>แก้ไข</a>




                                           หลักการ
           ไฟล์ edit_member.php            - แสดงข้อมูลของแถวที่มีรหัสสมาชิกที่ส่งค่ามาจากไฟล์ show_member.php
                                           คือ ค่า $show_id โดยใช้คาสัง ่
                                                   $sql = "select * from member where mem_id ='$show_id' ";
                                           - ใช้ฟอร์มในการแสดงค่าต่าง ๆ โดยกาหนดให้ ค่าของ value ในแท็ก input
                                           เป็ นค่าข้อมูลของสมาชิกที่มีรหัสตรงกันกับที่เลือกมาก่อนหน้านั้น เช่น
                                            <input type =text name=mem_id size = 8 value=$array[mem_id]>
                                           - ส่งค่าตัวแปรข้ามเพ็จไปยังไฟล์ save_edit โดยใช้เทคนิค QueryString - ตัว
                                           แปรที่ส่งไปคือ edit_id เช่น
                                           <form action="save_edit.php?edit_id=<?=$show_id?>" method="post">
             ไฟล์ save_edit.php            หลักการ
                                           - ใช้คาสังแก้ไขข้อมูล UPDATE เพื่อรับข้อมูลที่แก้ไขใหม่จากไฟล์
                                                    ่
                                           show_edit.php ซึ่งจะส่งค่าตัวแปร $edit_id มา
                                           $sql = "UPDATE member SET mem_user='$mem_user',
                                           mem_pass='$mem_pass' where mem_id='$edit_id' ";
ตัวอย่าง Code ไฟล์ show_member.php
 <?
/* ใช้ฟังก์ชน include ดึง code ส่วนของการเชื่อมต่อมาจากไฟล์ connect.php ที่สร้างไว้แล้ว*/
            ั่
 include("connect.php");

/* เขียนคาสังภาษา SQL ในดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลออกมา*/
            ่
$sql = "select * from member";

/* ดาเนินการตามคาสังใช้ฟังก์ชน mysql_query(คาสังภาษา SQL)*/
                      ่         ั              ่
$sql_query=mysql_query($sql);
 ?>
 <html>
 <head><title>ข้อมูลลูกค้า</title></head>
 <body>
 <table border=1 width=30% >
 <tr align="center" bgcolor="#CCCCFF">
 <td>ลาดับที่</td><td>Username</td><td>Password</td><td>แก้ไข</td><td>ลบ</td>
 </tr>
 <?
 while($array =mysql_fetch_array($sql_query))
 {
 echo "<td>$array[mem_id]</td>";
 echo "<td>$array[mem_user]</td>";
 echo "<td>$array[mem_pass]</td>";
 echo "<td><a href='edit_member.php?show_id=$array[mem_id]'>แก้ไข</a></td>";
 echo "<td>ลบ</td>";
 echo "</tr>";
 }
   mysql_close();
 ?>
 </table>
 </body></html>
ตัวอย่าง Code ไฟล์ edit_member.php

<?
/* ใช้ฟังก์ชน include ดึง code ส่วนของการเชื่อมต่อมาจากไฟล์ connect.php ที่สร้างไว้แล้ว*/
            ั่
include("connect.php");
/* เขียนคาสังภาษา SQL ในดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลออกมา*/
            ่
$sql = "select * from member where mem_id ='$show_id' ";
/* ดาเนินการตามคาสังใช้ฟังก์ชน mysql_query(คาสังภาษา SQL)*/
                     ่       ั                 ่
$sql_query=mysql_query($sql);
?>
<form action="save_edit.php?edit_id=<?=$show_id?>" method="post">
<table border=1 width=100 cellpadding=5 cellspacing=0 bordercolor="#CCCCCC">
<tr align="center" bgcolor="#CCCCFF">
<td width="5%">ลาดับที</td><td>Username</td><td>Password</td><td>แก้ไข</td>
                         ่
</tr>
<?
while($array =mysql_fetch_array($sql_query))
{
echo "<td><input type =text name=mem_id size = 8 value=$array[mem_id]></td>";
echo "<td><input type =text name=mem_user value=$array[mem_user] size = 10></td>";
echo "<td><input type =text name=mem_pass value=$array[mem_pass] size = 10></td>";
echo "<td><input type='submit' name = 'submit' value='แก้ไข'></td>";
echo "</tr>";
}
  mysql_close();
?>
</table>
</form>
</body>
</html>
ตัวอย่าง code ไฟล์ save_edit.php
<?
/* ใช้ฟังก์ชน include ดึง code ส่วนของการเชื่อมต่อมาจากไฟล์ connect.php ที่สร้างไว้แล้ว*/
            ั่
include("connect.php");


/* เขียนคาสังภาษา SQL ในการเพิ่มข้อมูลลงในตารางที่ตองการ โดยใช้คาสัง
            ่                                       ้               ่
UPDATE ชื่อตาราง SET ชื่อฟิ วด์ในฐานข้อมูล =’ชื่อของกล่องรับค่าในไฟล์ edit_member.php’ */
$sql = "UPDATE member SET mem_user='$mem_user', mem_pass='$mem_pass' where mem_id='$edit_id' ";

/* ดาเนินการตามคาสังใช้ฟังก์ชน mysql_query(คาสังภาษา SQL)*/
                        ่       ั                  ่
$sql_query=mysql_query($sql);
if ($sql_query)
 {echo "แก้ไขข้ อมูลสาเร็จ";}
  else {echo " แก้ไขข้อมูลไม่สาเร็จ";}
  mysql_close();
?>
/* เพิ่มคาสังลิงค์เพื่อกลับไปหน้าแสดงข้อมูลผูใช้ท้งหมดที่เก็บไว้ในไฟล์ show_member.php*/
            ่                                ้ ั
<a href="show_member.php">------>> แสดงข้อมูลทั้งหมด</a>
</body>
</html>
การลบข้ อมูล
                                      ไฟล์ ชื่อ delete_member.php
          ไฟล์ show_member.php                    หลักการ
                                                  - ส่งค่าตัวแปรข้ามเพ็จไปยังไฟล์ delete_member.php โดยใช้เทคนิค
                                                  QueryString - ตัวแปรที่ส่งไปคือ delete_id โดยค่าที่เก็บในตัวแปรนี้คือ
                                                  ค่าของรหัสสมาชิก (mem_id) ที่ดึงมาเก็บไว้ในตัวแปรอาร์เรย์
                                                  $array[mem_id] โดยเพิ่มคาสังลิงค์
                                                                               ่

