SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
MANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENT BEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICES  September - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - October 20022002200220022002
º·¤ÇÒÁÇÔªÒ¡Òà 4


⌫⌫⌫⌫⌫ 
               


     

     

จากตอนที่แล้ว(ตอนที่5)ผู้เขียนได้นำเสนอเครื่องมือใน
การวิเคราะห์หาสาเหตุรากเหง้า (Root Cause) โดยใช้เครื่องมือ
คือแผนภูมิทำไม ทำไม (Why Why Chart) ในเล่มนี้ (ตอนที่ 6)
ผู้เขียนใคร่ขอแบ่งปันประสบการณ์ในการใช้เครื่องมืออีกชนิดหนึ่ง
ในการวิเคราะห์หาสาเหตุรากเหง้าของปัญหานั่นก็คือผังก้างปลา
(Fish Bone Diagram) ดังจะสรุปให้ต่อไปนี้
ก. แนวคิด (Concept)
1) แก้ปัญหาที่สาเหตุ (รากเหง้า)
2) มีความเป็นเหตุเป็นผล
3) สาเหตุนั้นต้องแก้ไขได้
ข. วิธีการ (Method)
1)ใช้การระดมสมองอย่างฟรีและอิสระ
2) บริหารด้วยข้อเท็จจริง (Management By Facts) โดย
หลักการของ 5G (5 จริง หรือ 5 GEN) คือ
1. Genba = สถานที่จริง
2. Genbutsu = ของจริง
3. Genjitsu = สถานการณ์จริง/ข้อมูลจริง
4. Genri = หลักการทางทฤษฎี
5. Gensoku = ระเบียบกฎเกณฑ์
3) 5 ทำไม (5 Why)
ค. เครื่องมือ (Tool) คือ
ผังก้างปลา (Fish Bone Diagram) หรือแผนผังสาเหตุ
และผล(CauseandEffectDiagram)หรือแผนผังอิชิกาว่า(Ishikawa
Diagram)ซึ่งก็คือเครื่องมือเดียวกันนั้นเอง
จะเห็นว่าผู้เขียนเน้นแนวคิดและวิธีการหลักๆ เหมือนกัน
กับแผนภูมิทำไม ทำไม (Why Why Chart) จะแตกต่างก็ตรงเป็น
เครื่องมือคนละชนิดเท่านั้น แต่การนำมาใช้และผลที่ได้ออกมาก็
ถือเป็นเครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์สาเหตุ (Cause Analysis)
MANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENT BEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICES  September - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - October
เพื่อให้ทราบหรือให้ได้สาเหตุรากเหง้า(RootCause)เพื่อการแก้ไข
และป้องกันปัญหาต่อไปเหมือนกัน ซึ่งผู้คิดค้นและพัฒนามา
ใช้คือ ศาสตราจารย์ ดร.คาโอรุ อิชิกาว่า (KAORU ISHIKAWA)
ผู้ซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็นบิดาคิวซีซี (QCC) ของประเทศ
ญี่ปุ่น และได้แพร่หลายและเกิดประโยชน์อย่างมากในการ
นำไปบริหารคุณภาพงานและคุณภาพชีวิตของมนุษย์มาจน
ถึงปัจจุบัน
แผนผังสาเหตุและผล/แผนผังอิชิกาว่า/ผังก้างปลา คืออะไร ?
“Cause and Effect Diagram : A Diagram which
shows the relation between a quality characteristic and fac-
tors” แปลว่า “แผนผังสาเหตุและผล : ผังที่แสดงความสัมพันธ์
ระหว่างคุณลักษณะทางคุณภาพกับปัจจัยต่างๆ(ที่เกี่ยวข้อง)”
“CauseandEffectDiagram:ADiagramthatshows
the systematic relationship between a fixed result and the
related causes” แปลว่า “แผนผังสาเหตุและผล : คือแผนผังที่
