SlideShare a Scribd company logo
1 of 136
Download to read offline
กฎหมายว่าด้วย 
การเข้าชื่อเสนอกฎหมายและ 
ระเบียบที่เกี่ยวข้อง 
ชาคริต สิทธิเวช 
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 
chacrit.wordpress.com 
facebook.com/schacrit 
schacrit@tu.ac.th 
1
การเสนอกฎหมาย 
การเสนอกฎหมายตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอ 
กฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๖ 
2
๑. การเสนอกฎหมาย 
3
อำนาจอธิปไตย 
บริหาร 
นิติบัญญัติ 
ตุลาการ 
4
อำนาจอธิปไตย 
บริหาร 
private ตุลาการ 
นิติบัญญัติ 
member’s bill 
4
อำนาจอธิปไตย 
บริหาร 
private ตุลาการ 
นิติบัญญัติ 
member’s bill 
initiative 
4
๒. การเสนอกฎหมายตาม 
พระราชบัญญัติว่าด้วย 
การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย 
พ.ศ. ๒๕๕๖ 
5
พระราชบัญญัติว่าด้วย 
การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย 
พ.ศ. ๒๕๕๖ 
6
ความเป็นมา หลักการและเหตุผล 
สาระสำคัญ 
การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย 
7
ความเป็นมา หลักการและเหตุผล 
8
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 
(พุทธศักราช ๒๕๔๐ (ยกเลิก)) 
มาตรา ๑๗๐ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าห้าหมื่น 
คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้ 
รัฐสภาพิจารณากฎหมายตามที่กำหนดในหมวด ๓ 
และหมวด ๕ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ 
คำร้องขอตามวรรคหนึ่งต้องจัดทำร่างพระราช 
บัญญัติเสนอมาด้วย 
หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อรวมทั้งการตรวจสอบ 
ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ 
9
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 
(พุทธศักราช ๒๕๔๐ (ยกเลิก)) 
มาตรา ๑๗๐ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าห้าหมื่น 
คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้ 
รัฐสภาพิจารณากฎหมายตามที่กำหนดในหมวด ๓ 
และหมวด ๕ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ 
คำร้องขอตามวรรคหนึ่งต้องจัดทำร่างพระราช 
บัญญัติเสนอมาด้วย 
หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อรวมทั้งการตรวจสอบ 
ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ 
หมวด ๓ 
สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย 
9
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 
(พุทธศักราช ๒๕๔๐ (ยกเลิก)) 
มาตรา ๑๗๐ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าห้าหมื่น 
คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้ 
รัฐสภาพิจารณากฎหมายตามที่กำหนดในหมวด ๓ 
และหมวด ๕ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ 
คำร้องขอตามวรรคหนึ่งต้องจัดทำร่างพระราช 
บัญญัติเสนอมาด้วย 
หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อรวมทั้งการตรวจสอบ 
ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ 
หมวด ๓ 
สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย 
หมวด ๕ 
แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ 
9
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 
(พุทธศักราช ๒๕๔๐ (ยกเลิก)) 
มาตรา ๑๗๐ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าห้าหมื่น 
คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้ 
รัฐสภาพิจารณากฎหมายตามที่กำหนดในหมวด ๓ 
และหมวด ๕ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ 
คำร้องขอตามวรรคหนึ่งต้องจัดทำร่างพระราช 
บัญญัติเสนอมาด้วย 
หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อรวมทั้งการตรวจสอบ 
ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ 
หมวด ๓ 
สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย 
หมวด ๕ 
แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อ 
เสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๔๒ 
9
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 
(พุทธศักราช ๒๕๕๐ (ยกเลิก)) 
มาตรา ๑๔๒ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๓๙ ร่างพระราชบัญญัติจะเสนอได้ก็แต่โดย 
(๑) คณะรัฐมนตรี 
(๒) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่ายี่สิบคน 
(๓) ศาลหรือองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เฉพาะกฎหมายที่เกี่ยวกับการจัดองค์กรและกฎหมายที่ 
ประธานศาลและประธานองค์กรนั้นเป็นผู้รักษาการ หรือ 
(๔) ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคนเข้าชื่อเสนอกฎหมายตามมาตรา ๑๖๓ 
ในกรณีที่ร่างพระราชบัญญัติซึ่งมีผู้เสนอตาม (๒) (๓) หรือ (๔) เป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน 
จะเสนอได้ก็ต่อเมื่อมีคำรับรองของนายกรัฐมนตรี 
ในกรณีที่ประชาชนได้เสนอร่างพระราชบัญญัติใดตาม (๔) แล้ว หากบุคคลตาม (๑) หรือ (๒) ได้เสนอ 
ร่างพระราชบัญญัติที่มีหลักการเดียวกับร่างพระราชบัญญัตินั้นอีก ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๖๓ วรรคสี่ มาใช้ 
บังคับกับการพิจารณาร่างพระราชบัญญัตินั้นด้วย 
ร่างพระราชบัญญัติให้เสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรก่อน 
ในการเสนอร่างพระราชบัญญัติตามวรรคหนึ่งต้องมีบันทึกวิเคราะห์สรุปสาระสำคัญของร่างพระราช 
บัญญัติเสนอมาพร้อมกับร่างพระราชบัญญัติด้วย 
ร่างพระราชบัญญัติที่เสนอต่อรัฐสภาต้องเปิดเผยให้ประชาชนทราบและให้ประชาชนสามารถเข้าถึง 
ข้อมูลรายละเอียดของร่างพระราชบัญญัตินั้นได้โดยสะดวก 
10
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 
(พุทธศักราช ๒๕๕๐ (ยกเลิก)) 
มาตรา ๑๖๓ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคน มีสิทธิเข้า 
ชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามที่ 
กำหนดในหมวด ๓ และหมวด ๕ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ 
คำร้องขอตามวรรคหนึ่งต้องจัดทำร่างพระราชบัญญัติเสนอมาด้วย 
หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อ รวมทั้งการตรวจสอบรายชื่อ ให้เป็นไปตามที่ 
กฎหมายบัญญัติ 
ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามวรรคหนึ่ง สภาผู้แทนราษฎรและ 
วุฒิสภาต้องให้ผู้แทนของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราช 
บัญญัตินั้นชี้แจงหลักการของร่างพระราชบัญญัติ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ 
เพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวจะต้องประกอบด้วยผู้แทนของ 
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัตินั้นจำนวนไม่น้อย 
กว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดด้วย 
11
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 
(พุทธศักราช ๒๕๕๐ (ยกเลิก)) 
มาตรา ๑๖๓ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคน มีสิทธิเข้า 
ชื่อร้องขอต่อประธานรัหฐสมภาวด เพื่๓ 
อให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามที่ 
กำหนดในหมวด ๓ และหมวด ๕ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ 
สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย 
คำร้องขอตามวรรคหนึ่งต้องจัดทำร่างพระราชบัญญัติเสนอมาด้วย 
หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อ รวมทั้งการตรวจสอบรายชื่อ ให้เป็นไปตามที่ 
กฎหมายบัญญัติ 
ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามวรรคหนึ่ง สภาผู้แทนราษฎรและ 
วุฒิสภาต้องให้ผู้แทนของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราช 
บัญญัตินั้นชี้แจงหลักการของร่างพระราชบัญญัติ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ 
เพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวจะต้องประกอบด้วยผู้แทนของ 
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัตินั้นจำนวนไม่น้อย 
กว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดด้วย 
11
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 
(พุทธศักราช ๒๕๕๐ (ยกเลิก)) 
มาตรา ๑๖๓ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคน มีสิทธิเข้า 
ชื่อร้องขอต่อประธานรัหฐสมภาวด เพื่๓ 
อให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามที่ 
กำหนดในหมวด ๓ และหมวด ๕ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ 
สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย 
หมวด ๕ 
แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ 
คำร้องขอตามวรรคหนึ่งต้องจัดทำร่างพระราชบัญญัติเสนอมาด้วย 
หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อ รวมทั้งการตรวจสอบรายชื่อ ให้เป็นไปตามที่ 
กฎหมายบัญญัติ 
ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามวรรคหนึ่ง สภาผู้แทนราษฎรและ 
วุฒิสภาต้องให้ผู้แทนของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราช 
บัญญัตินั้นชี้แจงหลักการของร่างพระราชบัญญัติ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ 
เพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวจะต้องประกอบด้วยผู้แทนของ 
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัตินั้นจำนวนไม่น้อย 
กว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดด้วย 
11
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 
(พุทธศักราช ๒๕๕๐ (ยกเลิก)) 
มาตรา ๑๖๓ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคน มีสิทธิเข้า 
ชื่อร้องขอต่อประธานรัหฐสมภาวด เพื่๓ 
อให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามที่ 
กำหนดในหมวด ๓ และหมวด ๕ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ 
สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย 
หมวด ๕ 
แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ 
คำร้องขอตามวรรคหนึ่งต้องจัดทำร่างพระราชบัญญัติเสนอมาด้วย 
หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อ รวมทั้งการตรวจสอบรายชื่อ ให้เป็นไปตามที่ 
กฎหมายบัญญัติ 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อ 
เสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๖ 
ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามวรรคหนึ่ง สภาผู้แทนราษฎรและ 
วุฒิสภาต้องให้ผู้แทนของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราช 