                                                  <a href='delete_member.php?delete_id=$array[mem_id]'>ลบ</a>


          ไฟล์ delete_member.php                  หลักการ
                                                  - ลบข้อมูลที่ของสมาชิกที่ตรงกับรหัสที่ส่งมาจากไฟล์
                                                  show_member.php
                                                  คือ ค่า $delete_id โดยใช้คาสัง
                                                                               ่
                                                       $sql = "delete from member where mem_id ='$delete_id' ";


หลักการ
  1. เพิ่ม code (บันทัดที่ไฮไลท์และตัวอักษรเอียง) ในไฟล์ show_member.php เพื่อทาลิงค์ไปไฟล์ delete_member.php
     <?
     while($array =mysql_fetch_array($sql_query))
     {
     echo "<td>$array[mem_id]</td>";
     echo "<td>$array[mem_user]</td>";
     echo "<td>$array[mem_pass]</td>";
     echo "<td><a href='edit_member.php?show_id=$array[mem_id]'>แก้ไข</a></td>";
     echo "<td><a href='delete_member.php?delete_id=$array[mem_id]'>ลบ</a></td>";
     echo "</tr>";
     }
       mysql_close();
     ?>
2. เขียน code ของไฟล์ delete_member.php ดังนี้
   <?
   include("connect.php");
   $sql="delete from member where mem_id='$delete_id'";
   $result=mysql_query($sql);
   if($result)
           {echo "ลบข้อมูลสาเร็จ";}
                   else{echo "ลบข้ อมูลไม่สาเร็จ";}
   ?>
   ……………………………………………………………………………………………………………………………

More Related Content

What's hot

Κύπρος, 10.000 χρόνια ιστορίας και πολιτισμού!
Κύπρος, 10.000 χρόνια ιστορίας και πολιτισμού! Κύπρος, 10.000 χρόνια ιστορίας και πολιτισμού!
Κύπρος, 10.000 χρόνια ιστορίας και πολιτισμού! Χρήστος Χαρμπής
 
Χρονολογικός πίνακας
Χρονολογικός πίνακαςΧρονολογικός πίνακας
Χρονολογικός πίνακαςAlexandra Gerakini
 
χρονικο τησ ελληνικησ επαναστασησ
χρονικο τησ ελληνικησ επαναστασησ χρονικο τησ ελληνικησ επαναστασησ
χρονικο τησ ελληνικησ επαναστασησ Elena Constandinou
 
μυκήνες
μυκήνεςμυκήνες
μυκήνεςevstamou
 
Η μάχη του Μαραθώνα 490 π.Χ. - Κεφάλαιο 16: Ο περσικός κίνδυνος
Η μάχη του Μαραθώνα 490 π.Χ. - Κεφάλαιο 16: Ο περσικός κίνδυνοςΗ μάχη του Μαραθώνα 490 π.Χ. - Κεφάλαιο 16: Ο περσικός κίνδυνος
Η μάχη του Μαραθώνα 490 π.Χ. - Κεφάλαιο 16: Ο περσικός κίνδυνοςΗλιάδης Ηλίας
 
Η Γυναίκα Και Ο Αθλητισμός
Η Γυναίκα Και Ο ΑθλητισμόςΗ Γυναίκα Και Ο Αθλητισμός
Η Γυναίκα Και Ο Αθλητισμόςfilaretus
 
κείμενο - ποιήματα Πολυτεχνείου
κείμενο -  ποιήματα Πολυτεχνείουκείμενο -  ποιήματα Πολυτεχνείου
κείμενο - ποιήματα Πολυτεχνείουmbretsa
 
2. η άλωση της πόλης
2. η άλωση της πόλης2. η άλωση της πόλης
2. η άλωση της πόληςmavraroda
 
Ιστορία της Ρωμανίας (1204 - 1453 μ.Χ.)
Ιστορία της Ρωμανίας (1204 - 1453 μ.Χ.) Ιστορία της Ρωμανίας (1204 - 1453 μ.Χ.)
Ιστορία της Ρωμανίας (1204 - 1453 μ.Χ.) Peter Tzagarakis
 
ΚΛΑΣΣΙΚΗ ΕΠΟΧΗ 2
ΚΛΑΣΣΙΚΗ ΕΠΟΧΗ 2ΚΛΑΣΣΙΚΗ ΕΠΟΧΗ 2
ΚΛΑΣΣΙΚΗ ΕΠΟΧΗ 26o Lykeio Kavalas
 
Η Ελένη της παράδοσης- Η Ελένη στον Ευριπίδη
Η Ελένη της παράδοσης- Η Ελένη στον ΕυριπίδηΗ Ελένη της παράδοσης- Η Ελένη στον Ευριπίδη
Η Ελένη της παράδοσης- Η Ελένη στον ΕυριπίδηGeorgia Dimitropoulou
 
Αρχαϊκή Εποχή (750-480 π.Χ.): Οι περσικοί πόλεμοι
Αρχαϊκή Εποχή (750-480 π.Χ.): Οι περσικοί πόλεμοιΑρχαϊκή Εποχή (750-480 π.Χ.): Οι περσικοί πόλεμοι
Αρχαϊκή Εποχή (750-480 π.Χ.): Οι περσικοί πόλεμοιelnas
 
κεφ. 11 τα σχολεία και οι δάσκαλοι του γένους
κεφ. 11 τα σχολεία και οι δάσκαλοι του γένουςκεφ. 11 τα σχολεία και οι δάσκαλοι του γένους
κεφ. 11 τα σχολεία και οι δάσκαλοι του γένουςatavar
 