แสดงถึงความสัมพันธ์อย่างมีระบบระหว่างผลที่แน่นอนประการ
หนึ่งกับสาเหตุต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง”
รูปแบบ/โครงสร้าง เป็นอย่างไร ?
ดร.อิชิกาว่า เสนอว่ารูปแบบพื้นฐานของแผนผังสาเหตุ
และผลนี้มี 3ประการด้วยกันคือ
1.การวิเคราะห์การกระจาย(DispersionAnalysis)
2.การจำแนกตามกระบวนการผลิต
(Process Classification) และ
3. การกำหนดรายการสาเหตุ (Cause Enumeration)
จาก 3 รูปแบบนี้นำไปเขียนเป็นแผนผังได้อีกมากมาย
ซึ่งผู้เขียนไม่ขอแสดงรายละเอียดทั้งหมด แต่จะเสนอโครงสร้าง
โดยทั่วไปที่นิยมใช้กัน ซึ่งประกอบด้วยส่วนประกอบสำคัญ 2 ส่วน
คือ
1.ส่วนหัวปลาเป็นข้อสรุปผลของสาเหตุที่กลายเป็นตัว
ปัญหา
2.ส่วนโครงกระดูกและก้างปลาที่เป็นตัวปลา ซึ่งจะ
เป็นที่รวบรวมปัจจัยอันเป็นสาเหตุของปัญหาดังรูปที่1
ตามความนิยม : จะเขียนหัวปลาอยู่ทางขวามือ และตัว
ปลา(หางปลา)อยู่ทางซ้ายมือ
รูปที่ 1 โครงสร้างของผังก้างปลา
คุณสมบัติ/คุณลักษณะ/
ต่อปัญหาที่เกิดขึ้น
สาเหตุ
ผล
สาเหตุหลัก
สาเหตุย่อย
สาเหตุรอง
MANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENT BEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICES  September - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - October 20022002200220022002
33333
22222
11111
(อาจมีมากกว่าหรือน้อยกว่า 4 สาเหตุก็ได้)
ขั้นตอนการสร้างผังก้างปลา
สำหรับการค้นหาสาเหตุโดยทั่วไป จะมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
ขั้นที่ : กำหนดลักษณะคุณภาพที่เป็นปัญหาเป็นหัวปลา โดยนิยมเขียนไว้ทางขวามือ ดังนี้
กระดูกสันหลัง
หัวปลา
ขั้นที่ : เขียนสาเหตุหลักเติมลงบนกระดูกสันหลัง ทั้งบนและล่าง
ปัญหาหรือผล
ก้างปลา
สาเหตุหลัก
ขั้นที่ : เขียนก้างปลาจากซ้ายไปขวา โดยเริ่มจากกระดูกสันหลังก่อน
MANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENT BEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICES  September - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - October
66666
55555
44444
88888
77777
ขั้นที่ : ใส่ก้างรองและสาเหตุรองลงในก้างหลักของสาเหตุหลัก
ขั้นที่ : ใส่ก้างย่อยและสาเหตุย่อยลงไปในก้างรองไล่ต่อไปจนถึงสาเหตุรากเหง้า
ก้างรอง สาเหตุรอง
ขั้นที่ : พิจารณาทบทวนว่าการใส่ก้างปลาและสาเหตุเป็นไปตามหลักการและสัมพันธ์ตามระดับชั้น
หรือไม่ ถ้าไม่ก็ให้ใส่และเติมลงไปให้ครบถ้วน
ขั้นที่ : ใส่ความถี่ของปัญหา (หัวปลา) แล้วกระจายความถี่ลงไปแต่ละสาเหตุ (ก้างปลา) ให้ครบถ้วน
ถูกต้อง
ขั้นที่ : เติมชื่อของผังก้างปลาให้ถูกต้อง หรือประดับตกแต่งให้สวยงามน่าอ่านตลอดจนอ่านออก
และเข้าใจ พร้อมที่จะนำไปใช้วิเคราะห์หาสาเหตุรากเหง้าเพื่อนำไปสู่การแก้ไขและป้องกันปัญหาต่อไป
ก้างย่อย
สาเหตุรอง
สาเหตุย่อย 2
สาเหตุย่อย 1
MANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENT BEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICES  September - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - October 20022002200220022002
