SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1 
 
การทํางานวิจัยสําหรับชั้นเรียนขนาดใหญ่: การพัฒนาทักษะการเขียนของนักศึกษาแบบร่วมมือกัน
(A Peer-Reviewed Research Assignment for Large Classes:
Honing Students’ Writing Skills in a Collaborative Endeavor)
LaRhee Henderson, Associate Professor of Chemistry, and
Charisse Buising, Associate Professor of Biology, Drake University
การเขียนเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ที่มีคุณค่าอย่างยิ่ง การเขียนต้องเกิดจากความเข้าใจหรือการมีส่วนร่วมในเรื่องนั้นๆ เป็น
อย่างดี หรือเกิดจากได้เรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รวมถึงได้เรียนรู้เกี่ยวกับทักษะการเขียนที่ดี นอกจากนี้ ผู้เรียนจะต้องได้รับ
พัฒนาทักษะอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น วิธีการค้นคว้างานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การอ่านงานวิจัย การประเมินคุณค่าของเอกสาร การสร้างความ
เชื่อมโยงระหว่างข้อมูลแต่ละชิ้นที่ได้รับเพื่อสร้างเนื้อหาที่กว้างขวางขึ้น และมีความสอดคล้องกันมากขึ้น
อย่างไรก็ดี การเขียนรายงานของนักศึกษาในชั้นเรียนขนาดใหญ่ก่อให้เกิดปัญหาขึ้น เนื่องจากอาจารย์ที่สอนวิชา
วิทยาศาสตร์ในชั้นเรียนขนาดใหญ่ต้องรับภาระหนักในการตรวจให้คะแนนการบ้าน และข้อสอบของนักศึกษา จึงไม่มีเวลาสําหรับ
การช่วยเหลือนักศึกษาและการให้คะแนนสําหรับการเขียนรายงานประเภทรายงานการวิจัย เราแก้ปัญหานี้โดยพัฒนาแบบฝึกหัด
(exercise) สําหรับการเขียนซึ่งนักศึกษาต้องทํางานร่วมกันเป็นกลุ่ม และถูกประเมินโดยกลุ่มเพื่อนซึ่งเป็นการทํางานในลักษณะ
เดียวกับงานของนักวิทยาศาสตร์มืออาชีพ
การทํางานร่วมกัน และการวิจารณ์รายงานของเพื่อน
การปฏิบัติแบบนักวิทยาศาสตร์ โดยปกติเราจะเขียนข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนวิจัย เขียนบทความ และนําเสนอ
ผลงานในลักษณะที่เป็นการทํางานร่วมกันเป็นกลุ่ม เมื่อเราต้องเขียนงานร่วมกัน เรามักจะแบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วนๆ และแยกกัน
ทํา ซึ่งผลงานเหล่านี้จะถูกนํามารวมกันเป็นผลงานในขั้นสุดท้าย ในวิชานี้เราจึงให้นักศึกษาทําเช่นเดียวกันกับกระบวนการที่
นักวิทยาศาสตร์ทํา
ในการเริ่มกระบวนการ เราแบ่งนักศึกษาวิชาชีวเคมี ซึ่งมีจํานวน 150 คนในชั้นเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3-5 คน
จากนั้นให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวข้องานวิจัย 1 หัวข้อจากที่มีอยู่ทั้งหมด 13 หัวข้อ โดยจะมี 2-3 กลุ่มที่เลือกหัวข้อเดียวกัน หัวข้อ
ดังกล่าวเป็น กรณีศึกษา (Case Study) ซึ่งประกอบด้วย molecular of fructose intolerance, hyperlipidemia type I,
myocardial infarction, cholera, Ehlers-Danlos syndrome, rheumatoid arthritis, และ hypothyroidism
หลังจากที่เลือกหัวข้อแล้ว แต่ละกลุ่มแบ่งงานระหว่างสมาชิกกลุ่ม ตัวอย่างเช่น นักศึกษาอาจจะแบ่งรายงานเกี่ยวกับ
Parkinson’s disease ออกเป็น (1) dopamine and its role in neurotransmission (2) current theories on the causes
of the disease (3) current treatments of the disease and their molecular basis และ (4) interviews with local
health professionals, friends, or family with personal experiences with the disease
2 
 
ภาพที 1 เกณฑ์การประเมินรายงานวิจัยโดยกลุ่มเพือน
จงให ้คะแนนตามเกณฑ์ทีอธิบายไว ้ด ้านล่าง คะแนนทีกําหนดไว ้เป็นแนวทางเท่านัน ท่านอาจจะได ้คะแนน
แต่ละหมวดทีต่างจากนีได ้ ในการให ้ประเมินครังสุดท ้ายโปรดให ้คะแนนทีสอดคล ้องกับเกณฑ์ต่อไปนี: F:
รายงานวิจัยไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพขันตํา D: รายงานวิจัยตรงกับเกณฑ์บางส่วนแต่ยังไม่ถึงระดับทีคาดหวัง
C: รายงานวิจัยมีคุณภาพเพียงพอตามเกณฑ์ ประกอบด ้วยส่วนทีต ้องการทังหมด มีการนําเสนออย่าง
ชัดเจน การจัดระเบียบดี และเขียนได ้ดี B: เนือหารายงานเป็ นไปตามเกณฑ์ และมีคุณภาพในด ้าน
ความคิดสร ้างสรรค์ การวิจัยเพิมเติม หรือการปรับปรุงอืนๆ ผู ้วิจัยนําเสนอข ้อมูลต่างๆ ทีได ้รวบรวมไว ้ให ้
เห็นความเชือมโยงได ้อย่างชัดเจน และแสดงให ้เห็นถึงความเข ้าใจในข ้อมูลทีได ้รวบรวมมา A: รายงาน
การวิจัยมีคุณภาพตามเกณฑ์และเกินกว่าทีคาดหวัง โดยแสดงให ้เห็นถึงความคิดริเริม ความคิดสร ้างสรรค์
ความลึกของการศึกษาวิจัย และความคิดของผู ้วิจัยทีเติบโตขึนอย่างชัดเจนในระหว่างทีทําการศึกษา
งานวิจัยนี (กล่าวคือ ผู ้วิจัยก ้าวไปไกลกว่า การนําข ้อมูลทีรวบรวมได ้มาเรียบเรียงขึนใหม่อย่างง่ายๆ)
เกณฑ์ F (0-
50%)
D
(65%)
C
(75%)
B
(85%)
A
(95%)
Points
การค ้นคว ้ามาอย่างดี (20 คะแนน)
การอ ้างอิงทีมีคุณภาพ (อ ้างอิงวารสารที
ได ้รับการยอมรับ และเป็นปัจจุบัน)
แสดงให ้เห็นถึงความหลากหลาย (เช่น
วารสาร ตํารา การติดต่อบุคคล)
ยืนยันประเด็นของผู ้วิจัย
การเขียนทีดี (30 คะแนน)
ใช ้ไวยากรณ์ถูกต ้อง อ่านง่าย เข ้าใจง่าย
และมีการจัดลําดับทีดี
ภาพประกอบช่วยส่งเสริมเนือหา
มีการอ ้างอิงอย่างเหมาะสม
ไม่ได ้ทําการคัดลอกเนือหาของผู้อืน (ลีลา
การเขียนและคําศัพท์เป็นไปตามระดับของ
นักศึกษา
ความเป็นวิทยาศาสตร์ (40 คะแนน)
มีการกล่าวถึงปัญหาทางวิทยาศาสตร์อย่าง
ชัดเจน
รายงานวิจัยเน้นที molecular
(ทําการศึกษาเกียวกับ molecular ในเชิง
ลึกอย่างน้อย 1 หัวข ้อ)
เรืองกระบวนการทํางานของอวัยวะ
วิทยาศาสตร์ถูกต ้อง (ยืนยันโดยการอ ้างอิง
ทีเหมาะสม)
อืนๆ (10 คะแนน)
มีปรับปรุงให ้ดีขันอย่างสร ้างสรรค์ (เช่น
การแสดงตัวอย่าง การสัมภาษณ์ รูปภาพ
testimonial)
คะแนนรวม
การให ้เหตุผลของการประเมินโดยย่อ
3 
 