ΣΧΗΜΑΤΟΠΟΙΗΜΑΤΑ ΑΠΟ ΤΟΥΣ "ΜΑΘΗΤΕΣ ΕΝ ΔΡΑΣΕΙ"
 ΣΧΗΜΑΤΟΠΟΙΗΜΑΤΑ ΑΠΟ ΤΟΥΣ "ΜΑΘΗΤΕΣ ΕΝ ΔΡΑΣΕΙ" ΣΧΗΜΑΤΟΠΟΙΗΜΑΤΑ ΑΠΟ ΤΟΥΣ "ΜΑΘΗΤΕΣ ΕΝ ΔΡΑΣΕΙ"
ΣΧΗΜΑΤΟΠΟΙΗΜΑΤΑ ΑΠΟ ΤΟΥΣ "ΜΑΘΗΤΕΣ ΕΝ ΔΡΑΣΕΙ"Maria Froudaraki
 
Αγγλία
ΑγγλίαΑγγλία
Αγγλίαxrysa123
 
γεωγραφικοί όροι ξηράς και θάλασσας
γεωγραφικοί όροι ξηράς και θάλασσαςγεωγραφικοί όροι ξηράς και θάλασσας
γεωγραφικοί όροι ξηράς και θάλασσαςChristina Politaki
 
Vi. η ρωμαϊκη αυτοκρατορια
Vi. η ρωμαϊκη αυτοκρατορια Vi. η ρωμαϊκη αυτοκρατορια
Vi. η ρωμαϊκη αυτοκρατορια Eleni Kots
 

What's hot (20)

Κύπρος, 10.000 χρόνια ιστορίας και πολιτισμού!
Κύπρος, 10.000 χρόνια ιστορίας και πολιτισμού! Κύπρος, 10.000 χρόνια ιστορίας και πολιτισμού!
Κύπρος, 10.000 χρόνια ιστορίας και πολιτισμού!
 
Χρονολογικός πίνακας
Χρονολογικός πίνακαςΧρονολογικός πίνακας
Χρονολογικός πίνακας
 
χρονικο τησ ελληνικησ επαναστασησ
χρονικο τησ ελληνικησ επαναστασησ χρονικο τησ ελληνικησ επαναστασησ
χρονικο τησ ελληνικησ επαναστασησ
 
μυκήνες
μυκήνεςμυκήνες
μυκήνες
 
Η μάχη του Μαραθώνα 490 π.Χ. - Κεφάλαιο 16: Ο περσικός κίνδυνος
Η μάχη του Μαραθώνα 490 π.Χ. - Κεφάλαιο 16: Ο περσικός κίνδυνοςΗ μάχη του Μαραθώνα 490 π.Χ. - Κεφάλαιο 16: Ο περσικός κίνδυνος
Η μάχη του Μαραθώνα 490 π.Χ. - Κεφάλαιο 16: Ο περσικός κίνδυνος
 
Η Γυναίκα Και Ο Αθλητισμός
Η Γυναίκα Και Ο ΑθλητισμόςΗ Γυναίκα Και Ο Αθλητισμός
Η Γυναίκα Και Ο Αθλητισμός
 
κείμενο - ποιήματα Πολυτεχνείου
κείμενο -  ποιήματα Πολυτεχνείουκείμενο -  ποιήματα Πολυτεχνείου
κείμενο - ποιήματα Πολυτεχνείου
 
2. η άλωση της πόλης
2. η άλωση της πόλης2. η άλωση της πόλης
2. η άλωση της πόλης
 
Ιστορία της Ρωμανίας (1204 - 1453 μ.Χ.)
Ιστορία της Ρωμανίας (1204 - 1453 μ.Χ.) Ιστορία της Ρωμανίας (1204 - 1453 μ.Χ.)
Ιστορία της Ρωμανίας (1204 - 1453 μ.Χ.)
 
ΚΛΑΣΣΙΚΗ ΕΠΟΧΗ 2
ΚΛΑΣΣΙΚΗ ΕΠΟΧΗ 2ΚΛΑΣΣΙΚΗ ΕΠΟΧΗ 2
ΚΛΑΣΣΙΚΗ ΕΠΟΧΗ 2
 
Ο φάρος της αλεξάνδρειας
Ο φάρος της αλεξάνδρειαςΟ φάρος της αλεξάνδρειας
Ο φάρος της αλεξάνδρειας
 
Η Ελένη της παράδοσης- Η Ελένη στον Ευριπίδη
Η Ελένη της παράδοσης- Η Ελένη στον ΕυριπίδηΗ Ελένη της παράδοσης- Η Ελένη στον Ευριπίδη
Η Ελένη της παράδοσης- Η Ελένη στον Ευριπίδη
 
Αρχαϊκή Εποχή (750-480 π.Χ.): Οι περσικοί πόλεμοι
Αρχαϊκή Εποχή (750-480 π.Χ.): Οι περσικοί πόλεμοιΑρχαϊκή Εποχή (750-480 π.Χ.): Οι περσικοί πόλεμοι
Αρχαϊκή Εποχή (750-480 π.Χ.): Οι περσικοί πόλεμοι
 
κεφ. 11 τα σχολεία και οι δάσκαλοι του γένους
κεφ. 11 τα σχολεία και οι δάσκαλοι του γένουςκεφ. 11 τα σχολεία και οι δάσκαλοι του γένους
κεφ. 11 τα σχολεία και οι δάσκαλοι του γένους
 
ΣΧΗΜΑΤΟΠΟΙΗΜΑΤΑ ΑΠΟ ΤΟΥΣ "ΜΑΘΗΤΕΣ ΕΝ ΔΡΑΣΕΙ"
 ΣΧΗΜΑΤΟΠΟΙΗΜΑΤΑ ΑΠΟ ΤΟΥΣ "ΜΑΘΗΤΕΣ ΕΝ ΔΡΑΣΕΙ" ΣΧΗΜΑΤΟΠΟΙΗΜΑΤΑ ΑΠΟ ΤΟΥΣ "ΜΑΘΗΤΕΣ ΕΝ ΔΡΑΣΕΙ"
ΣΧΗΜΑΤΟΠΟΙΗΜΑΤΑ ΑΠΟ ΤΟΥΣ "ΜΑΘΗΤΕΣ ΕΝ ΔΡΑΣΕΙ"
 