หมายเหตุ :ขั้นตอนการสร้างผังก้างปลานี้ผู้เขียนได้
กำหนดขึ้นมาเองเพื่อประโยชน์ในการถ่ายทอดและ
ฝึกฝนให้กับบุคลากรในองค์กรแห่งการเรียนรู้(Learn-
ingOrganization;LO)ในการบริหารคุณภาพทั่วทั้ง
องค์กร (Total Quality Management ; TQM) ที่ผ่าน
มาจนถึงปัจจุบัน
ก่อนจากกันในฉบับนี้ผู้เขียนใคร่ขอนำเสนอตัวอย่างของ
ผังก้างปลาในการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาที่คนไทยไม่
ค่อยตรงต่อเวลา ดังรูปที่ 2 เป็นตัวอย่างคร่าวๆ เพื่อการเรียนรู้
(โปรดอ่านต่อหน้าถัดไป)
“แล้วพบกันในฉบับหน้า
ตอนที่ 7 ครับ!!!”
จากประสบการณ์ตรงผู้เขียนขอยืนยันว่า
เครื่องมือในการวิเคราะห์หาสาเหตุรากเหง้า2ชนิดคือ
แผนภูมิทำไม ทำไม (Why Why Chart)
ซึ่งได้นำเสนอในเล่มที่แล้ว(ตอนที่5) และผังก้างปลา
(Fish Bone Diagram)ซึ่งนำเสนอในเล่มนี้(ตอนที่6)
นั้นก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ใช้ในแง่ที่ว่า
1) จะทำให้เป็นคนที่คิดกว้าง/ คิดไกล/
คิดให้รอบคอบ (Lateral Thinking/ Reflective
Thinking)
2) เป็นคนที่คิดอย่างมีเหตุมีผล (Logical
Thinking)
3) เป็นคนที่คิดอย่างเป็นระบบ(System-
atic Thinking)
4) ยอมรับฟังความคิดเห็นของคนอื่น/
เคารพในความเป็นมนุษย์ของคนอื่น(HumanRe-
spect)
5) แก้ไขและป้องกันปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลเต็มที่เนื่องจาก
แก้ปัญหาที่สาเหตุรากเหง้า (Root Cause)
.................... และอื่นๆ อีกมากมาย .................
1234567890123
12345678901231234567890123
1234567890123
1234567890123
12345678901231234567890123
1234567890123
1234567890123
1234567890123
Root CauseRoot CauseRoot CauseRoot CauseRoot Cause
Why WhyWhy WhyWhy WhyWhy WhyWhy Why
ChartChartChartChartChart
Fish BoneFish BoneFish BoneFish BoneFish Bone
DiagramDiagramDiagramDiagramDiagram
?????
MANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENT BEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICES  September - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - October
รูปที่2:ผังก้างปลาแสดงการวิเคราะห์ปัญหาที่คนไทยไม่ค่อยตรงเวลา(ยังลงรายละเอียดไม่ครบถ้วน)วิเคราะห์โดยนายพนพเกษามา
ไม่รู้เวลานัดหมาย
หลงลืม
ไม่มีการอบรม
หรือเรียนรู้
จงใจ/ประชดหลงลืม
ไม่ได้จัดทำกำหนดการ
ไม่มีผู้รับผิดชอบ
ไม่มีมาตรการป้องกันการหลงลืม
ไม่แจ้งล่วงหน้า
ไม่เห็นความจำเป็น
มีอคติ/ขัดแย้ง
เร่งรีบ
ขาดการวางแผนที่ดี
ค่านิยมที่ไม่ดี
ไม่ได้จัดทำ/จัดหา
ไม่มีงบประมาณ
ไม่มีผลกระทบต่อตนเอง
คนไทย
ไม่ค่อยตรงต่อ
เวลา
ไม่มีคนทำ
ไม่ได้จัดทำ
ไม่มีบทลงโทษ
ไม่มีการบอก/สอน
ไม่เห็นตัวอย่าง
ไม่ทราบความ
เดือดร้อน/เสียหาย
ไม่เห็นความสำคัญ/ประโยชน์ขาดการวางแผน/วินัยที่ดีค่านิยม/วัฒนธรรมไม่ดี
ไม่มีการฝึกฝน
มีการปลูกฝังที่ไม่ดี
ไม่เห็นความสำคัญ/จำเป็น