ในแต่ละกลุ่ม นักศึกษาจะร่วมมือกันในการทําร่างรายงานการวิจัย ดังนั้น นักศึกษาแต่ละคนจะต้องทํางานในส่วนของ
ตนเอง และกลุ่มจะมีส่วนร่วมกันในผลงานสุดท้าย ในตอนกลางเทอมนักศึกษาทุกกลุ่มจะต้องทําร่างรายงานการวิจัยให้เสร็จ และ
แลกกับกลุ่มอื่นที่เลือกศึกษาในหัวข้อเดียวกัน เพื่อให้เพื่อนกลุ่มนั้นเป็นผู้ประเมินผล สมาชิกแต่ละคนของกลุ่มจะทําการประเมิน
รายงานดังกล่าวให้เสร็จเรียบร้อย อาจารย์จะทําหน้าที่ประเมินร่างรายงานวิจัยนี้ด้วย
ถึงแม้ว่า นักศึกษาจะมีอิสระในการทํารายงาน แต่เราได้เตรียมเกณฑ์การให้คะแนนสําหรับการกระทําตามที่คาดหวังไว้
แล้ว (ภาพที่ 1) ทั้งนักศึกษาและอาจารย์จะต้องใช้เกณฑ์ดังกล่าวนี้ในการประเมินรายงานการวิจัย เกณฑ์จะถูกตีความแตกต่างกัน
ไปตามประสบการณ์และตําแหน่งของกลุ่มเพื่อนและอาจารย์ ดังนั้น เกณฑ์การให้คะแนนจึงมีความยืดหยุ่น แต่มีกรอบเพื่อเป็นการ
ให้แนวทางแก่นักศึกษาในการทําร่างรายงานการวิจัยและในการประเมินซึ่งกันและกัน
นักศึกษามีเวลา 1 สัปดาห์ในการประเมินร่างรายงานของกันและกัน พร้อมทั้งเขียนความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
หลังจากนั้น นักศึกษาแต่ละกลุ่มมีเวลา 2 สัปดาห์ในการแก้ไขร่างตามข้อเสนอแนะที่ได้รับ และส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ของกลุ่ม
ให้นักศึกษากลุ่มที่ศึกษาหัวข้อเดียวกันแลกรายงานฉบับสมบูรณ์ และทําการประเมินตามเกณฑ์ที่ให้ไว้ (ภาพที่ 1)
เนื่องจากนักศึกษาได้ทําการศึกษาวิจัยในหัวข้อเดียวกัน แต่ละกลุ่มจึงควรได้รับการยอมรับว่ามีคุณสมบัติในการที่จะประเมิน
รายงานวิจัยที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองได้ศึกษามา ในท้ายที่สุด รายงานวิจัยแต่ละฉบับจะได้รับการประเมินโดยเพื่อน 2 ครั้ง
นักศึกษามีเวลาสําหรับการประเมินรายงานฉบับสมบูรณ์ 1 สัปดาห์
กระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์
นักศึกษาแต่ละกลุ่มโพสท์รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ขึ้นกระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ทุกคนเข้าถึงได้ง่าย ผู้ที่เข้ามา
อ่านรายงานการวิจัยดังกล่าวสามารถแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะ ซึ่งจะทําให้นักศึกษาทั้งชั้นเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับทุก
หัวข้อ และทําให้นักศึกษาได้รับความเห็นที่มีคุณค่า ให้คําแนะนําที่ปราศจากอคติ ก่อนที่จะเริ่มนําเสนอด้วยโปสเตอร์ ผู้ที่เข้ามาอ่าน
รายงานการวิจัยจะได้รับข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อทั้งหมดที่ทั้งชั้นกําลังวิจัยอยู่ รวมทั้งได้อ่านเนื้อหาในเชิงลึก นอกจากนั้น นักศึกษา
อาจจะแขวนรายงานการวิจัยดังกล่าวไว้บนกระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ชั้นเรียนต่อไปได้เข้ามาอ่านเป็นตัวอย่างของการ
ทํางานที่ผ่านมา
การแสดงโปสเตอร์
เมื่อนักศึกษาทุกกลุ่มทํารายงานฉบับสมบูรณ์เสร็จแล้ว นักศึกษาที่ทําวิจัยหัวข้อเดียวกันจะต้องร่วมกันนําเสนอต่อ
สาธารณะในรูปแบบอื่นอีกด้วย คือ การแสดงโปสเตอร์ กิจกรรมนี้ทําให้เกิดความสมดุลระหว่างการแข่งขันและความร่วมมือในการ
ทําแบบฝึกหัด นักศึกษาสามารถอภิปรายเพื่อแก้ไขและปรับปรุงรายงานของตนเองเพื่อช่วยในการตรวจสอบผลงานที่จะนําเสนอใน
ขั้นตอนสุดท้าย
4 
 