Αγγλία
ΑγγλίαΑγγλία
Αγγλία
 
γεωγραφικοί όροι ξηράς και θάλασσας
γεωγραφικοί όροι ξηράς και θάλασσαςγεωγραφικοί όροι ξηράς και θάλασσας
γεωγραφικοί όροι ξηράς και θάλασσας
 
Geografikes syntetagmenes tis gis
Geografikes syntetagmenes tis gisGeografikes syntetagmenes tis gis
Geografikes syntetagmenes tis gis
 
Vi. η ρωμαϊκη αυτοκρατορια
Vi. η ρωμαϊκη αυτοκρατορια Vi. η ρωμαϊκη αυτοκρατορια
Vi. η ρωμαϊκη αυτοκρατορια
 
Περσικοί πόλεμοι
Περσικοί πόλεμοιΠερσικοί πόλεμοι
Περσικοί πόλεμοι
 

Similar to Php mysql

การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05Jenchoke Tachagomain
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminskiats
 
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวาบทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวาKukkik Kanya
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 gotaweesit doh
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 govongboonrod
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 govongboonrod
 
wordpress-server2
wordpress-server2 wordpress-server2
wordpress-server2 Nan Anan
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 goarchitechture
 
รายงาน คอม
รายงาน คอมรายงาน คอม
รายงาน คอมNooLuck
 

Similar to Php mysql (20)

การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadmin
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
php5new
php5newphp5new
php5new
 
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวาบทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 
wordpress-server2
wordpress-server2 wordpress-server2
wordpress-server2
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
Appserv install
Appserv installAppserv install
Appserv install
 
Dw ch08 display_records
Dw ch08 display_recordsDw ch08 display_records
Dw ch08 display_records
 
joomla-2-5-install-appserv
joomla-2-5-install-appservjoomla-2-5-install-appserv
joomla-2-5-install-appserv
 
Joomla Admin
Joomla AdminJoomla Admin
Joomla Admin
 
รายงาน คอม
รายงาน คอมรายงาน คอม
รายงาน คอม
 
lesson4 JSP
lesson4 JSPlesson4 JSP
lesson4 JSP
 
Ppt Moodle
Ppt MoodlePpt Moodle
Ppt Moodle
 

More from Attaporn Ninsuwan

More from Attaporn Ninsuwan (20)

J query fundamentals
J query fundamentalsJ query fundamentals
J query fundamentals
 
Jquery enlightenment
Jquery enlightenmentJquery enlightenment
Jquery enlightenment
 
Jquery-Begining
Jquery-BeginingJquery-Begining
Jquery-Begining
 
Br ainfocom94
Br ainfocom94Br ainfocom94
Br ainfocom94
 
Chapter 12 - Computer Forensics
Chapter 12 - Computer ForensicsChapter 12 - Computer Forensics
Chapter 12 - Computer Forensics
 
Techniques for data hiding p
Techniques for data hiding pTechniques for data hiding p
Techniques for data hiding p
 
Stop badware infected_sites_report_062408
Stop badware infected_sites_report_062408Stop badware infected_sites_report_062408
Stop badware infected_sites_report_062408
 
Steganography past-present-future 552
Steganography past-present-future 552Steganography past-present-future 552
Steganography past-present-future 552
 
Ch03-Computer Security
Ch03-Computer SecurityCh03-Computer Security
Ch03-Computer Security
 
Ch02-Computer Security
Ch02-Computer SecurityCh02-Computer Security
Ch02-Computer Security
 
Ch01-Computer Security
Ch01-Computer SecurityCh01-Computer Security
Ch01-Computer Security
 
Ch8-Computer Security
Ch8-Computer SecurityCh8-Computer Security
Ch8-Computer Security
 
Ch7-Computer Security
Ch7-Computer SecurityCh7-Computer Security
Ch7-Computer Security
 
Ch6-Computer Security
Ch6-Computer SecurityCh6-Computer Security
Ch6-Computer Security
 
Ch06b-Computer Security
Ch06b-Computer SecurityCh06b-Computer Security
Ch06b-Computer Security
 
Ch5-Computer Security
Ch5-Computer SecurityCh5-Computer Security
Ch5-Computer Security
 
Ch04-Computer Security
Ch04-Computer SecurityCh04-Computer Security
Ch04-Computer Security
 
Chapter5 - The Discrete-Time Fourier Transform
Chapter5 - The Discrete-Time Fourier TransformChapter5 - The Discrete-Time Fourier Transform
Chapter5 - The Discrete-Time Fourier Transform
 
Chapter4 - The Continuous-Time Fourier Transform
Chapter4 - The Continuous-Time Fourier TransformChapter4 - The Continuous-Time Fourier Transform
Chapter4 - The Continuous-Time Fourier Transform
 
Chapter3 - Fourier Series Representation of Periodic Signals
Chapter3 - Fourier Series Representation of Periodic SignalsChapter3 - Fourier Series Representation of Periodic Signals
Chapter3 - Fourier Series Representation of Periodic Signals
 