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีกราฟทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีกราฟNAMFON Supattra
 
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้างคู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้างSKETCHUP HOME
 
การแทรกรูปภาพ Powerpoint
การแทรกรูปภาพ Powerpointการแทรกรูปภาพ Powerpoint
การแทรกรูปภาพ PowerpointYotsaporn Rodmuang
 
Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14
Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14
Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14Utai Sukviwatsirikul
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นNattapon
 
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)Sasipa YAisong
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคMontra Songsee
 
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origamiIS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origamiเติ้ล ดาว'เหนือ
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นLtid_2017
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาUtai Sukviwatsirikul
 
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบniralai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6Khon Kaen University
 
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทยตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทยSKETCHUP HOME
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีAttachoke Putththai
 

What's hot (20)

ทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีกราฟทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีกราฟ
 
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้างคู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
 
การแทรกรูปภาพ Powerpoint
การแทรกรูปภาพ Powerpointการแทรกรูปภาพ Powerpoint
การแทรกรูปภาพ Powerpoint
 
Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14
Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14
Principles of Pharmacotherapy in Hypertension 56 01 14
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา (FISH BONE)
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
 
5 1
5 15 1
5 1
 
การทำแผ่นพับโดย Word
การทำแผ่นพับโดย Wordการทำแผ่นพับโดย Word
การทำแผ่นพับโดย Word
 
304
304304
304
 
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origamiIS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
 
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ
071พิษภัยของบุหรี่และวิธีเลิกสูบ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
 
Tekla
TeklaTekla
Tekla
 
Outline
OutlineOutline
Outline
 
สอบก่อนเรียน
สอบก่อนเรียนสอบก่อนเรียน
สอบก่อนเรียน
 
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทยตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชี
 

Viewers also liked

Fish bone diagram & 6 sigma for piper alpha accident
Fish  bone diagram & 6 sigma for piper alpha accidentFish  bone diagram & 6 sigma for piper alpha accident
Fish bone diagram & 6 sigma for piper alpha accidentAliff Sabri
 
002 iv3000-a5-score-vein-card
002 iv3000-a5-score-vein-card002 iv3000-a5-score-vein-card
002 iv3000-a5-score-vein-cardmandar haval
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลbenjalakpitayaschool
 
7 new qc tools ของ กลุ่ม ผักกาด
7 new qc tools ของ กลุ่ม ผักกาด7 new qc tools ของ กลุ่ม ผักกาด
7 new qc tools ของ กลุ่ม ผักกาดPG PukGuard'z
 
Competency training
Competency trainingCompetency training
Competency trainingwat_hr
 
8D Problem Solving - Automotive Industry
8D Problem Solving - Automotive Industry8D Problem Solving - Automotive Industry
8D Problem Solving - Automotive IndustryGestion Projet Auto
 
Peripheral IV Therapy
Peripheral IV TherapyPeripheral IV Therapy
Peripheral IV TherapyCathy Lewis
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันkrurutsamee
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพRonnarit Junsiri
 
Introduction to the Visual Infusion Phlebitis (VIP) score
Introduction to the Visual Infusion Phlebitis (VIP) scoreIntroduction to the Visual Infusion Phlebitis (VIP) score
Introduction to the Visual Infusion Phlebitis (VIP) scoreivteam
 
Fishbone style 2 powerpoint presentation templates
Fishbone style 2 powerpoint presentation templatesFishbone style 2 powerpoint presentation templates
Fishbone style 2 powerpoint presentation templatesSlideTeam.net
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพPrakob Chantarakamnerd
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)Suradet Sriangkoon
 
Iv fluid therapy (types, indications, doses calculation)
Iv fluid therapy (types, indications, doses calculation)Iv fluid therapy (types, indications, doses calculation)
Iv fluid therapy (types, indications, doses calculation)kholeif
 