โปสเตอร์จะถูกจัดตั้งไว้ที่ห้องทดลองปฏิบัติการและเปิดให้สาธารณะเข้าชม 2-3 วัน นักศึกษาที่เป็นผู้นําเสนอจะประจํา
อยู่ข้างโปสเตอร์ของตนตามเวลาเพื่อตอบคําถาม นักศึกษาทั้งหมดในชั้นเรียนจะต้องเข้าดูการแสดงโปสเตอร์ดังกล่าวและทําการ
ประเมินผลโปสเตอร์ของแต่ละกลุ่มโดยใช้เกณฑ์ที่เราได้แจกให้ล่วงหน้าแล้ว (ภาพที่ 2) ด้วยวิธีการดังกล่าว นักศึกษาทุกคนในชั้น
จะได้เรียนรู้เกี่ยวกับหัวข้อวิจัยที่ทุกกลุ่มได้ทําการศึกษา
การให้คะแนน
การให้คะแนนครั้งสุดท้ายของนักศึกษาสะท้อนองค์ประกอบ 3 ประการคือ รายงานวิจัย โปสเตอร์ (งานทั้งสองอย่าง
ขึ้นอยู่กับคะแนนของอาจารย์ และคะแนนที่ประเมินโดยเพื่อน) และคะแนนที่อาจารย์ให้กับการประเมินเพื่อนของนักศึกษา
(นักศึกษาสามารถประเมินรายงานการวิจัยของเพื่อนกลุ่มอื่นได้ดีเพียงไร)
การประเมินโดยเพื่อน
บ่อยครั้งที่นักศึกษาไม่สบายใจที่ต้องประเมินเพื่อน และมักจะขออนุญาตที่จะให้คะแนนต่ํากว่า นอกจากนี้ นักศึกษามัก
ไม่เต็มใจที่จะยอมรับการวิจารณ์จากเพื่อนและมาบ่นกับอาจารย์เกี่ยวกับการประเมินโดยเพื่อน โดยทั่วไป นักศึกษาหวังว่าจะได้รับ
คะแนนที่ดีเยี่ยมในการทํารายงานตามที่อาจารย์สั่ง แต่เมื่อได้รับการตัดสินในทางลบจากเพื่อน ก็จะรู้สึกว่า เป็นเรื่องยากที่จะ
ยอมรับได้
ด้วยเหตุดังกล่าว เราจึงใช้ตารางเกณฑ์การให้คะแนน เพื่อประโยชน์ในการลดสิ่งที่เป็นอัตวิสัย (subjectivity) ออกจาก
กระบวนการ และให้คะแนนคุณภาพของการประเมินเพื่อนของนักศึกษาแต่ละคน นักศึกษาจะระมัดระวังมากขึ้นเมื่อรู้ว่า ความ
คิดเห็นของตนเองจะมีผลต่อคะแนนของคนอื่น และความเป็นเหตุเป็นผลของการแสดงความคิดเห็นต่องานของคนอื่นจะมีผลต่อ
คะแนนของตนเอง
การประเมินภายในกลุ่ม
เราไม่ต้องการมีส่วนในการกําหนดการทํางานภายในกลุ่ม แต่ต้องการความชัดเจนว่า สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มมีส่วนร่วม
ในการทํางานตามที่เราคาดหวัง เราทําเช่นนี้ผ่านการสอนในชั้นเรียน รวมทั้งผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงานของเพื่อนภายใน
กลุ่มโดยดําเนินการเป็นระยะๆ ตลอดภาคการศึกษา และใช้เครื่องมือการประเมินที่ระบุลักษณะของการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับ
ช่วงคะแนน 1 ถึง 8 นักศึกษาประเมินสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มของตนเองโดยให้คะแนนที่เป็นตัวเลข และโดยการเขียนความคิดเห็น
(ภาพที่ 3) อาจารย์ใช้ผลการประเมินภายในกลุ่มเป็นส่วนหนึ่งของการพิจารณาเมื่อจะประเมินองค์ประกอบของผลการเรียนของ
นักศึกษา
เราเก็บการประเมินผลของแต่ละคนไว้เป็นความลับ แต่ให้บทสรุปของการประเมินกับนักศึกษา และเนื่องจากสมาชิกกลุ่ม
ประเมินผลการปฏิบัติงานของแต่ละคนในกลุ่มจากการทําแบบฝึกหัดร่วมกัน เราจึงสามารถทราบได้ว่า นักศึกษาคนใดมีบทบาท
5 
 
เป็นผู้นํากลุ่ม (และคนใดที่ไม่ได้ทํางานในส่วนของตนเอง) นอกจากนี้ จากการที่นักศึกษารู้ว่าตนเองถูกประเมินโดยเพื่อนในกลุ่มทํา
ให้นักศึกษารู้ว่า จะต้องมีความรับผิดชอบต่อกันและกัน
ภาพที 2: เกณฑ์การประเมินโดยเพือนในการนําเสนอโปสเตอร์
โปรดประเมินการแสดงโปสเตอร์ของกลุ่มอืนๆ ตามเกณฑ์การประเมินต่อไปนี:
1. ภาพลักษณ์โดยรวมและ รูปแบบ
เกณฑ์: อ่านง่าย, มีระเบียบแบบแผน, เข ้าถึงข ้อมูลได ้ง่าย ดึงดูดใจ
การให ้คะแนน: สูงกว่าเกณฑ์ทังหมดอย่างมีความคิดสร ้างสรรค์และเป็นต ้นแบบ = 15 points;
เป็นไปตามเกณฑ์ทังหมด = 10 คะแนน
มีบางส่วนทีไม่เป็นไปตามเกณฑ์ = 5-8 คะแนน
ความคิดเห็น:
2. เนือหา
เกณฑ์: บทคัดย่อ: สรุปส่วนสําคัญของรายงานโดยย่อ กรณีศึกษา: นําเสนอกรณีตัวอย่างในรูปแบบที
ทําให ้ผู้อ่านทราบถึงปัญหาและทีมาของปัญหาได ้อย่างรวดเร็ว ภูมิหลัง: อธิบายหลักการของโมเลกุล
ทีเกียวกับปัญหานันโดยย่อ การวิจัย: จัดทําเค ้าโครงแสดงความคิดปัจจุบันบนพืนฐานของปัญหาและ
อาการทีเกียวข ้องระดับโมเลกุลทีชัดเจน ขอบเขตและจุดเน้น: concept พืนฐานของชีวเคมีถูกนําเสนอ
ตลอดรายงานเพือเชือมโยงกับสาเหตุของโรค อาการ และการรักษา ขอบเขตของรายงานการวิจัยมี
ความเหมาะสมและระบุชัดเจน
การให ้คะแนน: สูงกว่าเกณฑ์ทังหมดอย่างมีความคิดสร ้างสรรค์และเป็นต ้นแบบ = 60-70 points;
เป็นไปตามเกณฑ์ทังหมด = 50-60 คะแนน
มีบางส่วนทีไม่เป็นไปตามเกณฑ์ = 40-50 คะแนน
ส่วนใหญ่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ = 30-40 คะแนน
ความคิดเห็น:
3. การนําเสนอของนักศึกษา
เกณฑ์: นําเสนออย่างมืออาชีพ มีความกระตือรือร ้น มีความรู้ดี และสามารถสือสารโครงการและ
ผลงานได ้อย่างชัดเจน
การให ้คะแนน: สูงกว่าเกณฑ์ทังหมดอย่างมีความคิดสร ้างสรรค์และเป็นต ้นแบบ = 15 points;
เป็นไปตามเกณฑ์ทังหมด = 10 คะแนน
มีบางส่วนทีไม่เป็นไปตามเกณฑ์ = 5-8 คะแนน
ความคิดเห็น:
6 
 