บัญญัตินั้นชี้แจงหลักการของร่างพระราชบัญญัติ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ 
เพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวจะต้องประกอบด้วยผู้แทนของ 
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัตินั้นจำนวนไม่น้อย 
กว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดด้วย 
11
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 
(พุทธศักราช ๒๕๕๐ (ยกเลิก)) 
มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ 
(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของ 
จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่ 
น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อย 
กว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย 
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ 
ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้ 
(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณาเป็นสามวาระ 
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมี 
คะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา 
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนผู้มี 
สิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย 
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ 
(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้วให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่ 
สามต่อไป 
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมีคะแนน 
เสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา 
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย และ 
ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม 
12
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 
(พุทธศักราช ๒๕๕๐ (ยกเลิก)) 
พระราชญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อ 
เสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๖ 
มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ 
(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของ 
จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่ 
น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อย 
กว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย 
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ 
ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้ 
(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณาเป็นสามวาระ 
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมี 
คะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา 
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนผู้มี 
สิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย 
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ 
(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้วให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่ 
สามต่อไป 
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมีคะแนน 
เสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา 
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย และ 
ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม 
12
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 
(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ 
มาตรา ๑๔ พระมหากษัตริย์ทรงตราพระราชบัญญัติโดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติ 
แห่งชาติ 
ร่างพระราชบัญญัติจะเสนอได้ก็แต่โดยสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติร่วมกันจำนวนไม่น้อยกว่า 
ยี่สิบห้าคน หรือคณะรัฐมนตรี หรือสภาปฏิรูปแห่งชาติตามมาตรา ๓๑ วรรคสอง แต่ร่างพระราชบัญญัติ 
เกี่ยวด้วยการเงินจะเสนอได้ก็แต่โดยคณะรัฐมนตรี 
ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินตามวรรคสอง หมายความถึงร่างพระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับการ 
ตั้งขึ้น ยกเลิก ลด เปลี่ยนแปลง แก้ไข ผ่อน หรือวางระเบียบการบังคับอันเกี่ยวกับภาษีหรืออากร การ 
จัดสรร รับ รักษา หรือจ่ายเงินแผ่นดิน หรือการโอนงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน การกู้เงิน การค้ำ 
ประกัน หรือการใช้เงินกู้ หรือการดำเนินการที่ผูกพันทรัพย์สินของรัฐ หรือเงินตรา 
ในกรณีเป็นที่สงสัยว่าร่างพระราชบัญญัติที่เสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นร่างพระราชบัญญัติ 
เกี่ยวด้วยการเงินหรือไม่ ให้ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นผู้วินิจฉัย 
ร่างพระราชบัญญัติที่เสนอโดยสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติหรือสภาปฏิรูปแห่งชาตินั้น คณะ 
รัฐมนตรีอาจขอรับไปพิจารณาก่อนสภานิติบัญญัติแห่งชาติจะรับหลักการก็ได้ 
การตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ให้กระทำได้โดยวิธีการที่บัญญัติไว้ในมาตรานี้ แต่การ 
เสนอร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ให้กระทำโดยคณะรัฐมนตรีหรือผู้รักษาการตามพระราช 
บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้น 
13
สาระสำคัญ 
14
บทนิยาม 
การเข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติ 
การดำเนินการของรัฐสภา 
ข้อห้าม 
บทกำหนดโทษ 
ผู้รักษาการ 
15
บทนิยาม 
(มาตรา ๔) 
16
บทนิยาม 
(มาตรา ๔) 
16 
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
ผู้ริเริ่ม
บทนิยาม 
(มาตรา ๔) 
16 
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
ผู้ริเริ่ม 
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งตาม 
บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
บทนิยาม 
(มาตรา ๔) 
16 
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
ผู้ริเริ่ม 
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งตาม 
บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ 
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เริ่มดำเนินการจัดให้มี 
การเข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติหรือ 
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญต่อ 
ประธานรัฐสภา
การเข้าชื่อเสนอ 
ร่างพระราชบัญญัติ 
(มาตรา ๕ ถึงมาตรา ๙) 
17
ผู้มีสิทธิเข้าชื่อและการเข้าชื่อ 
(มาตรา ๕) 
18
ในวันที่ยื่นคำร้องขอต่อ ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
ผู้มีสิทธิเข้าชื่อและการเข้าชื่อ 
(มาตรา ๕) 
18 
ประธานรัฐสภา
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
ในวันที่ยื่นคำร้องขอต่อ 
ประธานรัฐสภา 
ผู้มีสิทธิเข้าชื่อและการเข้าชื่อ 
(มาตรา ๕) 
18 
ไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน ร่างพระราชบัญญัติ
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
ผู้มีสิทธิเข้าชื่อและการเข้าชื่อ 
(มาตรา ๕) 
18 
ไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน 
ร่างพระราชบัญญัติ 
ไม่น้อยกว่า ๕๐,๐๐๐ คน 
ญัตติขอแก้ไข 
รัฐธรรมนูญ 
ในวันที่ยื่นคำร้องขอต่อ 
ประธานรัฐสภา
การริเริ่ม 
(มาตรา ๖ วรรคหนึ่ง) 
19
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ผู้ริเริ่ม ไม่น้อยกว่า ๒๐ คน 
การริเริ่ม 
(มาตรา ๖ วรรคหนึ่ง) 
19
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ผู้ริเริ่ม ไม่น้อยกว่า ๒๐ คน 
การริเริ่ม 
(มาตรา ๖ วรรคหนึ่ง) 
19 
รวบรวมลายมือชื่อของ 
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
แจ้งประธานรัฐสภา 
เป็นหนังสือ 
พร้อมด้วยเอกสาร 
• ร่างพระราชบัญญัติ 
และบันทึกประกอบ 
ตามมาตรา ๘ 
• รายชื่อของผู้ริเริ่ม 
พร้อมหลักฐาน 
หมายเลขประจำตัว 
ประชาชน
การขอรับความช่วยเหลือ 
ในการยกร่างพระราชบัญญัติ 
(มาตรา ๖ วรรคสอง) 
20
การขอรับความช่วยเหลือ 
ในการยกร่างพระราชบัญญัติ 
(มาตรา ๖ วรรคสอง) 
20 
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
การขอรับความช่วยเหลือ 
ในการยกร่างพระราชบัญญัติ 
(มาตรา ๖ วรรคสอง) 
20 
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร 
สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย
การขอรับความช่วยเหลือ 
ในการยกร่างพระราชบัญญัติ 
(มาตรา ๖ วรรคสอง) 
20 
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร 
สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย 
หน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการ 
ช่วยเหลือในการจัดทำร่างกฎหมายแก่ 
ประชาชน
การขอรับความช่วยเหลือ 
ในการยกร่างพระราชบัญญัติ 
(มาตรา ๖ วรรคสอง) 
20 
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร 
สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย 
หน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการ 
ช่วยเหลือในการจัดทำร่างกฎหมายแก่ 
ประชาชน
การสนับสนุนของ 
สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย 
(มาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๙ (๖) แห่งพระราชบัญญัติคณะกรรมการ 
ปฏิรูปกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๓ และระเบียบคณะกรรมกรรมการปฏิรูป 
กฎหมาย ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการให้คำปรึกษาและสนับสนุน 
ในการร่างกฎหมายของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง พ.ศ. ๒๕๕๕) 
21
พระราชบัญญัติคณะกรรมการ 
ปฏิรูปกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๓ 
22
พระราชบัญญัติคณะกรรมการ 
ปฏิรูปกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๓ 
22 
มาตรา ๑๖ ให้คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง 
หรือคณะอนุกรรมการหรือมอบหมายให้กรรมการหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติ 
หน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่ได้รับมอบหมาย
พระราชบัญญัติคณะกรรมการ 
ปฏิรูปกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๓ 
22 
มาตรา ๑๖ ให้คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง 
หรือคณะอนุกรรมการหรือมอบหมายให้กรรมการหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติ 
หน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่ได้รับมอบหมาย 