Php mysql

  • 1. PHP กับการจัดการข้ อมูลใน Mysql การเพิมข้ อมูล ่ ขั้นที่ 1 ขั้นตอนการสร้ างฐานข้ อมูลและตารางเก็บข้ อมูลกาหนด ฐานข้อมูล ชื่อ project ตารางชื่อ member 1. เปิ ดโปรแกรม phpmyadmin เพื่อสร้างฐานข้อมูล โดยเปิ ด Internet Explorer แล้ วพิมพ์คาว่ า localhost 1.1 เลือกที่ phpMyadmin Database Manager Version 2.10.3 1.2 ใส่ username เป็ น root และ password เป็ น 1234 1.3 สร้างฐานข้อมูลใหม่ ชื่อ project แล้วกดสร้าง 2. สร้างตารางเก็บข้อมูลสมาชิกชื่อตาราง member จานวน 3 ฟิ ลด์ o กาหนด mem_id ให้เป็ น auto_increment และเป็ นคียหลัก ์ o เสร็ จแล้วกดปุ่ ม บันทึก รายละเอียดของตาราง member o กด แทรก เพื่อเพิ่มข้อมูล 3. ทาการเพิมข้อมูลให้ตาราง member ดังตัวอย่าง ่
  • 2. o ช่องแรกเป็ นค่าของ mem_id ไม่ตองกรอก ้ เพราะกาหนดเป็ น auto_increment โปรแกรม ฐานข้อมูลจะทาการเพิ่มให้ เอง โดยเรี ยงลาดับจาก 1 2 3 ต่อไปเรื่ อย ๆ o เมื่อเพิ่มแล้วกด ลงมือ ขั้นที่ 2 สร้ างเว็บเพ็จ ชื่อ register.php เพือรับข้ อมูลสมาชิก ่ 1. เปิ ดโปรแกรม Dreamweaver 2. กาหนดค่าพื้นฐานของหน้าเว็บเพจโดยกาหนดให้สามารถอ่านภาษาไทยได้ที่เมนู Modify เลือก Page Properties คลิกที่ Title/Encoding แล้วเลือก Encoding เป็ น Unicode(UTF-8) 3. ใส่ฟอร์มรับค่า โดยคลิกที่ Form และเลือกเครื่ องมือ Form ดังภาพ 4. กาหนด action ของฟอร์มเพื่อส่งค่าข้อมูลสมาชิกที่รับมาไปประมวลที่ไฟล์ save_member.php ดังภาพ 5. กลับไปที่มุมมอง Design แล้วคลิกในบริ เวณกรอบเส้นประสีแดง ๆ ของฟอร์มแล้วนาตารางเข้ามาในฟอร์ม 4 แถว 2 คอมลัมน์ดงภาพ ั
  • 3. o กล่องรับข้ อความ username กาหนดชื่อเป็ น mem_user o กล่องรับข้ อความ password กาหนดชื่อเป็ น mem_pass กล่องนี ้ต้ องเซตให้ input type เป็ น password ดังภาพ ขั้นที่ 3 สร้ างเว็บเพ็จ ชื่อ save_member.php เพื่อนาข้อมูลที่รับจากไฟล์ register.php บันทึกลงตาราง member ในฐานข้อมูล mysql ขั้นตอนการทางานของไฟล์ save_member.php <? //กาหนดตัวแปรเก็บข้อมูลเพื่อการเชื่อมต่อเครื่ อง Database Server $host ="localhost"; $user = "root"; $pass = "1234"; $db = "project"; /*เชื่ อมต่ อกับเครื่ อง Database Server ด้ วยฟั งก์ ชัน mysql_connect(ชื่ อServer,ชื่ อ ผู้ใช้ ,รหัสผ่ าน)*/ mysql_connect($host,$user,$pass) or die ("ติดต่ อ Server ไม่ สาเร็จ"); /* เลือกฐานข้ อมูล ด้ วยฟั งก์ ชัน mysql_select_db(ชื่ อฐานข้ อมูล)*/ mysql_select_db($db) or die ("ติดต่ อฐานข้ อมูลไม่ สาเร็จ"); // กาหนดให้ การเพิ่ มข้ อมูลลงฐานข้ อมูลรั บภาษาไทย mysql_query("SET NAMES utf8"); /* เขียนคาสั่ งภาษา SQL เพิ่ มข้ อมูลลงตาราง member โดยใช้ คาสั่ ง 1. เปิ ดโปรแกรม Dreamweaver สร้างไฟล์ใหม่ ตั้งชื่อเป็ น INSERT INTO ชื่ อตาราง VALUES (ค่ าต้ องต้ องการเพิ่ มละฟิ วด์ )*/ save_member.php เก็บไว้ที่โฟลเดอร์ member (สร้าง $sql = " insert into member values (NULL,'$mem_user','$mem_pass') "; โฟลเดอร์ member ไว้ในโฟลเดอร์ www) /* ประมวลผลคาสั่ ง sql โดยใช้ คาสั่ ง mysql_query(คาสั่ งภาษา SQL)*/ 2. ลงเมื่อเขียนโปรแกรมโดยต้องเขียนทั้งหมดอยูในแท็ก php ่ $sql_query=mysql_query($sql); <? /*ใช้ คาสั่ ง if เพื่ อตรวจสอบการเพิ่ มข้ อมูล ถ้ าสาเร็ จ ตัวแปร $sql_query จะมีค่า …ขั้นตอนการเขียนตามที่อธิบาย ================= เป็ นจริ ง*/ ?> if ($sql_query) {echo "เพิ่มข้ อมูลสำเร็จ";} else {echo " เพิ่มข้ อมูลไม่ สำเร็จ";} /*ปิ ดการเชื่ อมต่ อกับฐานข้ อมูล */ mysql_close(); ?>
  • 4. การดูผลงาน : 1. เปิ ดโปรแกรม Internet Explorer แล้วพิมพ์คาว่า localhost/member/register.php 2. กรอกข้อมูลแล้วกดปุ่ มตกลง ถ้าเพิ่มข้อมูลสาเร็ จ โปรแกรมจะบอกว่า เพิ่มข้อมูลสาเร็ จ ถ้า เพิ่มไม่สาเร็ จ จะบอกว่า เพิ่มข้อมูล ไม่สาเร็ จ 3. กรณี ที่เจอความผิดพลาด ให้อ่านตามที่บอกไว้ว่าที่ไฟล์อะไร บรรทัดที่เท่าไหร่ แล้วเข้าไปแก้ตามนั้น ส่วนมากที่ผดจะลืมใส่ ิ เครื่ องหมายจบประโยคคาสัง (;) หรื อพิมพ์คาสังผิด ่ ่ หลักการเขียนคาสั่ งภาษา SQL เพือสั่ งให้ เพิมข้ อมูลลงตาราง member ่ ่ หมายเหตุ ค่าแรกใส่เป็ น NULL เนื่องจาก เรากาหนดฟิ วด์ mem_id ในฐานข้ อมูลให้ เป็ น auto_increment ซึ่งในฐานข้ อมูลจะ เพิ่มค่าให้ เองอัตโนมัติเริ่มจาก 1 2 3 ….. เราจึงไม่ใส่ข้อมูลอะไรลงไปซึ่งก็คือ NULL