ภาพที 3 เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติงานของเพือนภายในกลุ่ม
  โปรดประเมิน สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มของท่านในด ้านการมีส่วนร่วมในการทํางานทีได ้รับ
มอบหมายตามสเกลต่อไปนี ผลการประเมินของแต่ละคนจะถูกเก็บเป็นความลับ แต่ผลสรุปของ
การประเมินของกลุ่มเกียวกับการมีส่วนร่วมของแต่ละคนจะถูกส่งให ้กับบุคคลนัน การประเมิน
ของนักศึกษาแต่ละคนจะถูกนํามาพิจารณาในกระบวนการให ้คะแนน ดังนัน จึงควรระมัดระวังใน
การเสนอความคิดเห็น และควรให ้เหตุผลสนับสนุนการประเมินของตนเอง
8 มีส่วนร่วมอย่างเต็มที (ขยายขอบเขตการเรียนรู้สําหรับตนเองและคนอืน) : ทํางานในส่วนที
ได ้รับมอบหมายและประสบความสําเร็จอย่างดี มีความคิดริเริมทีทําให ้การทําโครงการมีคุณภาพ
อย่างมีนัยสําคัญ มีบทบาทในการเป็นผู้นําโครงการ ช่วยทําให ้ทุกคนเกิดความเข ้าใจและปฏิบัติ
ได ้เป็นอย่างดี
7 มีส่วนร่วมอย่างเต็มที (ขยายขอบเขตการเรียนรู้สําหรับตนเอง) : ทํางานในส่วนทีได ้รับ
มอบหมายและประสบความสําเร็จอย่างดี มีความคิดริเริมทีทําให ้การทําโครงการมีคุณภาพอย่าง
มีนัยสําคัญ
6 มีส่วนร่วมอย่างเต็มที (เข ้าใจแนวคิด ( concept) พืนฐาน): ทํางานในส่วนทีได ้รับมอบหมาย
อย่างอิสระ เชือถือได ้และทําอย่างมีความรับผิดชอบ ทําผลงานทีมีคุณค่าให ้กับโครงการใน
ฐานะทีเป็นสมาชิกคนหนึงของทีมวิจัยโดยไม่ต ้องมีการกระตุ้นเตือนจากเพือนสมาชิก
5 มีส่วนร่วมอย่างเต็มที (ขาดความเข ้าใจในบางเรือง และขาดการติดต่อ) : ทํางานในส่วนที
ได ้รับมอบหมายอย่างมีความรับผิดชอบ ทําผลงานทีมีคุณค่าให ้กับโครงการในฐานะทีเป็น
สมาชิกคนหนึงของทีมวิจัยเมือได ้รับคําแนะนําจากกลุ่ม
4 มีส่วนร่วมเป็นครังคราว (ขาดความเข ้าใจในบางเรือง และขาดการติดต่อ) : ทํางานบางส่วน
ของโครงการ ทําผลงานในขอบเขตทีจํากัดโดยได ้รับคําแนะนําและการดูแลจากสมาชิกทีเหลือ
3 มีส่วนร่วมเมือถูกเรียกร้องเท่านัน (ขาดความกระตือรือร้น) : ทํางานบางส่วนของโครงการ ทํา
ผลงานเมือถูกร ้องขอจากสมาชิกทีเหลือ
2 มีส่วนร่วมตามภาคบังคับเท่านัน มีส่วนร่วมในส่วนทีมองเห็นได ้ (เป็นสาธารณะ) ของโครงการ
(การนําเสนอปากเปล่า การแสดงโปสเตอร์ ฯลฯ) แต่ไม่ได ้มีส่วนร่วมในการทํางานของโครงการ
1 เข ้าร่วมแต่ไม่มีส่วนร่วมในการทํางาน : มักจะปรากฏตัวในช่วงของการปฏิบัติการ แต่ไม่มีส่วน
ร่วมในโครงการ ไม่มีส่วนร่วมในความพยายามเพือวางแผนการจัดทําโครงการ หรือส่งมอง
โครงการ
0 ไม่เข ้าร่วมเลย
ความคิดเห็น: (อธิบายการให ้คะแนนแก่เพือน)
7 
 
ผลที่ได้รับ
การดําเนินการตามกระบวนการที่ได้กล่าวมาในข้างต้นทําให้ภาระการตรวจงานให้คะแนนของอาจารย์ลดน้อยลงใน
ขณะที่โอกาสในการเรียนรู้ของนักศึกษาเพิ่มมากขึ้น นักศึกษาได้รับประสบการณ์ในการเขียนรายงานการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และ
การเตรียมการสําหรับการแสดงโปสเตอร์ ทักษะเหล่านี้เป็นสิ่งจําเป็นสําหรับนักศึกษาในการเป็นนักวิทยาศาสตร์มืออาชีพ นี่เป็น
ตัวอย่างของการเรียนรู้ด้วยการฝึกปฏิบัติ หรือเรียนรู้โดยการลงมือทํา
นอกจากนี้ นักศึกษายังได้รับประสบการณ์การทํางานกลุ่มร่วมกับผู้อื่น และการประเมินการทํางานของเพื่อน ผลงาน
ตีพิมพ์เมื่อเร็วๆ นี้ ได้กล่าวถึงคุณค่าของการเรียนรู้ที่ได้จากการทํางานร่วมกันเป็นกลุ่ม และการลดภาวะการแข่งขันอย่างเอาเป็น
เอาตายระหว่างนักศึกษาลง การให้นักศึกษาทํารายงานการวิจัยและแสดงโปสเตอร์ก่อให้เกิดคุณค่าทั้งสองประการดังกล่าว
ในการสอนตามแบบปกติ อํานาจขึ้นอยู่กับอาจารย์ นักศึกษาทํางานตามลําพัง นานๆ ครั้งจึงอาจจะได้ดูผลงานของผู้อื่น
และแน่นอนว่า ไม่เคยประเมินผลงานของนักศึกษาคนอื่นๆ เลย คะแนนที่นักศึกษาได้รับขึ้นอยู่กับการประเมินของอาจารย์เท่านั้น
ซึ่งทําให้การประเมินนั้นค่อนข้างเป็นอัตวิสัย แต่เนื่องจากโครงการเขียนรายงานการวิจัยนี้เป็นการทํางานเป็นกลุ่ม และมีการ
ตรวจทานโดยเพื่อน จึงเป็นการสนับสนุนนักศึกษาให้เคารพต่อความคิดเห็นของเพื่อน นอกจากนี้ กิจกรรมแบบนี้จะให้มุมมองแก่
นักศึกษาในด้านการเปรียบเทียบความคิดเห็นของเพื่อนกับความคิดเห็นของตนเอง รวมทั้งสอนนักศึกษาให้อ่านอย่างมีวิจารณญาณ
และใช้วิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์ในระหว่างการปรับปรุงร่างรายงานการวิจัย
การประเมินรายวิชานี้พบว่า สิ่งที่นักศึกษาเป็นกังวลมากที่สุดคือ การประเมินและการถูกประเมินงานโดยกลุ่มเพื่อน แต่
อย่างไรก็ดี นักศึกษาพบว่า การทํารายงานการวิจัยและโปสเตอร์เป็นหนึ่งในประสบการณ์ที่คุ้มค่ามากที่สุดของหลักสูตร เพราะมี
โอกาสศึกษาเชิงลึกในหัวข้อที่ตนเองเลือกศึกษา และได้แสดงออกถึงความรู้ที่ได้ศึกษามาในรูปแบบที่แตกต่างจากการสอบ และการ
แก้ชุดปัญหา รวมถึงทักษะอื่นๆ ที่นักศึกษาได้รับการพัฒนาจากการเรียนรายวิชานี้