มาตรา ๑๙ ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ 
ฯลฯ 
(๖) ให้คำปรึกษาและสนับสนุนการดำเนินการในการยกร่างกฎหมายของ 
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการประกาศ 
กำหนด
ระเบียบคณะกรรมกรรมการปฏิรูป 
กฎหมาย ว่าด้วยหลักเกณฑ์และ 
วิธีการให้คำปรึกษาและสนับสนุน 
ในการร่างกฎหมายของประชาชน 
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง พ.ศ. ๒๕๕๕ 
23
บทนิยาม 
หลักในการขอคำปรึกษา 
หลักในการให้คำปรึกษา 
การขอรับการสนับสนุนในการร่างกฎหมาย 
หลักเกณฑ์ในการให้การสนับสนุนการร่างกฎหมาย 
การสนับสนุนในการร่างกฎหมาย 
การยุติการให้คำปรึกษาและสนับสนุนการร่างกฎหมายของประชาชน 
การตีความและการวินิจฉัยชี้ขาด 
การรักษาการ 
24
บทนิยาม 
(ข้อ ๓) 
25
หลักในการขอรับคำปรึกษา 
(ข้อ ๔) 
26
หลักในการขอรับคำปรึกษา 
(ข้อ ๔) 
26 
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
หลักในการขอรับคำปรึกษา 
(ข้อ ๔) 
26 
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
ยื่นคำขอตามแบบ 
คปก.ขช. ๑ ต่อสำนักงาน 
ด้วยตนเอง ทางจดหมาย ทางโทรศัพท์ ทาง 
โทรสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือช่องทางใดๆ 
ตามที่สำนักงานกำหนด
หลักในการให้คำปรึกษา 
(ข้อ ๕) 
27
หลักในการให้คำปรึกษา 
(ข้อ ๕) 
27 
สำนักงานได้รับคำขอ
หลักในการให้คำปรึกษา 
(ข้อ ๕) 
27 
สำนักงานได้รับคำขอ 
แจ้งการตอบรับภายใน 
๓ วันทำการ 
ดำเนินการให้คำปรึกษาภายใน 
๑๐ วันทำการ 
รายละเอียดที่ต้องแจ้ง 
• หลักในการร่างกฎหมายใหม่หรือ 
ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย 
• วิธีดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำร่าง 
กฎหมาย 
• ขั้นตอนการเสนอกฎหมาย 
• เรื่องอื่นๆ ตามที่สำนักงานเห็นสมควร
การขอรับการสนับสนุน 
ในการร่างกฎหมาย 
(ข้อ ๖) 
28
การขอรับการสนับสนุน 
ในการร่างกฎหมาย 
(ข้อ ๖) 
28 
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
จำนวนไม่น้อยกว่า ๕ คน
การขอรับการสนับสนุน 
ในการร่างกฎหมาย 
(ข้อ ๖) 
28 
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
จำนวนไม่น้อยกว่า ๕ คน แต่งตั้งตัวแทนจำนวน 
ไม่น้อยกว่า ๒ คน 
ยื่นคำร้องตามแบบ คปก.ขช. ๒ 
ต่อสำนักงาน 
พร้อมเอกสาร 
• สภาพปัญหาและความจำเป็นในการปรับปรุง 
และพัฒนากฎหมาย 
• สรุปสาระสำคัญและหลักการของกฎหมายที่ 
ต้องการเสนอปรับปรุงและแก้ไข 
• ผลการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) 
• เอกสารอื่นใดที่จะเป็นประโยชน์ในการจัดทำ 
ร่างกฎหมาย (ถ้ามี)
หลักเกณฑ์ในการให้การ 
สนับสนุนการร่างกฎหมาย 
(ข้อ ๗) 
29
หลักเกณฑ์ในการให้การ 
สนับสนุนการร่างกฎหมาย 
(ข้อ ๗) 
29 
เป็นกฎหมายที่มีหลักการเกี่ยวกับสิทธิและ 
เสรีภาพของชนชาวไทยหรือแนวนโยบายพื้น 
ฐานแห่งรัฐหรือที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
หลักเกณฑ์ในการให้การ 
สนับสนุนการร่างกฎหมาย 
(ข้อ ๗) 
29 
เป็นกฎหมายที่มีหลักการเกี่ยวกับสิทธิและ 
เสรีภาพของชนชาวไทยหรือแนวนโยบายพื้น 
ฐานแห่งรัฐหรือที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ 
หากมิใช่ ให้สำนักงานรวบรวมข้อเท็จจริง 
เสนอความเห็นต่อประธานกรรมการ 
พิจารณา ประธานอาจสั่งยุติการสนับสนุน
การสนับสนุน 
ในการร่างกฎหมาย 
(ข้อ ๘) 
30
การสนับสนุน 
ในการร่างกฎหมาย 
(ข้อ ๘) 
30 
สำนักงานได้รับคำขอ
การสนับสนุน 
ในการร่างกฎหมาย 
(ข้อ ๘) 
30 
สำนักงานได้รับคำขอ 
แจ้งการตอบรับแก่ตัวแทน 
ดำเนินการพิจารณาและ 
ให้การสนับสนุนเกี่ยวกับ 
ร่างกฎหมายโดยเร็ว 
• ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดทำร่างกฎหมาย บันทึก 
หลักการและเหตุผล บันทึกวิเคราะห์สรุปสาระสำคัญ 
• เข้าร่วมในการจัดทำร่างกฎหมาย 
• สนับสนุนการศึกษาวิจัย 
• ประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ 
• สนับสนุนการเผยแพร่ร่างกฎหมายต่อสื่อสาร 
สาธารณะ 
• เรื่องอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร
การยุติการให้คำปรึกษาและสนับสนุน 
ในการร่างกฎหมายของประชาชน 
(ข้อ ๙) 
31
การยุติการให้คำปรึกษาและสนับสนุน 
ในการร่างกฎหมายของประชาชน 
(ข้อ ๙) 
31 
สำนักงานได้ให้คำปรึกษา 
และสนับสนุนแล้ว
การยุติการให้คำปรึกษาและสนับสนุน 
ในการร่างกฎหมายของประชาชน 
(ข้อ ๙) 
31 
สำนักงานได้ให้คำปรึกษา 
และสนับสนุนแล้ว 
มีเหตุที่ทำให้ไม่สามารถ 
ดำเนินการตามคำขอต่อไปได้ 
สำนักงานเสนอเรื่องเพื่อให้ 
คณะกรรมการพิจารณายุติ 
เก็บเรื่องนั้นไว้เพื่อใช้ในการ 
ค้นคว้าและอ้างอิงต่อไป
การตีความและ 
วินิจฉัยชี้ขาด 
(ข้อ ๑๐) 
32
การตีความและ 
วินิจฉัยชี้ขาด 
(ข้อ ๑๐) 
32 
คณะกรรมการ
การตีความและ 
วินิจฉัยชี้ขาด 
(ข้อ ๑๐) 
32 
คณะกรรมการ 
มีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อย 
กว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน 
กรรมการเท่าที่มีอยู่ 
เป็นที่สุด
การรักษาการ 
33
การรักษาการ 
33 
ประธานกรรมการ
การขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย 
(มาตรา ๖ วรรคสาม) 
34
การขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย 
(มาตรา ๖ วรรคสาม) 
34 
กองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง 
กฎหมายว่าด้วยสภาพัฒนาการเมือง
การขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย 
(มาตรา ๖ วรรคสาม) 
34 
กองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง 
กฎหมายว่าด้วยสภาพัฒนาการเมือง 
พระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเมือง 
พ.ศ. ๒๕๕๑
35 
พระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเมือง 
พ.ศ. ๒๕๕๑
35 
พระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเมือง 
พ.ศ. ๒๕๕๑ 
กองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง 
สถาบันพระปกเกล้า 
(มาตรา ๓ และมาตรา ๓๑)
35 
พระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเมือง 
พ.ศ. ๒๕๕๑ 
กองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง 
สถาบันพระปกเกล้า 
(มาตรา ๓ และมาตรา ๓๑) 
เพื่อช่วยเหลือกิจกรรมสาธารณะของ 
ชุมชน รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินการ 
ของกลุ่มประชาชนที่รวมตัวกันใน 
ลักษณะเครือข่ายทุกรูปแบบให้ 
สามารถแสดงความคิดเห็นและเสนอ 
ความต้องการของชุมชนในพื้นที่ ใน 
กิจกรรมที่มีลักษณะตามมาตรา ๓๓ 
(มาตรา ๓๑ วรรคหนึ่งและมาตรา ๓๓)
35 
พระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเมือง 
แต่ยังไม่มีระเบียบ 
พ.ศ. ๒๕๕๑ 
สภาพัฒนาการเมืองเกี่ยว 
กับการเงิน ทรัพย์สินและ 
หลักเกณฑ์วิธีการในการ 
ใช้จ่ายเงินกองทุนตาม 
กองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง 
สถาบันพระปกเกล้า 
(มาตรา ๓ และมาตรา ๓๑) 
เพื่อช่วยเหลือกิจกรรมสาธารณะของ 
ชุมชน รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินการ 
ของกลุ่มประชาชนที่รวมตัวกันใน 
ลักษณะเครือข่ายทุกรูปแบบให้ 
สามารถแสดงความคิดเห็นและเสนอ 
ความต้องการของชุมชนในพื้นที่ ใน 
กิจกรรมที่มีลักษณะตามมาตรา ๓๓ 
(มาตรา ๓๑ วรรคหนึ่งและมาตรา ๓๓) 
มาตรา ๖ (๕) (ก)
การแก้ไขร่างพระราชบัญญัติ 
(มาตรา ๖ วรรคห้า) 
36
การแก้ไขร่างพระราชบัญญัติ 
(มาตรา ๖ วรรคห้า) 
36 
ก่อนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะลงลายมือชื่อร่วม 
เสนอร่างพระราชบัญญัติตามมาตรา ๙
การแก้ไขร่างพระราชบัญญัติ 
(มาตรา ๖ วรรคห้า) 
36 
ก่อนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะลงลายมือชื่อร่วม 
เสนอร่างพระราชบัญญัติตามมาตรา ๙ 
ผู้ริเริ่ม
การแก้ไขร่างพระราชบัญญัติ 
(มาตรา ๖ วรรคห้า) 
36 
ก่อนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะลงลายมือชื่อร่วม 
เสนอร่างพระราชบัญญัติตามมาตรา ๙ 
ผู้ริเริ่ม 
จะแก้ไขร่างพระราชบัญญัติก็ได้ 
ต้องแจ้งเป็นหนังสือต่อ 
ประธานรัฐสภา 
พร้อมด้วย 
ร่างพระราชบัญญัติและ 
บันทึกประกอบ 
ที่แก้ไขใหม่
การดำเนินการชักชวน 
เพื่อเข้าเสนอชื่อ 
(มาตรา ๗) 
37
การดำเนินการชักชวน 
เพื่อเข้าเสนอชื่อ 
(มาตรา ๗) 
37 
เมื่อดำเนินการตามมาตรา ๖ แล้ว
การดำเนินการชักชวน 
เพื่อเข้าเสนอชื่อ 
(มาตรา ๗) 
37 
เมื่อดำเนินการตามมาตรา ๖ แล้ว 
ผู้ริเริ่ม
การดำเนินการชักชวน 
เพื่อเข้าเสนอชื่อ 
(มาตรา ๗) 
37 
เมื่อดำเนินการตามมาตรา ๖ แล้ว 
ผู้ริเริ่ม ดำเนินการชักชวน 
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติ 
ต่อประธานรัฐสภา
การดำเนินการชักชวน 
เพื่อเข้าเสนอชื่อ 
(มาตรา ๗) 
37 
เมื่อดำเนินการตามมาตรา ๖ แล้ว 
ผู้ริเริ่ม ดำเนินการชักชวน 
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติ 
ต่อประธานรัฐสภา 
เอกสารลงลายมือชื่อทุกแผ่น 
ต้องปรากฏข้อความให้ผู้มีสิทธิ 
เลือกตั้งซึ่งประสงค์จะลงลายมือชื่อ 
ทราบว่าเป็นการลงลายมือชื่อเพื่อเสนอ 
ร่างพระราชบัญญัติใดและสามารถตรวจ 
สอบร่างพระราชบัญญัติได้ที่ใด 
แนบสำเนาบัตรหรือหลักฐาน 
อื่นใดของทางราชการหรือ 
หน่วยงานของรัฐที่มีรูปถ่าย 
สามารถแสดงตนได้และมี 
หมายเลขประจำตัวประชาชน 
รวมทั้งต้องมีรายละเอียด 
• ชื่อตัวและชื่อสกุล 
• หมายเลขประจำตัวประชาชน
ลักษณะของร่างพระราชบัญญัติ 
ที่เสนอได้ 
(มาตรา ๘) 
38
ลักษณะของร่างพระราชบัญญัติ 
ที่เสนอได้ 
(มาตรา ๘) 
38 
ร่างพระราชบัญญัติ
ลักษณะของร่างพระราชบัญญัติ 
ที่เสนอได้ 
(มาตรา ๘) 
38 
ร่างพระราชบัญญัติ มีหลักการเกี่ยวกับ 
• สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย 
• แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
ลักษณะของร่างพระราชบัญญัติ 
ที่เสนอได้ 
(มาตรา ๘) 
38 
ร่างพระราชบัญญัติ มีหลักการเกี่ยวกับ 
• สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย 
• แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ 
• มีหลักการโดยชัดเจน 
• แบ่งเป็นมาตรา 
• แต่ละมาตรามีบทบัญญัติที่จะเข้าใจ 
ได้ว่ามีความประสงค์จะตรา 
กฎหมายในเรื่องใด
ลักษณะของร่างพระราชบัญญัติ 
ที่เสนอได้ 
(มาตรา ๘) 
38 
ร่างพระราชบัญญัติ มีหลักการเกี่ยวกับ 
• สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย 
• แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ 
• มีหลักการโดยชัดเจน 
• แบ่งเป็นมาตรา 
• แต่ละมาตรามีบทบัญญัติที่จะเข้าใจ 
ได้ว่ามีความประสงค์จะตรา 
กฎหมายในเรื่องใด 
มีบันทึกประกอบ 
• บันทึกหลักการ 
• บันทึกเหตุผล 