  • 5. การดึงข้ อมูลจากตาราง member ออกมาแสดงที่หน้ าเว็บเพ็จ วิธีที่1 ไม่ ใช้ ฟอร์ ม กาหนดชื่ อไฟล์ show_member.php <? //กาหนดตัวแปรเก็บข้อมูลเพื่อการเชื่อมต่อเครื่ อง Database Server $host ="localhost"; $user = "root"; $pass = "1234"; $db = "project"; /*เชื่ อมต่ อกับเครื่ องด้ วยฟั งก์ ชัน mysql_connect(ชื่ อServer,ชื่ อผู้ใช้ ,รหัสผ่ าน)*/ mysql_connect($host,$user,$pass) or die ("ติดต่ อ Server ไม่ สาเร็จ"); /* เลือกฐานข้ อมูล ด้ วยฟั งก์ ชัน mysql_select_db(ชื่ อฐานข้ อมูล)*/ mysql_select_db($db) or die ("ติดต่ อฐานข้ อมูลไม่ สาเร็จ"); /* กาหนดให้ การเพิ่ มข้ อมูลลงฐานข้ อมูลรั บภาษาไทย */ mysql_query("SET NAMES utf8"); /* เขียนคาสั่ งภาษา SQL เพื่ อดึงข้ อมูลออกมาแสดง*/ $sql = "SELECT * FROM member"; /* ประมวลผลคาสั่ ง sql โดยใช้ คาสั่ ง mysql_query(คาสั่ งภาษา SQL)*/ $sql_query=mysql_query($sql); 1. เปิ ดโปรแกรม Dreamweaver สร้างไฟล์ใหม่ ตั้งชื่อเป็ น ?> show_member.php เก็บไว้ที่โฟลเดอร์ member (สร้าง /* เขียน html สร้ างหัวตาราง*/ โฟลเดอร์ member ไว้ในโฟลเดอร์ www) <table border=1 width=50%> 2. ลงเมื่อเขียนโปรแกรมโดยต้องเขียนทั้งหมดอยูในแท็ก php ่ <tr align="center" > <td>ลาดับ</td><td>Username</td><td>Password</td> <? </tr> …ขั้นตอนการเขียนตามที่อธิบาย ================= /*ใช้ภาษา php ในการดึงข้อมูลออกมาที ละแถวโดยใช้ คาสัง While เพือวนรอบ ่ ่ ?> และใช้คาสัง mysql_fetch_array() ดึงข้อมูลจากการค้นหามาเก็บในตัวแปร ่ ภาพผลลัพธ์ ประเภทอาเรย์ในทีนีตงชือตัวแปรเป็ น $array */ ่ ้ ั้ ่ <? while($array =mysql_fetch_array($sql_query)) { echo "<tr>"; echo "<td>$array[mem_id]</td>"; echo "<td>$array[mem_user]</td>"; echo "<td>$array[mem_pass]</td>"; echo "</tr>"; } mysql_close(); ?> </table>
  • 6. วิธีที่2 ใช้ ฟอร์ ม กาหนดชื่อไฟล์ show_frm.php <? //กาหนดตัวแปรเก็บข้อมูลเพื่อการเชื่อมต่อเครื่ อง Database Server $host ="localhost"; $user = "root"; $pass = "1234"; $db = "project"; /*เชื่ อมต่ อกับเครื่ องด้ วยฟั งก์ ชัน mysql_connect(ชื่ อServer,ชื่ อผู้ใช้ ,รหัสผ่ าน)*/ mysql_connect($host,$user,$pass) or die ("ติดต่ อ Server ไม่ สาเร็จ"); /* เลือกฐานข้ อมูล ด้ วยฟั งก์ ชัน mysql_select_db(ชื่ อฐานข้ อมูล)*/ mysql_select_db($db) or die ("ติดต่ อฐานข้ อมูลไม่ สาเร็จ"); /* กาหนดให้ การเพิ่ มข้ อมูลลงฐานข้ อมูลรั บภาษาไทย */ mysql_query("SET NAMES utf8"); /* เขียนคาสั่ งภาษา SQL เพื่ อดึงข้ อมูลออกมาแสดง*/ $sql = "SELECT * FROM member"; /* ประมวลผลคาสั่ ง sql โดยใช้ คาสั่ ง mysql_query(คาสั่ งภาษา SQL)*/ $sql_query=mysql_query($sql); 1. เปิ ดโปรแกรม Dreamweaver สร้างไฟล์ใหม่ ตั้งชื่อเป็ น ?> show_member.php เก็บไว้ที่โฟลเดอร์ member (สร้าง /* สร้ างฟอร์ มเพื่ อแสดงข้ อมูล ภายในฟอร์ มจะมีตาราง*/ โฟลเดอร์ member ไว้ในโฟลเดอร์ www) <form> 2. ลงเมื่อเขียนโปรแกรมโดยต้องเขียนทั้งหมดอยูในแท็ก ่ <table border=1 width=50%> php <tr align="center" > <td width="5%">ลำดับที่</td><td>Username</td><td>Password</td> <? </tr> …ขั้นตอนการเขียนตามที่อธิบาย <? ================= while($array =mysql_fetch_array($sql_query)) ?> { ภาพผลลัพธ์ echo "<td> <input type =text name=mem_id value=$array[mem_id]> </td>"; echo "<td> <input type =text name=mem_user value=$array[mem_user]> </td>"; echo "<td> <input type =text name=mem_pass value=$array[mem_pass]> </td>"; echo "</tr>"; } mysql_close(); ?> </table> </form> </body> </html>
  • 7. อธิบายเพิมเติม ่ ฟังก์ชัน mysql_fetch_array() : ดึงค่าผลลัพธ์ที่ได้จากคาสัง mysql_query( ) เก็บลงอาร์เรย์เพื่อนาไปใช้งานต่อไป ่ คาอธิบายคาสั่ง $sql = “SELECT * FROM member”; $sql_query = mysql_query($sql) $array =mysql_fetch_array($sql_query) $array[mem_id] : เก็บข้อมูลของคอลัมน์ mem_id $array[mem_user] : เก็บข้อมูลของคอลัมน์ mem_user $array[mem_pass] : เก็บข้อมูลของคอลัมน์ mem_pass ดังนั้นถ้ าต้องการแสดงผลของค่าทีอยู่ในตาราง member ออกมาทีละแถว จึงต้องใช้ คาสั่ง ่ <? while($array =mysql_fetch_array($sql_query)) { echo "<tr>"; echo "<td>$array[mem_id]</td>"; echo "<td>$array[mem_user]</td>"; echo "<td>$array[mem_pass]</td>"; echo "</tr>"; } mysql_close(); ?>