More Related Content

More from Teaching & Learning Support and Development Center

More from Teaching & Learning Support and Development Center (6)

การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
 
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไปหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
 
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการสิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
 
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork rameworkKMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
 
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษาการบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
 

A Peer-Review Research Assignment for Large Classes

  • 1. 1    การทํางานวิจัยสําหรับชั้นเรียนขนาดใหญ่: การพัฒนาทักษะการเขียนของนักศึกษาแบบร่วมมือกัน (A Peer-Reviewed Research Assignment for Large Classes: Honing Students’ Writing Skills in a Collaborative Endeavor) LaRhee Henderson, Associate Professor of Chemistry, and Charisse Buising, Associate Professor of Biology, Drake University การเขียนเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ที่มีคุณค่าอย่างยิ่ง การเขียนต้องเกิดจากความเข้าใจหรือการมีส่วนร่วมในเรื่องนั้นๆ เป็น อย่างดี หรือเกิดจากได้เรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รวมถึงได้เรียนรู้เกี่ยวกับทักษะการเขียนที่ดี นอกจากนี้ ผู้เรียนจะต้องได้รับ พัฒนาทักษะอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น วิธีการค้นคว้างานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การอ่านงานวิจัย การประเมินคุณค่าของเอกสาร การสร้างความ เชื่อมโยงระหว่างข้อมูลแต่ละชิ้นที่ได้รับเพื่อสร้างเนื้อหาที่กว้างขวางขึ้น และมีความสอดคล้องกันมากขึ้น อย่างไรก็ดี การเขียนรายงานของนักศึกษาในชั้นเรียนขนาดใหญ่ก่อให้เกิดปัญหาขึ้น เนื่องจากอาจารย์ที่สอนวิชา วิทยาศาสตร์ในชั้นเรียนขนาดใหญ่ต้องรับภาระหนักในการตรวจให้คะแนนการบ้าน และข้อสอบของนักศึกษา จึงไม่มีเวลาสําหรับ การช่วยเหลือนักศึกษาและการให้คะแนนสําหรับการเขียนรายงานประเภทรายงานการวิจัย เราแก้ปัญหานี้โดยพัฒนาแบบฝึกหัด (exercise) สําหรับการเขียนซึ่งนักศึกษาต้องทํางานร่วมกันเป็นกลุ่ม และถูกประเมินโดยกลุ่มเพื่อนซึ่งเป็นการทํางานในลักษณะ เดียวกับงานของนักวิทยาศาสตร์มืออาชีพ การทํางานร่วมกัน และการวิจารณ์รายงานของเพื่อน การปฏิบัติแบบนักวิทยาศาสตร์ โดยปกติเราจะเขียนข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนวิจัย เขียนบทความ และนําเสนอ ผลงานในลักษณะที่เป็นการทํางานร่วมกันเป็นกลุ่ม เมื่อเราต้องเขียนงานร่วมกัน เรามักจะแบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วนๆ และแยกกัน ทํา ซึ่งผลงานเหล่านี้จะถูกนํามารวมกันเป็นผลงานในขั้นสุดท้าย ในวิชานี้เราจึงให้นักศึกษาทําเช่นเดียวกันกับกระบวนการที่ นักวิทยาศาสตร์ทํา ในการเริ่มกระบวนการ เราแบ่งนักศึกษาวิชาชีวเคมี ซึ่งมีจํานวน 150 คนในชั้นเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3-5 คน จากนั้นให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวข้องานวิจัย 1 หัวข้อจากที่มีอยู่ทั้งหมด 13 หัวข้อ โดยจะมี 2-3 กลุ่มที่เลือกหัวข้อเดียวกัน หัวข้อ ดังกล่าวเป็น กรณีศึกษา (Case Study) ซึ่งประกอบด้วย molecular of fructose intolerance, hyperlipidemia type I, myocardial infarction, cholera, Ehlers-Danlos syndrome, rheumatoid arthritis, และ hypothyroidism หลังจากที่เลือกหัวข้อแล้ว แต่ละกลุ่มแบ่งงานระหว่างสมาชิกกลุ่ม ตัวอย่างเช่น นักศึกษาอาจจะแบ่งรายงานเกี่ยวกับ Parkinson’s disease ออกเป็น (1) dopamine and its role in neurotransmission (2) current theories on the causes of the disease (3) current treatments of the disease and their molecular basis และ (4) interviews with local health professionals, friends, or family with personal experiences with the disease