• บันทึกวิเคราะห์สรุป
การยื่นคำร้องขอต่อ 
ประธานรัฐสภา 
(มาตรา ๙) 
39
การยื่นคำร้องขอต่อ 
ประธานรัฐสภา 
(มาตรา ๙) 
39 
เมื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมกันเข้าชื่อได้ 
ไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน
การยื่นคำร้องขอต่อ 
ประธานรัฐสภา 
(มาตรา ๙) 
39 
เมื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมกันเข้าชื่อได้ 
ไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน 
ผู้ริเริ่ม
การยื่นคำร้องขอต่อ 
ประธานรัฐสภา 
(มาตรา ๙) 
39 
เมื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมกันเข้าชื่อได้ 
ไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน 
ผู้ริเริ่ม 
ยื่นคำร้องขอต่อ 
ประธานรัฐสภา 
มีเอกสาร 
• สำเนาร่างพระราชบัญญัติ 
และบันทึกประกอบ 
• เอกสารการลงลายมือชื่อ 
พร้อมสำเนาบัตร 
• รายชื่อของผู้แทนของผู้ซึ่ง 
เสนอไม่เกิน ๖๐ คน
การดำเนินการของรัฐสภา 
(มาตรา ๖ วรรคสี่ มาตรา ๑๐ 
และมาตรา ๑๑) 
40
การแจ้งกรณีร่างพระราชบัญญัติ 
ไม่เป็นไปตามมาตรา ๘ 
(มาตรา ๖ วรรคสี่) 
41
การแจ้งกรณีร่างพระราชบัญญัติ 
ไม่เป็นไปตามมาตรา ๘ 
(มาตรา ๖ วรรคสี่) 
41 
ร่างพระราชบัญญัติมีหลักการและ 
เนื้อหาไม่เป็นไปตามมาตรา ๘
การแจ้งกรณีร่างพระราชบัญญัติ 
ไม่เป็นไปตามมาตรา ๘ 
(มาตรา ๖ วรรคสี่) 
41 
ร่างพระราชบัญญัติมีหลักการและ 
เนื้อหาไม่เป็นไปตามมาตรา ๘ 
ประธานรัฐสภา
การแจ้งกรณีร่างพระราชบัญญัติ 
ไม่เป็นไปตามมาตรา ๘ 
(มาตรา ๖ วรรคสี่) 
41 
ร่างพระราชบัญญัติมีหลักการและ 
เนื้อหาไม่เป็นไปตามมาตรา ๘ 
ประธานรัฐสภา 
แจ้งเป็นหนังสือให้ 
ผู้ริเริ่มทราบ 
ภายใน ๑๕ วันนับ 
แต่วันที่ได้รับเรื่อง 
พร้อมส่งเรื่อง 
คืนให้ผู้ริเริ่ม
การตรวจสอบความถูกต้อง 
และครบถ้วน 
(มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง) 
42
การตรวจสอบความถูกต้อง 
และครบถ้วน 
(มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง) 
42 
ประธานรัฐสภา
การตรวจสอบความถูกต้อง 
และครบถ้วน 
(มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง) 
42 
ประธานรัฐสภา 
ตรวจสอบความถูกต้อง 
และครบถ้วนของเอกสาร 
ให้แล้วเสร็จ 
ภายใน ๔๕ วัน
การตรวจสอบความถูกต้อง 
และครบถ้วน 
(มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง) 
42 
ประธานรัฐสภา 
ตรวจสอบความถูกต้อง 
และครบถ้วนของเอกสาร 
ให้แล้วเสร็จ 
ภายใน ๔๕ วัน 
จำนวนไม่ถึง 
๑๐,๐๐๐ คน 
เอกสารไม่ถูกต้อง 
หรือไม่ครบถ้วน 
แจ้งเป็นหนังสือ 
ไปยังผู้ริเริ่ม 
เพื่อดำเนินการให้ 
ถูกต้องครบถ้วน
การตรวจสอบความถูกต้อง 
และครบถ้วน 
(มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง) 
42 
ประธานรัฐสภา 
ตรวจสอบความถูกต้อง 
และครบถ้วนของเอกสาร 
ให้แล้วเสร็จ 
ภายใน ๔๕ วัน 
จำนวนไม่ถึง 
๑๐,๐๐๐ คน 
เอกสารไม่ถูกต้อง 
หรือไม่ครบถ้วน 
แจ้งเป็นหนังสือ 
ไปยังผู้ริเริ่ม 
เพื่อดำเนินการให้ 
ถูกต้องครบถ้วน 
เห็นว่าถูกต้อง 
ครบถ้วนแล้ว 
จัดให้มีการ 
ทางสื่อเทคโนโลยีประกาศรายชื่อ 
มีหนังสือแจ้งผู้มีรายชื่อ 
ของสำนักงานเลขาธิการ สารสนเทศ 
สภาผู้แทนราษฎร 
ณ สำนักงานเลขาธิการ 
สภาผู้แทนราษฎร 
และจัดเอกสารไว้เพื่อให้ 
ประชาชนตรวจสอบ
การคัดค้านและความถูกต้อง 
(มาตรา ๑๐ วรรคสองและ 
วรรคสาม) 
43
การคัดค้านและความถูกต้อง 
(มาตรา ๑๐ วรรคสองและ 
วรรคสาม) 
43 
ผู้ใดมีชื่อเป็นผู้เข้าชื่อเสนอร่าง 
พระราชบัญญัติตามประกาศ 
โดยมิได้ร่วมเข้าชื่อเสนอด้วย
การคัดค้านและความถูกต้อง 
(มาตรา ๑๐ วรรคสองและ 
วรรคสาม) 
43 
ผู้ใดมีชื่อเป็นผู้เข้าชื่อเสนอร่าง 
พระราชบัญญัติตามประกาศ 
โดยมิได้ร่วมเข้าชื่อเสนอด้วย ผู้นั้นมีสิทธิยื่นคำร้องคัดค้านต่อ 
ประธานรัฐสภาหรือบุคคลที่ 
ประธานรัฐสภาแต่งตั้ง 
ภายใน ๓๐ วัน 
นับแต่วันประกาศ 
เพื่อให้ขีดฆ่าชื่อตนเอง 
ออกจากบัญชีรายชื่อ
การคัดค้านและความถูกต้อง 
(มาตรา ๑๐ วรรคสองและ 
วรรคสาม) 
43 
ผู้ใดมีชื่อเป็นผู้เข้าชื่อเสนอร่าง 
พระราชบัญญัติตามประกาศ 
โดยมิได้ร่วมเข้าชื่อเสนอด้วย ผู้นั้นมีสิทธิยื่นคำร้องคัดค้านต่อ 
ประธานรัฐสภาหรือบุคคลที่ 
ประธานรัฐสภาแต่งตั้ง 
ภายใน ๓๐ วัน 
นับแต่วันประกาศ 
เพื่อให้ขีดฆ่าชื่อตนเอง 
ออกจากบัญชีรายชื่อ 
เมื่อพ้นกำหนด 
ระยะเวลาคัดค้าน 
ให้ถือว่ารายชื่อถูกต้อง
กรณีลายมือชื่อไม่ครบจำนวน 
(มาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง) 
44
กรณีลายมือชื่อไม่ครบจำนวน 
(มาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง) 
44 
ลายมือชื่อของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
ซึ่งเข้าชื่อเสนอร่างพระราช 
บัญญัติไม่ถึง ๑๐,๐๐๐ คน
กรณีลายมือชื่อไม่ครบจำนวน 
(มาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง) 
44 
ลายมือชื่อของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
ซึ่งเข้าชื่อเสนอร่างพระราช 
บัญญัติไม่ถึง ๑๐,๐๐๐ คน ประธานรัฐสภา 
แจ้งเป็นหนังสือ 
ให้ผู้ริเริ่มทราบ 
เพื่อดำเนินการจัด 
ให้มีการเข้าชื่อ 
เพิ่มเติมให้ถึง 
๑๐,๐๐๐ คน 
ภายใน ๙๐ วันนับ 
แต่วันที่ได้รับแจ้ง
กรณีลายมือชื่อไม่ครบจำนวน 
(มาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง) 
44 
ลายมือชื่อของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
ซึ่งเข้าชื่อเสนอร่างพระราช 
บัญญัติไม่ถึง ๑๐,๐๐๐ คน ประธานรัฐสภา 
แจ้งเป็นหนังสือ 
ให้ผู้ริเริ่มทราบ 
เพื่อดำเนินการจัด 
ให้มีการเข้าชื่อ 
เพิ่มเติมให้ถึง 
๑๐,๐๐๐ คน 
ภายใน ๙๐ วันนับ 
แต่วันที่ได้รับแจ้ง 
ถ้าพ้นกำหนดระยะเวลา ๙๐ วัน 
และยังมิได้เสนอการเข้าชื่อ 
เพิ่มเติมจนครบถ้วน จำหน่ายเรื่องและ 
คืนเรื่องและ 
เอกสารแก่ผู้ริเริ่ม
กรณีลายมือชื่อครบจำนวน 
(มาตรา ๑๑ วรรคสองและ 
วรรคสาม) 
45
กรณีลายมือชื่อครบจำนวน 
(มาตรา ๑๑ วรรคสองและ 
วรรคสาม) 
45 
ลายมือชื่อของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
ซึ่งเข้าชื่อเสนอร่างพระราช 
บัญญัติไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน
กรณีลายมือชื่อครบจำนวน 
(มาตรา ๑๑ วรรคสองและ 
วรรคสาม) 
45 
ลายมือชื่อของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
ซึ่งเข้าชื่อเสนอร่างพระราช 
บัญญัติไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน ประธานรัฐสภา 
ดำเนินการให้ 
สภาผู้แทนราษฎรและ 
วุฒิสภาพิจารณา 
ร่างพระราชบัญญัตินั้น 
ต่อไป
กรณีลายมือชื่อครบจำนวน 
(มาตรา ๑๑ วรรคสองและ 
วรรคสาม) 
45 
ลายมือชื่อของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
ซึ่งเข้าชื่อเสนอร่างพระราช 
บัญญัติไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน ประธานรัฐสภา 
ดำเนินการให้ 
สภาผู้แทนราษฎรและ 
วุฒิสภาพิจารณา 
ร่างพระราชบัญญัตินั้น 
ต่อไป 
ถ้าเป็นร่างพระราชบัญญัติ 
เกี่ยวด้วยการเงิน
กรณีลายมือชื่อครบจำนวน 
(มาตรา ๑๑ วรรคสองและ 
วรรคสาม) 
45 
ลายมือชื่อของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
ซึ่งเข้าชื่อเสนอร่างพระราช 
บัญญัติไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน ประธานรัฐสภา 
ดำเนินการให้ 
สภาผู้แทนราษฎรและ 
วุฒิสภาพิจารณา 
ร่างพระราชบัญญัตินั้น 
ต่อไป 
ถ้าเป็นร่างพระราชบัญญัติ 
เกี่ยวด้วยการเงิน 
ส่งร่างพระราชบัญญัตินั้นต่อ 
นายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา 
ให้คำรับรองก่อน 
ประธานสภาผู้แทนราษฎร
ข้อห้าม 
(มาตรา ๑๒ วรรคหนึ่ง) 
46
ข้อห้าม 
(มาตรา ๑๒ วรรคหนึ่ง) 
46 
ญัตติเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติม 
รัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการ 
• เปลี่ยนแปลงการปกครอง 
ระบอบประชาธิปไตยอันมี 
พระมหากษัตริย์ทรงเป็น 
ประมุข 
• เปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ
ข้อห้าม 
(มาตรา ๑๒ วรรคหนึ่ง) 
46 
ญัตติเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติม 
รัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการ 
• เปลี่ยนแปลงการปกครอง 
ระบอบประชาธิปไตยอันมี 
พระมหากษัตริย์ทรงเป็น 
ประมุข 
• เปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ 
จะเสนอ 
มิได้
การเสนอญัตติขอ 
แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ 
(มาตรา ๑๒ วรรคสอง) 
47
การเสนอญัตติขอ 
แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ 
(มาตรา ๑๒ วรรคสอง) 
47 
มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ 
มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑
บทกำหนดโทษ 
(มาตรา ๑๓) 
48
บทกำหนดโทษ 
(มาตรา ๑๓) 
48 
ให้ ขอให้หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สินหรือ 
ประโยชน์อื่นใดแก่ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
เพื่อจูงใจให้ริเริ่มเข้าชื่อ ร่วมลงชื่อ 
ไม่ให้ลงชื่อหรือให้ถอนชื่อ
บทกำหนดโทษ 
(มาตรา ๑๓) 
48 
ให้ ขอให้หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สินหรือ 
ประโยชน์อื่นใดแก่ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
เพื่อจูงใจให้ริเริ่มเข้าชื่อ ร่วมลงชื่อ 
ไม่ให้ลงชื่อหรือให้ถอนชื่อ 
หลอกลวง บังคับ ขู่เข็ญหรือ 
ใช้อิทธิพลคุกคาม 
เพื่อให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมลงชื่อ 
ไม่ให้ลงชื่อหรือให้ถอนชื่อ
บทกำหนดโทษ 
(มาตรา ๑๓) 
48 
ให้ ขอให้หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สินหรือ 
ประโยชน์อื่นใดแก่ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 
เพื่อจูงใจให้ริเริ่มเข้าชื่อ ร่วมลงชื่อ 
ไม่ให้ลงชื่อหรือให้ถอนชื่อ 
หลอกลวง บังคับ ขู่เข็ญหรือ 
ใช้อิทธิพลคุกคาม 
๕ ปี 
๑๐๐,๐๐๐ บาท 
เพื่อให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมลงชื่อ 
ไม่ให้ลงชื่อหรือให้ถอนชื่อ
บทกำหนดโทษ 
(มาตรา ๑๔) 
49
บทกำหนดโทษ 
(มาตรา ๑๔) 
49 
ลงลายมือชื่อปลอมในเอกสาร หรือใช้ 
หรืออ้างลายมือชื่อปลอมเช่นว่านั้น 
เพื่อให้ผู้หนึ่งผู้ใดหลงเชื่อว่าเป็น 
ลายมือชื่อของผู้เข้าชื่อ
บทกำหนดโทษ 
(มาตรา ๑๔) 
49 
ลงลายมือชื่อปลอมในเอกสาร หรือใช้ 
หรืออ้างลายมือชื่อปลอมเช่นว่านั้น 
เพื่อให้ผู้หนึ่งผู้ใดหลงเชื่อว่าเป็น 
ลายมือชื่อของผู้เข้าชื่อ 
๑๐ ปี 
๒๐๐,๐๐๐ บาท
ผู้รักษาการ 
(มาตรา ๑๕) 
50
ผู้รักษาการ 
(มาตรา ๑๕) 
50 
ประธานรัฐสภา
คำถาม? 
51
ข้อสังเกตบางประการ 
52
ขอบคุณ สวัสดี … chacrit.wordpress.com 
facebook.com/schacrit 
schacrit@tu.ac.th 
53