  • 8. การส่ งค่ าข้ ามเพ็จโดย QueryString QueryString ร ?? าร าน มล า QueryString  Querystring มลท Browser ต ทาย URL Page ท  าน ด า าตั ปรทเราตั นมา ดเลย เ น ต าร ปยั Web Server เ น http://localhost/edit_type.php?type_id=1 http://localhost/edit_type.php?type_id=1 ามารถ า ั ด าตั ปร ดดั น  มลท ป ปร บ ปด ย มล ล า มล  า ตั ยา มลหร ตั ปร type_id ล าท ป 1 echo"$type_id"; หา ต าร ามา าหน า เ ร หมาย นร ห า ตั ปร ั ลลั 1 http://localhost/edit_type.php?type_id=1&amount=5 ข้ อส เ เ ลำ ส่ ร ้ ำ URL จ ไม่มเ ร่อ มำ $ ่เ ลำเร ้ ำ ้อ มเ ร่อ มำ $ ธ าร มลด ย QueryString ธ าร มลด ย QueryString สร้ ำ จำ Tag Link <a href>... </a> ล sam2.php ำ ด บั HREF TAG <a href> </a> ั ำ <? ล sam1.html echo $name; <html> ?> <body> คลิกที่คาว่ า Test Querystring : แสดงคาว่ า peanthip <a href="sample2.php?name=peanthip">Test Querystring </a> </body> </html> ผลลั ธ 2. ำรสร้ ำ Querystring ้ HTML Form ารด มล า าน มลมา ด น รม  เหมือนกันการออกแบบ Form รรมดาแต่แตกต่างตรง ี่ - ต ด าผาน ททรบ ต Value ท input method="get" ตัวอย่าง ตั ยา เ น Show.php <? Echo $_GET[user]; Echo “<br>”; <input type =text name=mem_id Echo $_GET[pass]; ?> value=$array[mem_id]> <form method=“get” action=“show.php”> Username : <input type=“text” name=“user”> password : <input type=“password” name=“pass”> <input type=submit name =“submit” value =“ตกลง”> <input type=“reset” name =reset value =“ตกลง”> </form>
  • 9. หลักใช้ ฟังก์ ชัน include() - ทุกไฟล์ที่มีการติดต่อกับฐานข้อมูลจะต้องดาเนินขึ้นตอนเดียวกันหมดคือ 1. ติดต่อเครื่ อง Database Server 2. เลือกฐานข้อมูลที่ตองการ ้ ดังนั้นเราสามารถสร้ างไฟล์นไว้เพือให้ไฟล์อน ๆ ดึงมาใช้ งานโดยเรียกผ่านฟังก์ชั่น include() เช่ น ี้ ่ ื่ ไฟล์ connect.php ตัวอย่างไฟล์ show_member.php <? <? $hostname = "localhost"; include("connect.php"); $user = "root"; $sql = "select * from member"; $password = ""; $sql_query=mysql_query($sql); $dbname = "project"; ?> mysql_connect($hostname, $user, $password) or die("ติดต่ อไม่ ได้ "); <html> mysql_select_db($dbname) or die("ติดต่ อไม่ ได้ "); <head><title>ข้อมูลลูกค้า</title></head> mysql_query("SET NAMES utf8"); <body> <table border=1 width=30% > ?> <tr align="center" bgcolor="#CCCCFF"> <td>ลาดับที่</td><td>Username</td><td>Password</td><td>แก้ไข</td><td> ลบ</td> </tr> <? while($array =mysql_fetch_array($sql_query)) { echo "<td>$array[mem_id]</td>"; echo "<td>$array[mem_user]</td>"; echo "<td>$array[mem_pass]</td>"; echo "<td><a href='edit_member.php?show_id=$array[mem_id]'>แก้ไข </a></td>"; echo "<td>ลบ</td>"; echo "</tr>"; } mysql_close(); ?> </table> </body> </html>
  • 10. การแก้ไขข้ อมูลผ่ านทางเว็บเพจ ไฟล์ ที่เกี่ยวข้ อง ไฟล์ show_member.php หลักการ - ส่งค่าตัวแปรข้ามเพ็จไปยังไฟล์ show_edit โดยใช้เทคนิค QueryString - ตัว แปรที่ส่งไปคือ show_id โดยค่าที่เก็บในตัวแปรนี้คือ ค่าของรหัสสมาชิก (mem_id)ที่ดึงมาเก็บไว้ในตัวแปรอาร์เรย์ $array[mem_id] โดยเพิ่มคาสังลิงค์ ่ <a href='edit_member.php?show_id=$array[mem_id]'>แก้ไข</a> หลักการ ไฟล์ edit_member.php - แสดงข้อมูลของแถวที่มีรหัสสมาชิกที่ส่งค่ามาจากไฟล์ show_member.php คือ ค่า $show_id โดยใช้คาสัง ่ $sql = "select * from member where mem_id ='$show_id' "; - ใช้ฟอร์มในการแสดงค่าต่าง ๆ โดยกาหนดให้ ค่าของ value ในแท็ก input เป็ นค่าข้อมูลของสมาชิกที่มีรหัสตรงกันกับที่เลือกมาก่อนหน้านั้น เช่น <input type =text name=mem_id size = 8 value=$array[mem_id]> - ส่งค่าตัวแปรข้ามเพ็จไปยังไฟล์ save_edit โดยใช้เทคนิค QueryString - ตัว แปรที่ส่งไปคือ edit_id เช่น <form action="save_edit.php?edit_id=<?=$show_id?>" method="post"> ไฟล์ save_edit.php หลักการ - ใช้คาสังแก้ไขข้อมูล UPDATE เพื่อรับข้อมูลที่แก้ไขใหม่จากไฟล์ ่ show_edit.php ซึ่งจะส่งค่าตัวแปร $edit_id มา $sql = "UPDATE member SET mem_user='$mem_user', mem_pass='$mem_pass' where mem_id='$edit_id' ";