  • 2. 2    ภาพที 1 เกณฑ์การประเมินรายงานวิจัยโดยกลุ่มเพือน จงให ้คะแนนตามเกณฑ์ทีอธิบายไว ้ด ้านล่าง คะแนนทีกําหนดไว ้เป็นแนวทางเท่านัน ท่านอาจจะได ้คะแนน แต่ละหมวดทีต่างจากนีได ้ ในการให ้ประเมินครังสุดท ้ายโปรดให ้คะแนนทีสอดคล ้องกับเกณฑ์ต่อไปนี: F: รายงานวิจัยไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพขันตํา D: รายงานวิจัยตรงกับเกณฑ์บางส่วนแต่ยังไม่ถึงระดับทีคาดหวัง C: รายงานวิจัยมีคุณภาพเพียงพอตามเกณฑ์ ประกอบด ้วยส่วนทีต ้องการทังหมด มีการนําเสนออย่าง ชัดเจน การจัดระเบียบดี และเขียนได ้ดี B: เนือหารายงานเป็ นไปตามเกณฑ์ และมีคุณภาพในด ้าน ความคิดสร ้างสรรค์ การวิจัยเพิมเติม หรือการปรับปรุงอืนๆ ผู ้วิจัยนําเสนอข ้อมูลต่างๆ ทีได ้รวบรวมไว ้ให ้ เห็นความเชือมโยงได ้อย่างชัดเจน และแสดงให ้เห็นถึงความเข ้าใจในข ้อมูลทีได ้รวบรวมมา A: รายงาน การวิจัยมีคุณภาพตามเกณฑ์และเกินกว่าทีคาดหวัง โดยแสดงให ้เห็นถึงความคิดริเริม ความคิดสร ้างสรรค์ ความลึกของการศึกษาวิจัย และความคิดของผู ้วิจัยทีเติบโตขึนอย่างชัดเจนในระหว่างทีทําการศึกษา งานวิจัยนี (กล่าวคือ ผู ้วิจัยก ้าวไปไกลกว่า การนําข ้อมูลทีรวบรวมได ้มาเรียบเรียงขึนใหม่อย่างง่ายๆ) เกณฑ์ F (0- 50%) D (65%) C (75%) B (85%) A (95%) Points การค ้นคว ้ามาอย่างดี (20 คะแนน) การอ ้างอิงทีมีคุณภาพ (อ ้างอิงวารสารที ได ้รับการยอมรับ และเป็นปัจจุบัน) แสดงให ้เห็นถึงความหลากหลาย (เช่น วารสาร ตํารา การติดต่อบุคคล) ยืนยันประเด็นของผู ้วิจัย การเขียนทีดี (30 คะแนน) ใช ้ไวยากรณ์ถูกต ้อง อ่านง่าย เข ้าใจง่าย และมีการจัดลําดับทีดี ภาพประกอบช่วยส่งเสริมเนือหา มีการอ ้างอิงอย่างเหมาะสม ไม่ได ้ทําการคัดลอกเนือหาของผู้อืน (ลีลา การเขียนและคําศัพท์เป็นไปตามระดับของ นักศึกษา ความเป็นวิทยาศาสตร์ (40 คะแนน) มีการกล่าวถึงปัญหาทางวิทยาศาสตร์อย่าง ชัดเจน รายงานวิจัยเน้นที molecular (ทําการศึกษาเกียวกับ molecular ในเชิง ลึกอย่างน้อย 1 หัวข ้อ) เรืองกระบวนการทํางานของอวัยวะ วิทยาศาสตร์ถูกต ้อง (ยืนยันโดยการอ ้างอิง ทีเหมาะสม) อืนๆ (10 คะแนน) มีปรับปรุงให ้ดีขันอย่างสร ้างสรรค์ (เช่น การแสดงตัวอย่าง การสัมภาษณ์ รูปภาพ testimonial) คะแนนรวม การให ้เหตุผลของการประเมินโดยย่อ
  • 3. 3    ในแต่ละกลุ่ม นักศึกษาจะร่วมมือกันในการทําร่างรายงานการวิจัย ดังนั้น นักศึกษาแต่ละคนจะต้องทํางานในส่วนของ ตนเอง และกลุ่มจะมีส่วนร่วมกันในผลงานสุดท้าย ในตอนกลางเทอมนักศึกษาทุกกลุ่มจะต้องทําร่างรายงานการวิจัยให้เสร็จ และ แลกกับกลุ่มอื่นที่เลือกศึกษาในหัวข้อเดียวกัน เพื่อให้เพื่อนกลุ่มนั้นเป็นผู้ประเมินผล สมาชิกแต่ละคนของกลุ่มจะทําการประเมิน รายงานดังกล่าวให้เสร็จเรียบร้อย อาจารย์จะทําหน้าที่ประเมินร่างรายงานวิจัยนี้ด้วย ถึงแม้ว่า นักศึกษาจะมีอิสระในการทํารายงาน แต่เราได้เตรียมเกณฑ์การให้คะแนนสําหรับการกระทําตามที่คาดหวังไว้ แล้ว (ภาพที่ 1) ทั้งนักศึกษาและอาจารย์จะต้องใช้เกณฑ์ดังกล่าวนี้ในการประเมินรายงานการวิจัย เกณฑ์จะถูกตีความแตกต่างกัน ไปตามประสบการณ์และตําแหน่งของกลุ่มเพื่อนและอาจารย์ ดังนั้น เกณฑ์การให้คะแนนจึงมีความยืดหยุ่น แต่มีกรอบเพื่อเป็นการ ให้แนวทางแก่นักศึกษาในการทําร่างรายงานการวิจัยและในการประเมินซึ่งกันและกัน นักศึกษามีเวลา 1 สัปดาห์ในการประเมินร่างรายงานของกันและกัน พร้อมทั้งเขียนความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ หลังจากนั้น นักศึกษาแต่ละกลุ่มมีเวลา 2 สัปดาห์ในการแก้ไขร่างตามข้อเสนอแนะที่ได้รับ และส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ของกลุ่ม ให้นักศึกษากลุ่มที่ศึกษาหัวข้อเดียวกันแลกรายงานฉบับสมบูรณ์ และทําการประเมินตามเกณฑ์ที่ให้ไว้ (ภาพที่ 1) เนื่องจากนักศึกษาได้ทําการศึกษาวิจัยในหัวข้อเดียวกัน แต่ละกลุ่มจึงควรได้รับการยอมรับว่ามีคุณสมบัติในการที่จะประเมิน รายงานวิจัยที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองได้ศึกษามา ในท้ายที่สุด รายงานวิจัยแต่ละฉบับจะได้รับการประเมินโดยเพื่อน 2 ครั้ง นักศึกษามีเวลาสําหรับการประเมินรายงานฉบับสมบูรณ์ 1 สัปดาห์ กระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์ นักศึกษาแต่ละกลุ่มโพสท์รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ขึ้นกระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ทุกคนเข้าถึงได้ง่าย ผู้ที่เข้ามา อ่านรายงานการวิจัยดังกล่าวสามารถแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะ ซึ่งจะทําให้นักศึกษาทั้งชั้นเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับทุก หัวข้อ และทําให้นักศึกษาได้รับความเห็นที่มีคุณค่า ให้คําแนะนําที่ปราศจากอคติ ก่อนที่จะเริ่มนําเสนอด้วยโปสเตอร์ ผู้ที่เข้ามาอ่าน รายงานการวิจัยจะได้รับข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อทั้งหมดที่ทั้งชั้นกําลังวิจัยอยู่ รวมทั้งได้อ่านเนื้อหาในเชิงลึก นอกจากนั้น นักศึกษา อาจจะแขวนรายงานการวิจัยดังกล่าวไว้บนกระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ชั้นเรียนต่อไปได้เข้ามาอ่านเป็นตัวอย่างของการ ทํางานที่ผ่านมา การแสดงโปสเตอร์ เมื่อนักศึกษาทุกกลุ่มทํารายงานฉบับสมบูรณ์เสร็จแล้ว นักศึกษาที่ทําวิจัยหัวข้อเดียวกันจะต้องร่วมกันนําเสนอต่อ สาธารณะในรูปแบบอื่นอีกด้วย คือ การแสดงโปสเตอร์ กิจกรรมนี้ทําให้เกิดความสมดุลระหว่างการแข่งขันและความร่วมมือในการ ทําแบบฝึกหัด นักศึกษาสามารถอภิปรายเพื่อแก้ไขและปรับปรุงรายงานของตนเองเพื่อช่วยในการตรวจสอบผลงานที่จะนําเสนอใน ขั้นตอนสุดท้าย