More Related Content

What's hot

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญNanthapong Sornkaew
 
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540por
 
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520Pandit Chan
 
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และ...
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และ...พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และ...
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่PluemSupichaya
 
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552วัชรินทร์ ใจจะดี
 
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พุทธศักราช 2477 แก้ไขถึง...
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พุทธศักราช 2477 แก้ไขถึง...พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พุทธศักราช 2477 แก้ไขถึง...
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พุทธศักราช 2477 แก้ไขถึง...ประพันธ์ เวารัมย์
 

What's hot (15)

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
 
18 1
18 118 1
18 1
 
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
 
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
 
การแจ้งสิทธิฟ้องคดีปกครอง
การแจ้งสิทธิฟ้องคดีปกครองการแจ้งสิทธิฟ้องคดีปกครอง
การแจ้งสิทธิฟ้องคดีปกครอง
 
พรบ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551
พรบ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551พรบ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551
พรบ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
 
T 0164
T 0164T 0164
T 0164
 
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
 
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และ...
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และ...พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และ...
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๕ และ...
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ.2540พรบ.ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ.2540
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
 
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2552
 
Act alienwork2551
Act alienwork2551Act alienwork2551
Act alienwork2551
 
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พุทธศักราช 2477 แก้ไขถึง...
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พุทธศักราช 2477 แก้ไขถึง...พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พุทธศักราช 2477 แก้ไขถึง...
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พุทธศักราช 2477 แก้ไขถึง...
 

Similar to กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง

Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปSiriyagon Pusod
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1thnaporn999
 
9789740329954
97897403299549789740329954
9789740329954CUPress
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540Sarod Paichayonrittha
 
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556patinpromwanna
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมายmarena06008
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1Puy Chappuis
 
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1PolCriminalJustice
 

Similar to กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง (20)

บทความ+ศา..
บทความ+ศา..บทความ+ศา..
บทความ+ศา..
 
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1
 
9789740329954
97897403299549789740329954
9789740329954
 
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
 
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
 
จักราวุธ พ.ร.บ.พลเรือน 2551
จักราวุธ พ.ร.บ.พลเรือน 2551จักราวุธ พ.ร.บ.พลเรือน 2551
จักราวุธ พ.ร.บ.พลเรือน 2551
 
พรบ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525
พรบ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525พรบ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525
พรบ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525
 
พ.ร.บ
พ.ร.บพ.ร.บ
พ.ร.บ
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
 
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
 
รวมข้อบังคับการประชุม
รวมข้อบังคับการประชุมรวมข้อบังคับการประชุม
รวมข้อบังคับการประชุม
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
Political reform
Political reformPolitical reform
Political reform
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
 
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
 

More from Chacrit Sitdhiwej

ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมChacrit Sitdhiwej
 
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพสิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพChacrit Sitdhiwej
 
นิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมนิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมChacrit Sitdhiwej
 
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดChacrit Sitdhiwej
 
Management of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandManagement of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์Chacrit Sitdhiwej
 
การร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดการร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างChacrit Sitdhiwej
 
Control of petroleum industry
Control of petroleum industryControl of petroleum industry
Control of petroleum industryChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างChacrit Sitdhiwej
 
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายการกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายChacrit Sitdhiwej
 
การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)Chacrit Sitdhiwej
 
การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐Chacrit Sitdhiwej
 

More from Chacrit Sitdhiwej (20)

ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
 
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพสิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
 
นิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมนิรโทษกรรม
นิรโทษกรรม
 
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
 
Management of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandManagement of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in Thailand
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
 
การร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดการร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิด
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
 
Control of petroleum industry
Control of petroleum industryControl of petroleum industry
Control of petroleum industry
 
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
 
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายการกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
 
การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)
 
การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
 

กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง

  • 1. กฎหมายว่าด้วย การเข้าชื่อเสนอกฎหมายและ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ชาคริต สิทธิเวช คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ chacrit.wordpress.com facebook.com/schacrit schacrit@tu.ac.th 1
  • 5. อำนาจอธิปไตย บริหาร private ตุลาการ นิติบัญญัติ member’s bill 4
  • 6. อำนาจอธิปไตย บริหาร private ตุลาการ นิติบัญญัติ member’s bill initiative 4
  • 7. ๒. การเสนอกฎหมายตาม พระราชบัญญัติว่าด้วย การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๖ 5
  • 11. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๔๐ (ยกเลิก)) มาตรา ๑๗๐ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าห้าหมื่น คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้ รัฐสภาพิจารณากฎหมายตามที่กำหนดในหมวด ๓ และหมวด ๕ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ คำร้องขอตามวรรคหนึ่งต้องจัดทำร่างพระราช บัญญัติเสนอมาด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อรวมทั้งการตรวจสอบ ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ 9
  • 12. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๔๐ (ยกเลิก)) มาตรา ๑๗๐ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าห้าหมื่น คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้ รัฐสภาพิจารณากฎหมายตามที่กำหนดในหมวด ๓ และหมวด ๕ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ คำร้องขอตามวรรคหนึ่งต้องจัดทำร่างพระราช บัญญัติเสนอมาด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อรวมทั้งการตรวจสอบ ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย 9
  • 13. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๔๐ (ยกเลิก)) มาตรา ๑๗๐ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าห้าหมื่น คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้ รัฐสภาพิจารณากฎหมายตามที่กำหนดในหมวด ๓ และหมวด ๕ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ คำร้องขอตามวรรคหนึ่งต้องจัดทำร่างพระราช บัญญัติเสนอมาด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อรวมทั้งการตรวจสอบ ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย หมวด ๕ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ 9
  • 14. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๔๐ (ยกเลิก)) มาตรา ๑๗๐ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าห้าหมื่น คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้ รัฐสภาพิจารณากฎหมายตามที่กำหนดในหมวด ๓ และหมวด ๕ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ คำร้องขอตามวรรคหนึ่งต้องจัดทำร่างพระราช บัญญัติเสนอมาด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อรวมทั้งการตรวจสอบ ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย หมวด ๕ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อ เสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๔๒ 9
  • 15. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๕๐ (ยกเลิก)) มาตรา ๑๔๒ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๓๙ ร่างพระราชบัญญัติจะเสนอได้ก็แต่โดย (๑) คณะรัฐมนตรี (๒) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่ายี่สิบคน (๓) ศาลหรือองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เฉพาะกฎหมายที่เกี่ยวกับการจัดองค์กรและกฎหมายที่ ประธานศาลและประธานองค์กรนั้นเป็นผู้รักษาการ หรือ (๔) ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคนเข้าชื่อเสนอกฎหมายตามมาตรา ๑๖๓ ในกรณีที่ร่างพระราชบัญญัติซึ่งมีผู้เสนอตาม (๒) (๓) หรือ (๔) เป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน จะเสนอได้ก็ต่อเมื่อมีคำรับรองของนายกรัฐมนตรี ในกรณีที่ประชาชนได้เสนอร่างพระราชบัญญัติใดตาม (๔) แล้ว หากบุคคลตาม (๑) หรือ (๒) ได้เสนอ ร่างพระราชบัญญัติที่มีหลักการเดียวกับร่างพระราชบัญญัตินั้นอีก ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๖๓ วรรคสี่ มาใช้ บังคับกับการพิจารณาร่างพระราชบัญญัตินั้นด้วย ร่างพระราชบัญญัติให้เสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรก่อน ในการเสนอร่างพระราชบัญญัติตามวรรคหนึ่งต้องมีบันทึกวิเคราะห์สรุปสาระสำคัญของร่างพระราช บัญญัติเสนอมาพร้อมกับร่างพระราชบัญญัติด้วย ร่างพระราชบัญญัติที่เสนอต่อรัฐสภาต้องเปิดเผยให้ประชาชนทราบและให้ประชาชนสามารถเข้าถึง ข้อมูลรายละเอียดของร่างพระราชบัญญัตินั้นได้โดยสะดวก 10
  • 16. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๕๐ (ยกเลิก)) มาตรา ๑๖๓ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคน มีสิทธิเข้า ชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามที่ กำหนดในหมวด ๓ และหมวด ๕ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ คำร้องขอตามวรรคหนึ่งต้องจัดทำร่างพระราชบัญญัติเสนอมาด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อ รวมทั้งการตรวจสอบรายชื่อ ให้เป็นไปตามที่ กฎหมายบัญญัติ ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามวรรคหนึ่ง สภาผู้แทนราษฎรและ วุฒิสภาต้องให้ผู้แทนของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราช บัญญัตินั้นชี้แจงหลักการของร่างพระราชบัญญัติ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ เพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวจะต้องประกอบด้วยผู้แทนของ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัตินั้นจำนวนไม่น้อย กว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดด้วย 11
  • 17. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๕๐ (ยกเลิก)) มาตรา ๑๖๓ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคน มีสิทธิเข้า ชื่อร้องขอต่อประธานรัหฐสมภาวด เพื่๓ อให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามที่ กำหนดในหมวด ๓ และหมวด ๕ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย คำร้องขอตามวรรคหนึ่งต้องจัดทำร่างพระราชบัญญัติเสนอมาด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อ รวมทั้งการตรวจสอบรายชื่อ ให้เป็นไปตามที่ กฎหมายบัญญัติ ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามวรรคหนึ่ง สภาผู้แทนราษฎรและ วุฒิสภาต้องให้ผู้แทนของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราช บัญญัตินั้นชี้แจงหลักการของร่างพระราชบัญญัติ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ เพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวจะต้องประกอบด้วยผู้แทนของ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัตินั้นจำนวนไม่น้อย กว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดด้วย 11
  • 18. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๕๐ (ยกเลิก)) มาตรา ๑๖๓ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคน มีสิทธิเข้า ชื่อร้องขอต่อประธานรัหฐสมภาวด เพื่๓ อให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามที่ กำหนดในหมวด ๓ และหมวด ๕ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย หมวด ๕ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ คำร้องขอตามวรรคหนึ่งต้องจัดทำร่างพระราชบัญญัติเสนอมาด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อ รวมทั้งการตรวจสอบรายชื่อ ให้เป็นไปตามที่ กฎหมายบัญญัติ ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามวรรคหนึ่ง สภาผู้แทนราษฎรและ วุฒิสภาต้องให้ผู้แทนของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราช บัญญัตินั้นชี้แจงหลักการของร่างพระราชบัญญัติ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ เพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวจะต้องประกอบด้วยผู้แทนของ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัตินั้นจำนวนไม่น้อย กว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดด้วย 11
  • 19. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๕๐ (ยกเลิก)) มาตรา ๑๖๓ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคน มีสิทธิเข้า ชื่อร้องขอต่อประธานรัหฐสมภาวด เพื่๓ อให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามที่ กำหนดในหมวด ๓ และหมวด ๕ แห่งรัฐธรรมนูญนี้ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย หมวด ๕ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ คำร้องขอตามวรรคหนึ่งต้องจัดทำร่างพระราชบัญญัติเสนอมาด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อ รวมทั้งการตรวจสอบรายชื่อ ให้เป็นไปตามที่ กฎหมายบัญญัติ พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อ เสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๖ ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามวรรคหนึ่ง สภาผู้แทนราษฎรและ วุฒิสภาต้องให้ผู้แทนของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราช บัญญัตินั้นชี้แจงหลักการของร่างพระราชบัญญัติ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ เพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวจะต้องประกอบด้วยผู้แทนของ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัตินั้นจำนวนไม่น้อย กว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดด้วย 11
  • 20. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๕๐ (ยกเลิก)) มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ (๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของ จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่ น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อย กว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้ (๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณาเป็นสามวาระ (๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมี คะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา (๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนผู้มี สิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ (๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้วให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่ สามต่อไป (๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมีคะแนน เสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา (๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย และ ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม 12
  • 21. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๕๐ (ยกเลิก)) พระราชญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อ เสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๖ มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ (๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของ จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่ น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อย กว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้ (๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณาเป็นสามวาระ (๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมี คะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา (๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนผู้มี สิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ (๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้วให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่ สามต่อไป (๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมีคะแนน เสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา (๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย และ ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม 12