  • 11. ตัวอย่าง Code ไฟล์ show_member.php <? /* ใช้ฟังก์ชน include ดึง code ส่วนของการเชื่อมต่อมาจากไฟล์ connect.php ที่สร้างไว้แล้ว*/ ั่ include("connect.php"); /* เขียนคาสังภาษา SQL ในดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลออกมา*/ ่ $sql = "select * from member"; /* ดาเนินการตามคาสังใช้ฟังก์ชน mysql_query(คาสังภาษา SQL)*/ ่ ั ่ $sql_query=mysql_query($sql); ?> <html> <head><title>ข้อมูลลูกค้า</title></head> <body> <table border=1 width=30% > <tr align="center" bgcolor="#CCCCFF"> <td>ลาดับที่</td><td>Username</td><td>Password</td><td>แก้ไข</td><td>ลบ</td> </tr> <? while($array =mysql_fetch_array($sql_query)) { echo "<td>$array[mem_id]</td>"; echo "<td>$array[mem_user]</td>"; echo "<td>$array[mem_pass]</td>"; echo "<td><a href='edit_member.php?show_id=$array[mem_id]'>แก้ไข</a></td>"; echo "<td>ลบ</td>"; echo "</tr>"; } mysql_close(); ?> </table> </body></html>
  • 12. ตัวอย่าง Code ไฟล์ edit_member.php <? /* ใช้ฟังก์ชน include ดึง code ส่วนของการเชื่อมต่อมาจากไฟล์ connect.php ที่สร้างไว้แล้ว*/ ั่ include("connect.php"); /* เขียนคาสังภาษา SQL ในดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลออกมา*/ ่ $sql = "select * from member where mem_id ='$show_id' "; /* ดาเนินการตามคาสังใช้ฟังก์ชน mysql_query(คาสังภาษา SQL)*/ ่ ั ่ $sql_query=mysql_query($sql); ?> <form action="save_edit.php?edit_id=<?=$show_id?>" method="post"> <table border=1 width=100 cellpadding=5 cellspacing=0 bordercolor="#CCCCCC"> <tr align="center" bgcolor="#CCCCFF"> <td width="5%">ลาดับที</td><td>Username</td><td>Password</td><td>แก้ไข</td> ่ </tr> <? while($array =mysql_fetch_array($sql_query)) { echo "<td><input type =text name=mem_id size = 8 value=$array[mem_id]></td>"; echo "<td><input type =text name=mem_user value=$array[mem_user] size = 10></td>"; echo "<td><input type =text name=mem_pass value=$array[mem_pass] size = 10></td>"; echo "<td><input type='submit' name = 'submit' value='แก้ไข'></td>"; echo "</tr>"; } mysql_close(); ?> </table> </form> </body> </html>
  • 13. ตัวอย่าง code ไฟล์ save_edit.php <? /* ใช้ฟังก์ชน include ดึง code ส่วนของการเชื่อมต่อมาจากไฟล์ connect.php ที่สร้างไว้แล้ว*/ ั่ include("connect.php"); /* เขียนคาสังภาษา SQL ในการเพิ่มข้อมูลลงในตารางที่ตองการ โดยใช้คาสัง ่ ้ ่ UPDATE ชื่อตาราง SET ชื่อฟิ วด์ในฐานข้อมูล =’ชื่อของกล่องรับค่าในไฟล์ edit_member.php’ */ $sql = "UPDATE member SET mem_user='$mem_user', mem_pass='$mem_pass' where mem_id='$edit_id' "; /* ดาเนินการตามคาสังใช้ฟังก์ชน mysql_query(คาสังภาษา SQL)*/ ่ ั ่ $sql_query=mysql_query($sql); if ($sql_query) {echo "แก้ไขข้ อมูลสาเร็จ";} else {echo " แก้ไขข้อมูลไม่สาเร็จ";} mysql_close(); ?> /* เพิ่มคาสังลิงค์เพื่อกลับไปหน้าแสดงข้อมูลผูใช้ท้งหมดที่เก็บไว้ในไฟล์ show_member.php*/ ่ ้ ั <a href="show_member.php">------>> แสดงข้อมูลทั้งหมด</a> </body> </html>
  • 14. การลบข้ อมูล ไฟล์ ชื่อ delete_member.php ไฟล์ show_member.php หลักการ - ส่งค่าตัวแปรข้ามเพ็จไปยังไฟล์ delete_member.php โดยใช้เทคนิค QueryString - ตัวแปรที่ส่งไปคือ delete_id โดยค่าที่เก็บในตัวแปรนี้คือ ค่าของรหัสสมาชิก (mem_id) ที่ดึงมาเก็บไว้ในตัวแปรอาร์เรย์ $array[mem_id] โดยเพิ่มคาสังลิงค์ ่ <a href='delete_member.php?delete_id=$array[mem_id]'>ลบ</a> ไฟล์ delete_member.php หลักการ - ลบข้อมูลที่ของสมาชิกที่ตรงกับรหัสที่ส่งมาจากไฟล์ show_member.php คือ ค่า $delete_id โดยใช้คาสัง ่ $sql = "delete from member where mem_id ='$delete_id' "; หลักการ 1. เพิ่ม code (บันทัดที่ไฮไลท์และตัวอักษรเอียง) ในไฟล์ show_member.php เพื่อทาลิงค์ไปไฟล์ delete_member.php <? while($array =mysql_fetch_array($sql_query)) { echo "<td>$array[mem_id]</td>"; echo "<td>$array[mem_user]</td>"; echo "<td>$array[mem_pass]</td>"; echo "<td><a href='edit_member.php?show_id=$array[mem_id]'>แก้ไข</a></td>"; echo "<td><a href='delete_member.php?delete_id=$array[mem_id]'>ลบ</a></td>"; echo "</tr>"; } mysql_close(); ?>
  • 15. 2. เขียน code ของไฟล์ delete_member.php ดังนี้ <? include("connect.php"); $sql="delete from member where mem_id='$delete_id'"; $result=mysql_query($sql); if($result) {echo "ลบข้อมูลสาเร็จ";} else{echo "ลบข้ อมูลไม่สาเร็จ";} ?> ……………………………………………………………………………………………………………………………