Viewers also liked (20)

Fishbone
FishboneFishbone
Fishbone
 
7 QC Tools เทศบาล MBA # 3
7 QC Tools เทศบาล MBA # 37 QC Tools เทศบาล MBA # 3
7 QC Tools เทศบาล MBA # 3
 
Fish bone diagram & 6 sigma for piper alpha accident
Fish  bone diagram & 6 sigma for piper alpha accidentFish  bone diagram & 6 sigma for piper alpha accident
Fish bone diagram & 6 sigma for piper alpha accident
 
002 iv3000-a5-score-vein-card
002 iv3000-a5-score-vein-card002 iv3000-a5-score-vein-card
002 iv3000-a5-score-vein-card
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
 
ความสัมพันธ์601
ความสัมพันธ์601ความสัมพันธ์601
ความสัมพันธ์601
 
7 new qc tools ของ กลุ่ม ผักกาด
7 new qc tools ของ กลุ่ม ผักกาด7 new qc tools ของ กลุ่ม ผักกาด
7 new qc tools ของ กลุ่ม ผักกาด
 
Competency training
Competency trainingCompetency training
Competency training
 
8D Problem Solving - Automotive Industry
8D Problem Solving - Automotive Industry8D Problem Solving - Automotive Industry
8D Problem Solving - Automotive Industry
 
Tqm
TqmTqm
Tqm
 
Peripheral IV Therapy
Peripheral IV TherapyPeripheral IV Therapy
Peripheral IV Therapy
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
 
Introduction to the Visual Infusion Phlebitis (VIP) score
Introduction to the Visual Infusion Phlebitis (VIP) scoreIntroduction to the Visual Infusion Phlebitis (VIP) score
Introduction to the Visual Infusion Phlebitis (VIP) score
 
Fishbone style 2 powerpoint presentation templates
Fishbone style 2 powerpoint presentation templatesFishbone style 2 powerpoint presentation templates
Fishbone style 2 powerpoint presentation templates
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
Fish bone examples ppt
Fish bone examples pptFish bone examples ppt
Fish bone examples ppt
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
 
Iv fluid therapy (types, indications, doses calculation)
Iv fluid therapy (types, indications, doses calculation)Iv fluid therapy (types, indications, doses calculation)
Iv fluid therapy (types, indications, doses calculation)
 

More from Tulip Ruth

การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้Tulip Ruth
 
อยากเข้ารับราชการทำอย่างไร
อยากเข้ารับราชการทำอย่างไรอยากเข้ารับราชการทำอย่างไร
อยากเข้ารับราชการทำอย่างไรTulip Ruth
 
พรบ. การศึกษาแห่งชาติ 2542
พรบ. การศึกษาแห่งชาติ 2542พรบ. การศึกษาแห่งชาติ 2542
พรบ. การศึกษาแห่งชาติ 2542Tulip Ruth
 
Magic of Jasmine flower.
Magic of Jasmine flower.Magic of Jasmine flower.
Magic of Jasmine flower.Tulip Ruth
 

More from Tulip Ruth (6)

Idiom
IdiomIdiom
Idiom
 
การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
การใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
 
อยากเข้ารับราชการทำอย่างไร
อยากเข้ารับราชการทำอย่างไรอยากเข้ารับราชการทำอย่างไร
อยากเข้ารับราชการทำอย่างไร
 
พรบ. การศึกษาแห่งชาติ 2542
พรบ. การศึกษาแห่งชาติ 2542พรบ. การศึกษาแห่งชาติ 2542
พรบ. การศึกษาแห่งชาติ 2542
 
Windows gui2
Windows gui2Windows gui2
Windows gui2
 
Magic of Jasmine flower.
Magic of Jasmine flower.Magic of Jasmine flower.
Magic of Jasmine flower.
 

Fish Bone Diagram.

