SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
กระบวนการเรียนรู้เพื่อ
เสริมสร้างความเข้มแข็ง
กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูก
สับปะรดภูแล
นาย วรพงศ์ วิมลพันธุ์
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
เชียงราย
ความสำาคัญ
จากการวิจัยเรื่อง การสร้างกระบวนการ
ที่เป็นหลักประกันคุณภาพและปริมาณของ
อุปทานผลไม้ประเภทที่ได้รับ การคัดเลือก
จากโครงการ Branding Project – Thai
Produce and Grains : กรณีสับปะรดภูแล
พศ. 2547 เฉลี่ย กก. ละ 4 บาท
ปัจจุบัน กก. ละ 20 บาท
ทำาให้มีการเพิ่มพื้นที่ปลูก ต่างคนต่าง
ผลิต ประกอบกับมีการใช้เทคโนโลยีการผลิต
ที่ไม่ถูกต้องทำาให้ผลผลิตมีคุณภาพลดลง
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อศึกษาวิจัยกระบวนเรียนรู้ในการเสริม
สร้างความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรด
ภูแลให้มีความเข้มแข็งและสามารถพึ่งตนเองได้
ทั้งทางด้านการผลิต การตลาด และการบริหาร
จัดการองค์กร
ขอบเขตของโครงการวิจัย
1 ขอบเขตด้านพื้นที่ เกษตรกรผู้ปลูก
สับปะรดภูแลในเขต ตำาบลบ้านดู่ ,
ตำาบลนางแล และตำาบลท่าสุด อำาเภอ
เมือง จังหวัดเชียงราย
2 ขอบเขตด้านเนื้อหา
2.1 การจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้าง
ความตระหนักในวิกฤตปัญหา ตระหนัก
ถึงความสำาคัญของกระบวนการกลุ่ม
วิจัย
2.2 การจัดกระบวนการเรียนรู้
ด้านการผลิต การตลาด ด้านกลุ่มและ
เครือข่าย
2.3 การจัดตั้ง การพัฒนากลุ่ม-
องค์กร และการขยายกลุ่ม-องค์กร
2.4. การพัฒนาเครือข่ายองค์กร
2.5. การสรุปผลการศึกษา และเผย
กรอบแนวความคิดของโครงการ
วิจัย
กระบวนการพัฒนา(ชมชวน,2551)
(1) ขั้นตอนการสร้างความตระหนักในวิกฤติ
ปัญหา
 -การวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุปัญหา
 (2) ขั้นตอนการทดลอง หรือวิจัยด้านการผลิต
การตลาด ฯลฯ
 (3) ขั้นตอนการก่อตั้งกลุ่มเกษตรกร
 - ศึกษาดูงาน
 -จัดตั้งกลุ่มเล็ก ขนาด 20-25 ราย
กรอบแนวความคิดของโครงการ
วิจัย
(4) ขั้นการสร้างเครือข่ายองค์กร
เช่น การจัดตั้งชมรมเกษตรกรผู้ผลิต
การพัฒนาระบบตลาด การพัฒนา
ระบบการควบคุมคุณภาพ
(5) การพัฒนาเป็นสถาบันของ
ชุมชนท้องถิ่นที่เข้มแข็งยั่งยืน เช่น
การจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล การ
หน่วยงานที่สนับสนุน
การดำาเนินงาน
1.พาณิชย์จังหวัดเชียงราย
2.สำานักงานสหกรณ์จังหวัด
เชียงราย
3.สำานักงานเกษตรอำาเภอเมือง
เชียงราย
4.เทศบาลตำาบลบ้านดู่
5.มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
การดำาเนินการวิจัย
1. ศึกษาพื้นที่เป้าหมายและจัดทำาข้อมูลพื้น
ฐานของกลุ่ม
2.จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างความ
ตระหนักในวิกฤติปัญหา และตระหนักใน
กระบวนการกลุ่ม
3. จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างกลุ่ม
และพัฒนาให้มีความเข้มแข็ง
4. จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้เกิดเครือข่าย
ของกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดภูแล
การรวบรวมข้อมูล
1. ข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกร
2. ข้อมูลการรวมกลุ่ม
3. การสังเกต ทั้งก่อน หลัง และ
ระหว่างการทำากิจกรรม
4. การแลกเปลี่ยนการประชุมกับกลุ่ม
สมาชิก
การวิเคราะห์ข้อมูล
ทำาการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้
ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่า
เฉลี่ย
ทำาการวิเคราะห์และ
สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการ
สังเกตในกิจกรรม และการ
ประชุมประจำาเดือนของคณะ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เอกสารองค์ความรู้ในเรื่องกระบวนเรียนรู้
เพื่อการเสริมสร้างความเข้มแข็งกลุ่ม
เกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดภูแล
2. เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการแก้
ปัญหาทั้งด้านการผลิต การตลาด และการ
บริหารการจัดการกลุ่มอย่างยั่งยืน
3. เกิดต้นแบบของกลุ่มเกษตรกรที่มีความ
เข้มแข็งด้านกลุ่มสับปะรด และสามารถ
พัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านนี้ได้

More Related Content

Similar to สับปะรด

Similar to สับปะรด (8)

Research r4i
Research r4iResearch r4i
Research r4i
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 
Smart Thai Rice
Smart Thai RiceSmart Thai Rice
Smart Thai Rice
 
1
11
1
 
Mahidol ag
Mahidol agMahidol ag
Mahidol ag
 
Smart farm lecture-ku
Smart farm lecture-kuSmart farm lecture-ku
Smart farm lecture-ku
 
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการข้าวเพื่อเกษตรกรไทย
 
Smart farm white paper chapter 5
Smart farm white paper chapter 5Smart farm white paper chapter 5
Smart farm white paper chapter 5
 

สับปะรด