  • 4. 4    โปสเตอร์จะถูกจัดตั้งไว้ที่ห้องทดลองปฏิบัติการและเปิดให้สาธารณะเข้าชม 2-3 วัน นักศึกษาที่เป็นผู้นําเสนอจะประจํา อยู่ข้างโปสเตอร์ของตนตามเวลาเพื่อตอบคําถาม นักศึกษาทั้งหมดในชั้นเรียนจะต้องเข้าดูการแสดงโปสเตอร์ดังกล่าวและทําการ ประเมินผลโปสเตอร์ของแต่ละกลุ่มโดยใช้เกณฑ์ที่เราได้แจกให้ล่วงหน้าแล้ว (ภาพที่ 2) ด้วยวิธีการดังกล่าว นักศึกษาทุกคนในชั้น จะได้เรียนรู้เกี่ยวกับหัวข้อวิจัยที่ทุกกลุ่มได้ทําการศึกษา การให้คะแนน การให้คะแนนครั้งสุดท้ายของนักศึกษาสะท้อนองค์ประกอบ 3 ประการคือ รายงานวิจัย โปสเตอร์ (งานทั้งสองอย่าง ขึ้นอยู่กับคะแนนของอาจารย์ และคะแนนที่ประเมินโดยเพื่อน) และคะแนนที่อาจารย์ให้กับการประเมินเพื่อนของนักศึกษา (นักศึกษาสามารถประเมินรายงานการวิจัยของเพื่อนกลุ่มอื่นได้ดีเพียงไร) การประเมินโดยเพื่อน บ่อยครั้งที่นักศึกษาไม่สบายใจที่ต้องประเมินเพื่อน และมักจะขออนุญาตที่จะให้คะแนนต่ํากว่า นอกจากนี้ นักศึกษามัก ไม่เต็มใจที่จะยอมรับการวิจารณ์จากเพื่อนและมาบ่นกับอาจารย์เกี่ยวกับการประเมินโดยเพื่อน โดยทั่วไป นักศึกษาหวังว่าจะได้รับ คะแนนที่ดีเยี่ยมในการทํารายงานตามที่อาจารย์สั่ง แต่เมื่อได้รับการตัดสินในทางลบจากเพื่อน ก็จะรู้สึกว่า เป็นเรื่องยากที่จะ ยอมรับได้ ด้วยเหตุดังกล่าว เราจึงใช้ตารางเกณฑ์การให้คะแนน เพื่อประโยชน์ในการลดสิ่งที่เป็นอัตวิสัย (subjectivity) ออกจาก กระบวนการ และให้คะแนนคุณภาพของการประเมินเพื่อนของนักศึกษาแต่ละคน นักศึกษาจะระมัดระวังมากขึ้นเมื่อรู้ว่า ความ คิดเห็นของตนเองจะมีผลต่อคะแนนของคนอื่น และความเป็นเหตุเป็นผลของการแสดงความคิดเห็นต่องานของคนอื่นจะมีผลต่อ คะแนนของตนเอง การประเมินภายในกลุ่ม เราไม่ต้องการมีส่วนในการกําหนดการทํางานภายในกลุ่ม แต่ต้องการความชัดเจนว่า สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มมีส่วนร่วม ในการทํางานตามที่เราคาดหวัง เราทําเช่นนี้ผ่านการสอนในชั้นเรียน รวมทั้งผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงานของเพื่อนภายใน กลุ่มโดยดําเนินการเป็นระยะๆ ตลอดภาคการศึกษา และใช้เครื่องมือการประเมินที่ระบุลักษณะของการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับ ช่วงคะแนน 1 ถึง 8 นักศึกษาประเมินสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มของตนเองโดยให้คะแนนที่เป็นตัวเลข และโดยการเขียนความคิดเห็น (ภาพที่ 3) อาจารย์ใช้ผลการประเมินภายในกลุ่มเป็นส่วนหนึ่งของการพิจารณาเมื่อจะประเมินองค์ประกอบของผลการเรียนของ นักศึกษา เราเก็บการประเมินผลของแต่ละคนไว้เป็นความลับ แต่ให้บทสรุปของการประเมินกับนักศึกษา และเนื่องจากสมาชิกกลุ่ม ประเมินผลการปฏิบัติงานของแต่ละคนในกลุ่มจากการทําแบบฝึกหัดร่วมกัน เราจึงสามารถทราบได้ว่า นักศึกษาคนใดมีบทบาท
  • 5. 5    เป็นผู้นํากลุ่ม (และคนใดที่ไม่ได้ทํางานในส่วนของตนเอง) นอกจากนี้ จากการที่นักศึกษารู้ว่าตนเองถูกประเมินโดยเพื่อนในกลุ่มทํา ให้นักศึกษารู้ว่า จะต้องมีความรับผิดชอบต่อกันและกัน ภาพที 2: เกณฑ์การประเมินโดยเพือนในการนําเสนอโปสเตอร์ โปรดประเมินการแสดงโปสเตอร์ของกลุ่มอืนๆ ตามเกณฑ์การประเมินต่อไปนี: 1. ภาพลักษณ์โดยรวมและ รูปแบบ เกณฑ์: อ่านง่าย, มีระเบียบแบบแผน, เข ้าถึงข ้อมูลได ้ง่าย ดึงดูดใจ การให ้คะแนน: สูงกว่าเกณฑ์ทังหมดอย่างมีความคิดสร ้างสรรค์และเป็นต ้นแบบ = 15 points; เป็นไปตามเกณฑ์ทังหมด = 10 คะแนน มีบางส่วนทีไม่เป็นไปตามเกณฑ์ = 5-8 คะแนน ความคิดเห็น: 2. เนือหา เกณฑ์: บทคัดย่อ: สรุปส่วนสําคัญของรายงานโดยย่อ กรณีศึกษา: นําเสนอกรณีตัวอย่างในรูปแบบที ทําให ้ผู้อ่านทราบถึงปัญหาและทีมาของปัญหาได ้อย่างรวดเร็ว ภูมิหลัง: อธิบายหลักการของโมเลกุล ทีเกียวกับปัญหานันโดยย่อ การวิจัย: จัดทําเค ้าโครงแสดงความคิดปัจจุบันบนพืนฐานของปัญหาและ อาการทีเกียวข ้องระดับโมเลกุลทีชัดเจน ขอบเขตและจุดเน้น: concept พืนฐานของชีวเคมีถูกนําเสนอ ตลอดรายงานเพือเชือมโยงกับสาเหตุของโรค อาการ และการรักษา ขอบเขตของรายงานการวิจัยมี ความเหมาะสมและระบุชัดเจน การให ้คะแนน: สูงกว่าเกณฑ์ทังหมดอย่างมีความคิดสร ้างสรรค์และเป็นต ้นแบบ = 60-70 points; เป็นไปตามเกณฑ์ทังหมด = 50-60 คะแนน มีบางส่วนทีไม่เป็นไปตามเกณฑ์ = 40-50 คะแนน ส่วนใหญ่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ = 30-40 คะแนน ความคิดเห็น: 3. การนําเสนอของนักศึกษา เกณฑ์: นําเสนออย่างมืออาชีพ มีความกระตือรือร ้น มีความรู้ดี และสามารถสือสารโครงการและ ผลงานได ้อย่างชัดเจน การให ้คะแนน: สูงกว่าเกณฑ์ทังหมดอย่างมีความคิดสร ้างสรรค์และเป็นต ้นแบบ = 15 points; เป็นไปตามเกณฑ์ทังหมด = 10 คะแนน มีบางส่วนทีไม่เป็นไปตามเกณฑ์ = 5-8 คะแนน ความคิดเห็น:
  • 6. 6    ภาพที 3 เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติงานของเพือนภายในกลุ่ม   โปรดประเมิน สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มของท่านในด ้านการมีส่วนร่วมในการทํางานทีได ้รับ มอบหมายตามสเกลต่อไปนี ผลการประเมินของแต่ละคนจะถูกเก็บเป็นความลับ แต่ผลสรุปของ การประเมินของกลุ่มเกียวกับการมีส่วนร่วมของแต่ละคนจะถูกส่งให ้กับบุคคลนัน การประเมิน ของนักศึกษาแต่ละคนจะถูกนํามาพิจารณาในกระบวนการให ้คะแนน ดังนัน จึงควรระมัดระวังใน การเสนอความคิดเห็น และควรให ้เหตุผลสนับสนุนการประเมินของตนเอง 8 มีส่วนร่วมอย่างเต็มที (ขยายขอบเขตการเรียนรู้สําหรับตนเองและคนอืน) : ทํางานในส่วนที ได ้รับมอบหมายและประสบความสําเร็จอย่างดี มีความคิดริเริมทีทําให ้การทําโครงการมีคุณภาพ อย่างมีนัยสําคัญ มีบทบาทในการเป็นผู้นําโครงการ ช่วยทําให ้ทุกคนเกิดความเข ้าใจและปฏิบัติ ได ้เป็นอย่างดี 7 มีส่วนร่วมอย่างเต็มที (ขยายขอบเขตการเรียนรู้สําหรับตนเอง) : ทํางานในส่วนทีได ้รับ มอบหมายและประสบความสําเร็จอย่างดี มีความคิดริเริมทีทําให ้การทําโครงการมีคุณภาพอย่าง มีนัยสําคัญ 6 มีส่วนร่วมอย่างเต็มที (เข ้าใจแนวคิด ( concept) พืนฐาน): ทํางานในส่วนทีได ้รับมอบหมาย อย่างอิสระ เชือถือได ้และทําอย่างมีความรับผิดชอบ ทําผลงานทีมีคุณค่าให ้กับโครงการใน ฐานะทีเป็นสมาชิกคนหนึงของทีมวิจัยโดยไม่ต ้องมีการกระตุ้นเตือนจากเพือนสมาชิก 5 มีส่วนร่วมอย่างเต็มที (ขาดความเข ้าใจในบางเรือง และขาดการติดต่อ) : ทํางานในส่วนที ได ้รับมอบหมายอย่างมีความรับผิดชอบ ทําผลงานทีมีคุณค่าให ้กับโครงการในฐานะทีเป็น สมาชิกคนหนึงของทีมวิจัยเมือได ้รับคําแนะนําจากกลุ่ม 4 มีส่วนร่วมเป็นครังคราว (ขาดความเข ้าใจในบางเรือง และขาดการติดต่อ) : ทํางานบางส่วน ของโครงการ ทําผลงานในขอบเขตทีจํากัดโดยได ้รับคําแนะนําและการดูแลจากสมาชิกทีเหลือ 3 มีส่วนร่วมเมือถูกเรียกร้องเท่านัน (ขาดความกระตือรือร้น) : ทํางานบางส่วนของโครงการ ทํา ผลงานเมือถูกร ้องขอจากสมาชิกทีเหลือ 2 มีส่วนร่วมตามภาคบังคับเท่านัน มีส่วนร่วมในส่วนทีมองเห็นได ้ (เป็นสาธารณะ) ของโครงการ (การนําเสนอปากเปล่า การแสดงโปสเตอร์ ฯลฯ) แต่ไม่ได ้มีส่วนร่วมในการทํางานของโครงการ 1 เข ้าร่วมแต่ไม่มีส่วนร่วมในการทํางาน : มักจะปรากฏตัวในช่วงของการปฏิบัติการ แต่ไม่มีส่วน ร่วมในโครงการ ไม่มีส่วนร่วมในความพยายามเพือวางแผนการจัดทําโครงการ หรือส่งมอง โครงการ 0 ไม่เข ้าร่วมเลย ความคิดเห็น: (อธิบายการให ้คะแนนแก่เพือน)
  • 7. 7    ผลที่ได้รับ การดําเนินการตามกระบวนการที่ได้กล่าวมาในข้างต้นทําให้ภาระการตรวจงานให้คะแนนของอาจารย์ลดน้อยลงใน ขณะที่โอกาสในการเรียนรู้ของนักศึกษาเพิ่มมากขึ้น นักศึกษาได้รับประสบการณ์ในการเขียนรายงานการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และ การเตรียมการสําหรับการแสดงโปสเตอร์ ทักษะเหล่านี้เป็นสิ่งจําเป็นสําหรับนักศึกษาในการเป็นนักวิทยาศาสตร์มืออาชีพ นี่เป็น ตัวอย่างของการเรียนรู้ด้วยการฝึกปฏิบัติ หรือเรียนรู้โดยการลงมือทํา นอกจากนี้ นักศึกษายังได้รับประสบการณ์การทํางานกลุ่มร่วมกับผู้อื่น และการประเมินการทํางานของเพื่อน ผลงาน ตีพิมพ์เมื่อเร็วๆ นี้ ได้กล่าวถึงคุณค่าของการเรียนรู้ที่ได้จากการทํางานร่วมกันเป็นกลุ่ม และการลดภาวะการแข่งขันอย่างเอาเป็น เอาตายระหว่างนักศึกษาลง การให้นักศึกษาทํารายงานการวิจัยและแสดงโปสเตอร์ก่อให้เกิดคุณค่าทั้งสองประการดังกล่าว ในการสอนตามแบบปกติ อํานาจขึ้นอยู่กับอาจารย์ นักศึกษาทํางานตามลําพัง นานๆ ครั้งจึงอาจจะได้ดูผลงานของผู้อื่น และแน่นอนว่า ไม่เคยประเมินผลงานของนักศึกษาคนอื่นๆ เลย คะแนนที่นักศึกษาได้รับขึ้นอยู่กับการประเมินของอาจารย์เท่านั้น ซึ่งทําให้การประเมินนั้นค่อนข้างเป็นอัตวิสัย แต่เนื่องจากโครงการเขียนรายงานการวิจัยนี้เป็นการทํางานเป็นกลุ่ม และมีการ ตรวจทานโดยเพื่อน จึงเป็นการสนับสนุนนักศึกษาให้เคารพต่อความคิดเห็นของเพื่อน นอกจากนี้ กิจกรรมแบบนี้จะให้มุมมองแก่ นักศึกษาในด้านการเปรียบเทียบความคิดเห็นของเพื่อนกับความคิดเห็นของตนเอง รวมทั้งสอนนักศึกษาให้อ่านอย่างมีวิจารณญาณ และใช้วิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์ในระหว่างการปรับปรุงร่างรายงานการวิจัย การประเมินรายวิชานี้พบว่า สิ่งที่นักศึกษาเป็นกังวลมากที่สุดคือ การประเมินและการถูกประเมินงานโดยกลุ่มเพื่อน แต่ อย่างไรก็ดี นักศึกษาพบว่า การทํารายงานการวิจัยและโปสเตอร์เป็นหนึ่งในประสบการณ์ที่คุ้มค่ามากที่สุดของหลักสูตร เพราะมี โอกาสศึกษาเชิงลึกในหัวข้อที่ตนเองเลือกศึกษา และได้แสดงออกถึงความรู้ที่ได้ศึกษามาในรูปแบบที่แตกต่างจากการสอบ และการ แก้ชุดปัญหา รวมถึงทักษะอื่นๆ ที่นักศึกษาได้รับการพัฒนาจากการเรียนรายวิชานี้