  • 22. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ มาตรา ๑๔ พระมหากษัตริย์ทรงตราพระราชบัญญัติโดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ ร่างพระราชบัญญัติจะเสนอได้ก็แต่โดยสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติร่วมกันจำนวนไม่น้อยกว่า ยี่สิบห้าคน หรือคณะรัฐมนตรี หรือสภาปฏิรูปแห่งชาติตามมาตรา ๓๑ วรรคสอง แต่ร่างพระราชบัญญัติ เกี่ยวด้วยการเงินจะเสนอได้ก็แต่โดยคณะรัฐมนตรี ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินตามวรรคสอง หมายความถึงร่างพระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับการ ตั้งขึ้น ยกเลิก ลด เปลี่ยนแปลง แก้ไข ผ่อน หรือวางระเบียบการบังคับอันเกี่ยวกับภาษีหรืออากร การ จัดสรร รับ รักษา หรือจ่ายเงินแผ่นดิน หรือการโอนงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน การกู้เงิน การค้ำ ประกัน หรือการใช้เงินกู้ หรือการดำเนินการที่ผูกพันทรัพย์สินของรัฐ หรือเงินตรา ในกรณีเป็นที่สงสัยว่าร่างพระราชบัญญัติที่เสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นร่างพระราชบัญญัติ เกี่ยวด้วยการเงินหรือไม่ ให้ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นผู้วินิจฉัย ร่างพระราชบัญญัติที่เสนอโดยสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติหรือสภาปฏิรูปแห่งชาตินั้น คณะ รัฐมนตรีอาจขอรับไปพิจารณาก่อนสภานิติบัญญัติแห่งชาติจะรับหลักการก็ได้ การตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ให้กระทำได้โดยวิธีการที่บัญญัติไว้ในมาตรานี้ แต่การ เสนอร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ให้กระทำโดยคณะรัฐมนตรีหรือผู้รักษาการตามพระราช บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้น 13
  • 26. บทนิยาม (มาตรา ๔) 16 ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ผู้ริเริ่ม
  • 27. บทนิยาม (มาตรา ๔) 16 ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ผู้ริเริ่ม ผู้มีสิทธิเลือกตั้งตาม บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
  • 28. บทนิยาม (มาตรา ๔) 16 ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ผู้ริเริ่ม ผู้มีสิทธิเลือกตั้งตาม บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เริ่มดำเนินการจัดให้มี การเข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติหรือ ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญต่อ ประธานรัฐสภา
  • 32. ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ในวันที่ยื่นคำร้องขอต่อ ประธานรัฐสภา ผู้มีสิทธิเข้าชื่อและการเข้าชื่อ (มาตรา ๕) 18 ไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน ร่างพระราชบัญญัติ
  • 33. ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ผู้มีสิทธิเข้าชื่อและการเข้าชื่อ (มาตรา ๕) 18 ไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน ร่างพระราชบัญญัติ ไม่น้อยกว่า ๕๐,๐๐๐ คน ญัตติขอแก้ไข รัฐธรรมนูญ ในวันที่ยื่นคำร้องขอต่อ ประธานรัฐสภา
  • 34. การริเริ่ม (มาตรา ๖ วรรคหนึ่ง) 19
  • 35. ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ผู้ริเริ่ม ไม่น้อยกว่า ๒๐ คน การริเริ่ม (มาตรา ๖ วรรคหนึ่ง) 19
  • 36. ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ผู้ริเริ่ม ไม่น้อยกว่า ๒๐ คน การริเริ่ม (มาตรา ๖ วรรคหนึ่ง) 19 รวบรวมลายมือชื่อของ ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง แจ้งประธานรัฐสภา เป็นหนังสือ พร้อมด้วยเอกสาร • ร่างพระราชบัญญัติ และบันทึกประกอบ ตามมาตรา ๘ • รายชื่อของผู้ริเริ่ม พร้อมหลักฐาน หมายเลขประจำตัว ประชาชน
  • 38. การขอรับความช่วยเหลือ ในการยกร่างพระราชบัญญัติ (มาตรา ๖ วรรคสอง) 20 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
  • 39. การขอรับความช่วยเหลือ ในการยกร่างพระราชบัญญัติ (มาตรา ๖ วรรคสอง) 20 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย
  • 40. การขอรับความช่วยเหลือ ในการยกร่างพระราชบัญญัติ (มาตรา ๖ วรรคสอง) 20 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย หน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการ ช่วยเหลือในการจัดทำร่างกฎหมายแก่ ประชาชน
  • 41. การขอรับความช่วยเหลือ ในการยกร่างพระราชบัญญัติ (มาตรา ๖ วรรคสอง) 20 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย หน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการ ช่วยเหลือในการจัดทำร่างกฎหมายแก่ ประชาชน
  • 42. การสนับสนุนของ สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (มาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๙ (๖) แห่งพระราชบัญญัติคณะกรรมการ ปฏิรูปกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๓ และระเบียบคณะกรรมกรรมการปฏิรูป กฎหมาย ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการให้คำปรึกษาและสนับสนุน ในการร่างกฎหมายของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง พ.ศ. ๒๕๕๕) 21
  • 44. พระราชบัญญัติคณะกรรมการ ปฏิรูปกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๓ 22 มาตรา ๑๖ ให้คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง หรือคณะอนุกรรมการหรือมอบหมายให้กรรมการหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติ หน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่ได้รับมอบหมาย
  • 45. พระราชบัญญัติคณะกรรมการ ปฏิรูปกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๓ 22 มาตรา ๑๖ ให้คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง หรือคณะอนุกรรมการหรือมอบหมายให้กรรมการหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติ หน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่ได้รับมอบหมาย มาตรา ๑๙ ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ ฯลฯ (๖) ให้คำปรึกษาและสนับสนุนการดำเนินการในการยกร่างกฎหมายของ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการประกาศ กำหนด
  • 46. ระเบียบคณะกรรมกรรมการปฏิรูป กฎหมาย ว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการให้คำปรึกษาและสนับสนุน ในการร่างกฎหมายของประชาชน ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง พ.ศ. ๒๕๕๕ 23
  • 47. บทนิยาม หลักในการขอคำปรึกษา หลักในการให้คำปรึกษา การขอรับการสนับสนุนในการร่างกฎหมาย หลักเกณฑ์ในการให้การสนับสนุนการร่างกฎหมาย การสนับสนุนในการร่างกฎหมาย การยุติการให้คำปรึกษาและสนับสนุนการร่างกฎหมายของประชาชน การตีความและการวินิจฉัยชี้ขาด การรักษาการ 24
  • 50. หลักในการขอรับคำปรึกษา (ข้อ ๔) 26 ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
  • 51. หลักในการขอรับคำปรึกษา (ข้อ ๔) 26 ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ยื่นคำขอตามแบบ คปก.ขช. ๑ ต่อสำนักงาน ด้วยตนเอง ทางจดหมาย ทางโทรศัพท์ ทาง โทรสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือช่องทางใดๆ ตามที่สำนักงานกำหนด
  • 53. หลักในการให้คำปรึกษา (ข้อ ๕) 27 สำนักงานได้รับคำขอ
  • 54. หลักในการให้คำปรึกษา (ข้อ ๕) 27 สำนักงานได้รับคำขอ แจ้งการตอบรับภายใน ๓ วันทำการ ดำเนินการให้คำปรึกษาภายใน ๑๐ วันทำการ รายละเอียดที่ต้องแจ้ง • หลักในการร่างกฎหมายใหม่หรือ ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย • วิธีดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำร่าง กฎหมาย • ขั้นตอนการเสนอกฎหมาย • เรื่องอื่นๆ ตามที่สำนักงานเห็นสมควร
  • 56. การขอรับการสนับสนุน ในการร่างกฎหมาย (ข้อ ๖) 28 ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวนไม่น้อยกว่า ๕ คน
  • 57. การขอรับการสนับสนุน ในการร่างกฎหมาย (ข้อ ๖) 28 ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวนไม่น้อยกว่า ๕ คน แต่งตั้งตัวแทนจำนวน ไม่น้อยกว่า ๒ คน ยื่นคำร้องตามแบบ คปก.ขช. ๒ ต่อสำนักงาน พร้อมเอกสาร • สภาพปัญหาและความจำเป็นในการปรับปรุง และพัฒนากฎหมาย • สรุปสาระสำคัญและหลักการของกฎหมายที่ ต้องการเสนอปรับปรุงและแก้ไข • ผลการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) • เอกสารอื่นใดที่จะเป็นประโยชน์ในการจัดทำ ร่างกฎหมาย (ถ้ามี)
  • 59. หลักเกณฑ์ในการให้การ สนับสนุนการร่างกฎหมาย (ข้อ ๗) 29 เป็นกฎหมายที่มีหลักการเกี่ยวกับสิทธิและ เสรีภาพของชนชาวไทยหรือแนวนโยบายพื้น ฐานแห่งรัฐหรือที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
  • 60. หลักเกณฑ์ในการให้การ สนับสนุนการร่างกฎหมาย (ข้อ ๗) 29 เป็นกฎหมายที่มีหลักการเกี่ยวกับสิทธิและ เสรีภาพของชนชาวไทยหรือแนวนโยบายพื้น ฐานแห่งรัฐหรือที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ หากมิใช่ ให้สำนักงานรวบรวมข้อเท็จจริง เสนอความเห็นต่อประธานกรรมการ พิจารณา ประธานอาจสั่งยุติการสนับสนุน
  • 62. การสนับสนุน ในการร่างกฎหมาย (ข้อ ๘) 30 สำนักงานได้รับคำขอ
  • 63. การสนับสนุน ในการร่างกฎหมาย (ข้อ ๘) 30 สำนักงานได้รับคำขอ แจ้งการตอบรับแก่ตัวแทน ดำเนินการพิจารณาและ ให้การสนับสนุนเกี่ยวกับ ร่างกฎหมายโดยเร็ว • ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดทำร่างกฎหมาย บันทึก หลักการและเหตุผล บันทึกวิเคราะห์สรุปสาระสำคัญ • เข้าร่วมในการจัดทำร่างกฎหมาย • สนับสนุนการศึกษาวิจัย • ประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ • สนับสนุนการเผยแพร่ร่างกฎหมายต่อสื่อสาร สาธารณะ • เรื่องอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร
  • 65. การยุติการให้คำปรึกษาและสนับสนุน ในการร่างกฎหมายของประชาชน (ข้อ ๙) 31 สำนักงานได้ให้คำปรึกษา และสนับสนุนแล้ว
  • 66. การยุติการให้คำปรึกษาและสนับสนุน ในการร่างกฎหมายของประชาชน (ข้อ ๙) 31 สำนักงานได้ให้คำปรึกษา และสนับสนุนแล้ว มีเหตุที่ทำให้ไม่สามารถ ดำเนินการตามคำขอต่อไปได้ สำนักงานเสนอเรื่องเพื่อให้ คณะกรรมการพิจารณายุติ เก็บเรื่องนั้นไว้เพื่อใช้ในการ ค้นคว้าและอ้างอิงต่อไป
  • 69. การตีความและ วินิจฉัยชี้ขาด (ข้อ ๑๐) 32 คณะกรรมการ มีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อย กว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน กรรมการเท่าที่มีอยู่ เป็นที่สุด
  • 73. การขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย (มาตรา ๖ วรรคสาม) 34 กองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง กฎหมายว่าด้วยสภาพัฒนาการเมือง
  • 74. การขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย (มาตรา ๖ วรรคสาม) 34 กองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง กฎหมายว่าด้วยสภาพัฒนาการเมือง พระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเมือง พ.ศ. ๒๕๕๑
  • 76. 35 พระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเมือง พ.ศ. ๒๕๕๑ กองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า (มาตรา ๓ และมาตรา ๓๑)
  • 77. 35 พระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเมือง พ.ศ. ๒๕๕๑ กองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า (มาตรา ๓ และมาตรา ๓๑) เพื่อช่วยเหลือกิจกรรมสาธารณะของ ชุมชน รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินการ ของกลุ่มประชาชนที่รวมตัวกันใน ลักษณะเครือข่ายทุกรูปแบบให้ สามารถแสดงความคิดเห็นและเสนอ ความต้องการของชุมชนในพื้นที่ ใน กิจกรรมที่มีลักษณะตามมาตรา ๓๓ (มาตรา ๓๑ วรรคหนึ่งและมาตรา ๓๓)
  • 78. 35 พระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเมือง แต่ยังไม่มีระเบียบ พ.ศ. ๒๕๕๑ สภาพัฒนาการเมืองเกี่ยว กับการเงิน ทรัพย์สินและ หลักเกณฑ์วิธีการในการ ใช้จ่ายเงินกองทุนตาม กองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า (มาตรา ๓ และมาตรา ๓๑) เพื่อช่วยเหลือกิจกรรมสาธารณะของ ชุมชน รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินการ ของกลุ่มประชาชนที่รวมตัวกันใน ลักษณะเครือข่ายทุกรูปแบบให้ สามารถแสดงความคิดเห็นและเสนอ ความต้องการของชุมชนในพื้นที่ ใน กิจกรรมที่มีลักษณะตามมาตรา ๓๓ (มาตรา ๓๑ วรรคหนึ่งและมาตรา ๓๓) มาตรา ๖ (๕) (ก)
  • 80. การแก้ไขร่างพระราชบัญญัติ (มาตรา ๖ วรรคห้า) 36 ก่อนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะลงลายมือชื่อร่วม เสนอร่างพระราชบัญญัติตามมาตรา ๙
  • 81. การแก้ไขร่างพระราชบัญญัติ (มาตรา ๖ วรรคห้า) 36 ก่อนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะลงลายมือชื่อร่วม เสนอร่างพระราชบัญญัติตามมาตรา ๙ ผู้ริเริ่ม