  • 1. MANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENT BEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICES  September - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - October 20022002200220022002 º·¤ÇÒÁÇÔªÒ¡Òà 4   ⌫⌫⌫⌫⌫                                  จากตอนที่แล้ว(ตอนที่5)ผู้เขียนได้นำเสนอเครื่องมือใน การวิเคราะห์หาสาเหตุรากเหง้า (Root Cause) โดยใช้เครื่องมือ คือแผนภูมิทำไม ทำไม (Why Why Chart) ในเล่มนี้ (ตอนที่ 6) ผู้เขียนใคร่ขอแบ่งปันประสบการณ์ในการใช้เครื่องมืออีกชนิดหนึ่ง ในการวิเคราะห์หาสาเหตุรากเหง้าของปัญหานั่นก็คือผังก้างปลา (Fish Bone Diagram) ดังจะสรุปให้ต่อไปนี้ ก. แนวคิด (Concept) 1) แก้ปัญหาที่สาเหตุ (รากเหง้า) 2) มีความเป็นเหตุเป็นผล 3) สาเหตุนั้นต้องแก้ไขได้ ข. วิธีการ (Method) 1)ใช้การระดมสมองอย่างฟรีและอิสระ 2) บริหารด้วยข้อเท็จจริง (Management By Facts) โดย หลักการของ 5G (5 จริง หรือ 5 GEN) คือ 1. Genba = สถานที่จริง 2. Genbutsu = ของจริง 3. Genjitsu = สถานการณ์จริง/ข้อมูลจริง 4. Genri = หลักการทางทฤษฎี 5. Gensoku = ระเบียบกฎเกณฑ์ 3) 5 ทำไม (5 Why) ค. เครื่องมือ (Tool) คือ ผังก้างปลา (Fish Bone Diagram) หรือแผนผังสาเหตุ และผล(CauseandEffectDiagram)หรือแผนผังอิชิกาว่า(Ishikawa Diagram)ซึ่งก็คือเครื่องมือเดียวกันนั้นเอง จะเห็นว่าผู้เขียนเน้นแนวคิดและวิธีการหลักๆ เหมือนกัน กับแผนภูมิทำไม ทำไม (Why Why Chart) จะแตกต่างก็ตรงเป็น เครื่องมือคนละชนิดเท่านั้น แต่การนำมาใช้และผลที่ได้ออกมาก็ ถือเป็นเครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์สาเหตุ (Cause Analysis)
  • 2. MANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENT BEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICES  September - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - October เพื่อให้ทราบหรือให้ได้สาเหตุรากเหง้า(RootCause)เพื่อการแก้ไข และป้องกันปัญหาต่อไปเหมือนกัน ซึ่งผู้คิดค้นและพัฒนามา ใช้คือ ศาสตราจารย์ ดร.คาโอรุ อิชิกาว่า (KAORU ISHIKAWA) ผู้ซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็นบิดาคิวซีซี (QCC) ของประเทศ ญี่ปุ่น และได้แพร่หลายและเกิดประโยชน์อย่างมากในการ นำไปบริหารคุณภาพงานและคุณภาพชีวิตของมนุษย์มาจน ถึงปัจจุบัน แผนผังสาเหตุและผล/แผนผังอิชิกาว่า/ผังก้างปลา คืออะไร ? “Cause and Effect Diagram : A Diagram which shows the relation between a quality characteristic and fac- tors” แปลว่า “แผนผังสาเหตุและผล : ผังที่แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างคุณลักษณะทางคุณภาพกับปัจจัยต่างๆ(ที่เกี่ยวข้อง)” “CauseandEffectDiagram:ADiagramthatshows the systematic relationship between a fixed result and the related causes” แปลว่า “แผนผังสาเหตุและผล : คือแผนผังที่ แสดงถึงความสัมพันธ์อย่างมีระบบระหว่างผลที่แน่นอนประการ หนึ่งกับสาเหตุต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง” รูปแบบ/โครงสร้าง เป็นอย่างไร ? ดร.