  • 82. การแก้ไขร่างพระราชบัญญัติ (มาตรา ๖ วรรคห้า) 36 ก่อนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะลงลายมือชื่อร่วม เสนอร่างพระราชบัญญัติตามมาตรา ๙ ผู้ริเริ่ม จะแก้ไขร่างพระราชบัญญัติก็ได้ ต้องแจ้งเป็นหนังสือต่อ ประธานรัฐสภา พร้อมด้วย ร่างพระราชบัญญัติและ บันทึกประกอบ ที่แก้ไขใหม่
  • 84. การดำเนินการชักชวน เพื่อเข้าเสนอชื่อ (มาตรา ๗) 37 เมื่อดำเนินการตามมาตรา ๖ แล้ว
  • 85. การดำเนินการชักชวน เพื่อเข้าเสนอชื่อ (มาตรา ๗) 37 เมื่อดำเนินการตามมาตรา ๖ แล้ว ผู้ริเริ่ม
  • 86. การดำเนินการชักชวน เพื่อเข้าเสนอชื่อ (มาตรา ๗) 37 เมื่อดำเนินการตามมาตรา ๖ แล้ว ผู้ริเริ่ม ดำเนินการชักชวน ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติ ต่อประธานรัฐสภา
  • 87. การดำเนินการชักชวน เพื่อเข้าเสนอชื่อ (มาตรา ๗) 37 เมื่อดำเนินการตามมาตรา ๖ แล้ว ผู้ริเริ่ม ดำเนินการชักชวน ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติ ต่อประธานรัฐสภา เอกสารลงลายมือชื่อทุกแผ่น ต้องปรากฏข้อความให้ผู้มีสิทธิ เลือกตั้งซึ่งประสงค์จะลงลายมือชื่อ ทราบว่าเป็นการลงลายมือชื่อเพื่อเสนอ ร่างพระราชบัญญัติใดและสามารถตรวจ สอบร่างพระราชบัญญัติได้ที่ใด แนบสำเนาบัตรหรือหลักฐาน อื่นใดของทางราชการหรือ หน่วยงานของรัฐที่มีรูปถ่าย สามารถแสดงตนได้และมี หมายเลขประจำตัวประชาชน รวมทั้งต้องมีรายละเอียด • ชื่อตัวและชื่อสกุล • หมายเลขประจำตัวประชาชน
  • 90. ลักษณะของร่างพระราชบัญญัติ ที่เสนอได้ (มาตรา ๘) 38 ร่างพระราชบัญญัติ มีหลักการเกี่ยวกับ • สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย • แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
  • 91. ลักษณะของร่างพระราชบัญญัติ ที่เสนอได้ (มาตรา ๘) 38 ร่างพระราชบัญญัติ มีหลักการเกี่ยวกับ • สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย • แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ • มีหลักการโดยชัดเจน • แบ่งเป็นมาตรา • แต่ละมาตรามีบทบัญญัติที่จะเข้าใจ ได้ว่ามีความประสงค์จะตรา กฎหมายในเรื่องใด
  • 92. ลักษณะของร่างพระราชบัญญัติ ที่เสนอได้ (มาตรา ๘) 38 ร่างพระราชบัญญัติ มีหลักการเกี่ยวกับ • สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย • แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ • มีหลักการโดยชัดเจน • แบ่งเป็นมาตรา • แต่ละมาตรามีบทบัญญัติที่จะเข้าใจ ได้ว่ามีความประสงค์จะตรา กฎหมายในเรื่องใด มีบันทึกประกอบ • บันทึกหลักการ • บันทึกเหตุผล • บันทึกวิเคราะห์สรุป
  • 94. การยื่นคำร้องขอต่อ ประธานรัฐสภา (มาตรา ๙) 39 เมื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมกันเข้าชื่อได้ ไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน
  • 95. การยื่นคำร้องขอต่อ ประธานรัฐสภา (มาตรา ๙) 39 เมื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมกันเข้าชื่อได้ ไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน ผู้ริเริ่ม
  • 96. การยื่นคำร้องขอต่อ ประธานรัฐสภา (มาตรา ๙) 39 เมื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมกันเข้าชื่อได้ ไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน ผู้ริเริ่ม ยื่นคำร้องขอต่อ ประธานรัฐสภา มีเอกสาร • สำเนาร่างพระราชบัญญัติ และบันทึกประกอบ • เอกสารการลงลายมือชื่อ พร้อมสำเนาบัตร • รายชื่อของผู้แทนของผู้ซึ่ง เสนอไม่เกิน ๖๐ คน
  • 97. การดำเนินการของรัฐสภา (มาตรา ๖ วรรคสี่ มาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๑) 40
  • 99. การแจ้งกรณีร่างพระราชบัญญัติ ไม่เป็นไปตามมาตรา ๘ (มาตรา ๖ วรรคสี่) 41 ร่างพระราชบัญญัติมีหลักการและ เนื้อหาไม่เป็นไปตามมาตรา ๘
  • 100. การแจ้งกรณีร่างพระราชบัญญัติ ไม่เป็นไปตามมาตรา ๘ (มาตรา ๖ วรรคสี่) 41 ร่างพระราชบัญญัติมีหลักการและ เนื้อหาไม่เป็นไปตามมาตรา ๘ ประธานรัฐสภา
  • 101. การแจ้งกรณีร่างพระราชบัญญัติ ไม่เป็นไปตามมาตรา ๘ (มาตรา ๖ วรรคสี่) 41 ร่างพระราชบัญญัติมีหลักการและ เนื้อหาไม่เป็นไปตามมาตรา ๘ ประธานรัฐสภา แจ้งเป็นหนังสือให้ ผู้ริเริ่มทราบ ภายใน ๑๕ วันนับ แต่วันที่ได้รับเรื่อง พร้อมส่งเรื่อง คืนให้ผู้ริเริ่ม
  • 103. การตรวจสอบความถูกต้อง และครบถ้วน (มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง) 42 ประธานรัฐสภา
  • 104. การตรวจสอบความถูกต้อง และครบถ้วน (มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง) 42 ประธานรัฐสภา ตรวจสอบความถูกต้อง และครบถ้วนของเอกสาร ให้แล้วเสร็จ ภายใน ๔๕ วัน
  • 105. การตรวจสอบความถูกต้อง และครบถ้วน (มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง) 42 ประธานรัฐสภา ตรวจสอบความถูกต้อง และครบถ้วนของเอกสาร ให้แล้วเสร็จ ภายใน ๔๕ วัน จำนวนไม่ถึง ๑๐,๐๐๐ คน เอกสารไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน แจ้งเป็นหนังสือ ไปยังผู้ริเริ่ม เพื่อดำเนินการให้ ถูกต้องครบถ้วน
  • 106. การตรวจสอบความถูกต้อง และครบถ้วน (มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง) 42 ประธานรัฐสภา ตรวจสอบความถูกต้อง และครบถ้วนของเอกสาร ให้แล้วเสร็จ ภายใน ๔๕ วัน จำนวนไม่ถึง ๑๐,๐๐๐ คน เอกสารไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน แจ้งเป็นหนังสือ ไปยังผู้ริเริ่ม เพื่อดำเนินการให้ ถูกต้องครบถ้วน เห็นว่าถูกต้อง ครบถ้วนแล้ว จัดให้มีการ ทางสื่อเทคโนโลยีประกาศรายชื่อ มีหนังสือแจ้งผู้มีรายชื่อ ของสำนักงานเลขาธิการ สารสนเทศ สภาผู้แทนราษฎร ณ สำนักงานเลขาธิการ สภาผู้แทนราษฎร และจัดเอกสารไว้เพื่อให้ ประชาชนตรวจสอบ
  • 108. การคัดค้านและความถูกต้อง (มาตรา ๑๐ วรรคสองและ วรรคสาม) 43 ผู้ใดมีชื่อเป็นผู้เข้าชื่อเสนอร่าง พระราชบัญญัติตามประกาศ โดยมิได้ร่วมเข้าชื่อเสนอด้วย
  • 109. การคัดค้านและความถูกต้อง (มาตรา ๑๐ วรรคสองและ วรรคสาม) 43 ผู้ใดมีชื่อเป็นผู้เข้าชื่อเสนอร่าง พระราชบัญญัติตามประกาศ โดยมิได้ร่วมเข้าชื่อเสนอด้วย ผู้นั้นมีสิทธิยื่นคำร้องคัดค้านต่อ ประธานรัฐสภาหรือบุคคลที่ ประธานรัฐสภาแต่งตั้ง ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันประกาศ เพื่อให้ขีดฆ่าชื่อตนเอง ออกจากบัญชีรายชื่อ
  • 110. การคัดค้านและความถูกต้อง (มาตรา ๑๐ วรรคสองและ วรรคสาม) 43 ผู้ใดมีชื่อเป็นผู้เข้าชื่อเสนอร่าง พระราชบัญญัติตามประกาศ โดยมิได้ร่วมเข้าชื่อเสนอด้วย ผู้นั้นมีสิทธิยื่นคำร้องคัดค้านต่อ ประธานรัฐสภาหรือบุคคลที่ ประธานรัฐสภาแต่งตั้ง ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันประกาศ เพื่อให้ขีดฆ่าชื่อตนเอง ออกจากบัญชีรายชื่อ เมื่อพ้นกำหนด ระยะเวลาคัดค้าน ให้ถือว่ารายชื่อถูกต้อง
  • 112. กรณีลายมือชื่อไม่ครบจำนวน (มาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง) 44 ลายมือชื่อของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ซึ่งเข้าชื่อเสนอร่างพระราช บัญญัติไม่ถึง ๑๐,๐๐๐ คน
  • 113. กรณีลายมือชื่อไม่ครบจำนวน (มาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง) 44 ลายมือชื่อของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ซึ่งเข้าชื่อเสนอร่างพระราช บัญญัติไม่ถึง ๑๐,๐๐๐ คน ประธานรัฐสภา แจ้งเป็นหนังสือ ให้ผู้ริเริ่มทราบ เพื่อดำเนินการจัด ให้มีการเข้าชื่อ เพิ่มเติมให้ถึง ๑๐,๐๐๐ คน ภายใน ๙๐ วันนับ แต่วันที่ได้รับแจ้ง
  • 114. กรณีลายมือชื่อไม่ครบจำนวน (มาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง) 44 ลายมือชื่อของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ซึ่งเข้าชื่อเสนอร่างพระราช บัญญัติไม่ถึง ๑๐,๐๐๐ คน ประธานรัฐสภา แจ้งเป็นหนังสือ ให้ผู้ริเริ่มทราบ เพื่อดำเนินการจัด ให้มีการเข้าชื่อ เพิ่มเติมให้ถึง ๑๐,๐๐๐ คน ภายใน ๙๐ วันนับ แต่วันที่ได้รับแจ้ง ถ้าพ้นกำหนดระยะเวลา ๙๐ วัน และยังมิได้เสนอการเข้าชื่อ เพิ่มเติมจนครบถ้วน จำหน่ายเรื่องและ คืนเรื่องและ เอกสารแก่ผู้ริเริ่ม
  • 115. กรณีลายมือชื่อครบจำนวน (มาตรา ๑๑ วรรคสองและ วรรคสาม) 45
  • 116. กรณีลายมือชื่อครบจำนวน (มาตรา ๑๑ วรรคสองและ วรรคสาม) 45 ลายมือชื่อของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ซึ่งเข้าชื่อเสนอร่างพระราช บัญญัติไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน
  • 117. กรณีลายมือชื่อครบจำนวน (มาตรา ๑๑ วรรคสองและ วรรคสาม) 45 ลายมือชื่อของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ซึ่งเข้าชื่อเสนอร่างพระราช บัญญัติไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน ประธานรัฐสภา ดำเนินการให้ สภาผู้แทนราษฎรและ วุฒิสภาพิจารณา ร่างพระราชบัญญัตินั้น ต่อไป
  • 118. กรณีลายมือชื่อครบจำนวน (มาตรา ๑๑ วรรคสองและ วรรคสาม) 45 ลายมือชื่อของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ซึ่งเข้าชื่อเสนอร่างพระราช บัญญัติไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน ประธานรัฐสภา ดำเนินการให้ สภาผู้แทนราษฎรและ วุฒิสภาพิจารณา ร่างพระราชบัญญัตินั้น ต่อไป ถ้าเป็นร่างพระราชบัญญัติ เกี่ยวด้วยการเงิน
  • 119. กรณีลายมือชื่อครบจำนวน (มาตรา ๑๑ วรรคสองและ วรรคสาม) 45 ลายมือชื่อของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ซึ่งเข้าชื่อเสนอร่างพระราช บัญญัติไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน ประธานรัฐสภา ดำเนินการให้ สภาผู้แทนราษฎรและ วุฒิสภาพิจารณา ร่างพระราชบัญญัตินั้น ต่อไป ถ้าเป็นร่างพระราชบัญญัติ เกี่ยวด้วยการเงิน ส่งร่างพระราชบัญญัตินั้นต่อ นายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา ให้คำรับรองก่อน ประธานสภาผู้แทนราษฎร
  • 120. ข้อห้าม (มาตรา ๑๒ วรรคหนึ่ง) 46
  • 121. ข้อห้าม (มาตรา ๑๒ วรรคหนึ่ง) 46 ญัตติเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติม รัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการ • เปลี่ยนแปลงการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข • เปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ
  • 122. ข้อห้าม (มาตรา ๑๒ วรรคหนึ่ง) 46 ญัตติเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติม รัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการ • เปลี่ยนแปลงการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข • เปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอ มิได้
  • 124. การเสนอญัตติขอ แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๑๒ วรรคสอง) 47 มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑
  • 126. บทกำหนดโทษ (มาตรา ๑๓) 48 ให้ ขอให้หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สินหรือ ประโยชน์อื่นใดแก่ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง เพื่อจูงใจให้ริเริ่มเข้าชื่อ ร่วมลงชื่อ ไม่ให้ลงชื่อหรือให้ถอนชื่อ
  • 127. บทกำหนดโทษ (มาตรา ๑๓) 48 ให้ ขอให้หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สินหรือ ประโยชน์อื่นใดแก่ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง เพื่อจูงใจให้ริเริ่มเข้าชื่อ ร่วมลงชื่อ ไม่ให้ลงชื่อหรือให้ถอนชื่อ หลอกลวง บังคับ ขู่เข็ญหรือ ใช้อิทธิพลคุกคาม เพื่อให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมลงชื่อ ไม่ให้ลงชื่อหรือให้ถอนชื่อ
  • 128. บทกำหนดโทษ (มาตรา ๑๓) 48 ให้ ขอให้หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สินหรือ ประโยชน์อื่นใดแก่ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง เพื่อจูงใจให้ริเริ่มเข้าชื่อ ร่วมลงชื่อ ไม่ให้ลงชื่อหรือให้ถอนชื่อ หลอกลวง บังคับ ขู่เข็ญหรือ ใช้อิทธิพลคุกคาม ๕ ปี ๑๐๐,๐๐๐ บาท เพื่อให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมลงชื่อ ไม่ให้ลงชื่อหรือให้ถอนชื่อ
  • 130. บทกำหนดโทษ (มาตรา ๑๔) 49 ลงลายมือชื่อปลอมในเอกสาร หรือใช้ หรืออ้างลายมือชื่อปลอมเช่นว่านั้น เพื่อให้ผู้หนึ่งผู้ใดหลงเชื่อว่าเป็น ลายมือชื่อของผู้เข้าชื่อ
  • 131. บทกำหนดโทษ (มาตรา ๑๔) 49 ลงลายมือชื่อปลอมในเอกสาร หรือใช้ หรืออ้างลายมือชื่อปลอมเช่นว่านั้น เพื่อให้ผู้หนึ่งผู้ใดหลงเชื่อว่าเป็น ลายมือชื่อของผู้เข้าชื่อ ๑๐ ปี ๒๐๐,๐๐๐ บาท
  • 133. ผู้รักษาการ (มาตรา ๑๕) 50 ประธานรัฐสภา
  • 136. ขอบคุณ สวัสดี … chacrit.wordpress.com facebook.com/schacrit schacrit@tu.ac.th 53