อิชิกาว่า เสนอว่ารูปแบบพื้นฐานของแผนผังสาเหตุ และผลนี้มี 3ประการด้วยกันคือ 1.การวิเคราะห์การกระจาย(DispersionAnalysis) 2.การจำแนกตามกระบวนการผลิต (Process Classification) และ 3. การกำหนดรายการสาเหตุ (Cause Enumeration) จาก 3 รูปแบบนี้นำไปเขียนเป็นแผนผังได้อีกมากมาย ซึ่งผู้เขียนไม่ขอแสดงรายละเอียดทั้งหมด แต่จะเสนอโครงสร้าง โดยทั่วไปที่นิยมใช้กัน ซึ่งประกอบด้วยส่วนประกอบสำคัญ 2 ส่วน คือ 1.ส่วนหัวปลาเป็นข้อสรุปผลของสาเหตุที่กลายเป็นตัว ปัญหา 2.ส่วนโครงกระดูกและก้างปลาที่เป็นตัวปลา ซึ่งจะ เป็นที่รวบรวมปัจจัยอันเป็นสาเหตุของปัญหาดังรูปที่1 ตามความนิยม : จะเขียนหัวปลาอยู่ทางขวามือ และตัว ปลา(หางปลา)อยู่ทางซ้ายมือ รูปที่ 1 โครงสร้างของผังก้างปลา คุณสมบัติ/คุณลักษณะ/ ต่อปัญหาที่เกิดขึ้น สาเหตุ ผล สาเหตุหลัก สาเหตุย่อย สาเหตุรอง
  • 3. MANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENT BEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICES  September - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - October 20022002200220022002 33333 22222 11111 (อาจมีมากกว่าหรือน้อยกว่า 4 สาเหตุก็ได้) ขั้นตอนการสร้างผังก้างปลา สำหรับการค้นหาสาเหตุโดยทั่วไป จะมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ ขั้นที่ : กำหนดลักษณะคุณภาพที่เป็นปัญหาเป็นหัวปลา โดยนิยมเขียนไว้ทางขวามือ ดังนี้ กระดูกสันหลัง หัวปลา ขั้นที่ : เขียนสาเหตุหลักเติมลงบนกระดูกสันหลัง ทั้งบนและล่าง ปัญหาหรือผล ก้างปลา สาเหตุหลัก ขั้นที่ : เขียนก้างปลาจากซ้ายไปขวา โดยเริ่มจากกระดูกสันหลังก่อน
  • 4. MANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENT BEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICES  September - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - October 66666 55555 44444 88888 77777 ขั้นที่ : ใส่ก้างรองและสาเหตุรองลงในก้างหลักของสาเหตุหลัก ขั้นที่ : ใส่ก้างย่อยและสาเหตุย่อยลงไปในก้างรองไล่ต่อไปจนถึงสาเหตุรากเหง้า ก้างรอง สาเหตุรอง ขั้นที่ : พิจารณาทบทวนว่าการใส่ก้างปลาและสาเหตุเป็นไปตามหลักการและสัมพันธ์ตามระดับชั้น หรือไม่ ถ้าไม่ก็ให้ใส่และเติมลงไปให้ครบถ้วน ขั้นที่ : ใส่ความถี่ของปัญหา (หัวปลา) แล้วกระจายความถี่ลงไปแต่ละสาเหตุ (ก้างปลา) ให้ครบถ้วน ถูกต้อง ขั้นที่ : เติมชื่อของผังก้างปลาให้ถูกต้อง หรือประดับตกแต่งให้สวยงามน่าอ่านตลอดจนอ่านออก และเข้าใจ พร้อมที่จะนำไปใช้วิเคราะห์หาสาเหตุรากเหง้าเพื่อนำไปสู่การแก้ไขและป้องกันปัญหาต่อไป ก้างย่อย สาเหตุรอง สาเหตุย่อย 2 สาเหตุย่อย 1
  • 5. MANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENT BEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICES  September - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - October 20022002200220022002 หมายเหตุ :ขั้นตอนการสร้างผังก้างปลานี้ผู้เขียนได้ กำหนดขึ้นมาเองเพื่อประโยชน์ในการถ่ายทอดและ ฝึกฝนให้กับบุคลากรในองค์กรแห่งการเรียนรู้(Learn- ingOrganization;LO)ในการบริหารคุณภาพทั่วทั้ง องค์กร (Total Quality Management ; TQM) ที่ผ่าน มาจนถึงปัจจุบัน ก่อนจากกันในฉบับนี้ผู้เขียนใคร่ขอนำเสนอตัวอย่างของ ผังก้างปลาในการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาที่คนไทยไม่ ค่อยตรงต่อเวลา ดังรูปที่ 2 เป็นตัวอย่างคร่าวๆ เพื่อการเรียนรู้ (โปรดอ่านต่อหน้าถัดไป) “แล้วพบกันในฉบับหน้า ตอนที่ 7 ครับ!!!” จากประสบการณ์ตรงผู้เขียนขอยืนยันว่า เครื่องมือในการวิเคราะห์หาสาเหตุรากเหง้า2ชนิดคือ แผนภูมิทำไม ทำไม (Why Why Chart) ซึ่งได้นำเสนอในเล่มที่แล้ว(ตอนที่5) และผังก้างปลา (Fish Bone Diagram)ซึ่งนำเสนอในเล่มนี้(ตอนที่6) นั้นก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ใช้ในแง่ที่ว่า 1) จะทำให้เป็นคนที่คิดกว้าง/ คิดไกล/ คิดให้รอบคอบ (Lateral Thinking/ Reflective Thinking) 2) เป็นคนที่คิดอย่างมีเหตุมีผล (Logical Thinking) 3) เป็นคนที่คิดอย่างเป็นระบบ(System- atic Thinking) 4) ยอมรับฟังความคิดเห็นของคนอื่น/ เคารพในความเป็นมนุษย์ของคนอื่น(HumanRe- spect) 5) แก้ไขและป้องกันปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลเต็มที่เนื่องจาก แก้ปัญหาที่สาเหตุรากเหง้า (Root Cause) .................... และอื่นๆ อีกมากมาย ................. 1234567890123 12345678901231234567890123 1234567890123 1234567890123 12345678901231234567890123 1234567890123 1234567890123 1234567890123 Root CauseRoot CauseRoot CauseRoot CauseRoot Cause Why WhyWhy WhyWhy WhyWhy WhyWhy Why ChartChartChartChartChart Fish BoneFish BoneFish BoneFish BoneFish Bone DiagramDiagramDiagramDiagramDiagram ?????
  • 6. MANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENTMANAGEMENT BEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICESBEST PRACTICES  September - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - OctoberSeptember - October รูปที่2:ผังก้างปลาแสดงการวิเคราะห์ปัญหาที่คนไทยไม่ค่อยตรงเวลา(ยังลงรายละเอียดไม่ครบถ้วน)วิเคราะห์โดยนายพนพเกษามา ไม่รู้เวลานัดหมาย หลงลืม ไม่มีการอบรม หรือเรียนรู้ จงใจ/ประชดหลงลืม ไม่ได้จัดทำกำหนดการ ไม่มีผู้รับผิดชอบ ไม่มีมาตรการป้องกันการหลงลืม ไม่แจ้งล่วงหน้า ไม่เห็นความจำเป็น มีอคติ/ขัดแย้ง เร่งรีบ ขาดการวางแผนที่ดี ค่านิยมที่ไม่ดี ไม่ได้จัดทำ/จัดหา ไม่มีงบประมาณ ไม่มีผลกระทบต่อตนเอง คนไทย ไม่ค่อยตรงต่อ เวลา ไม่มีคนทำ ไม่ได้จัดทำ ไม่มีบทลงโทษ ไม่มีการบอก/สอน ไม่เห็นตัวอย่าง ไม่ทราบความ เดือดร้อน/เสียหาย ไม่เห็นความสำคัญ/ประโยชน์ขาดการวางแผน/วินัยที่ดีค่านิยม/วัฒนธรรมไม่ดี ไม่มีการฝึกฝน มีการปลูกฝังที่ไม่ดี ไม่เห็นความสำคัญ/จำเป็น