SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
ประวัติของอีเมล อีเมลเริ่มใช้กันในปี พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965) โดยใช้ในการส่งข้อมูลระหว่างผู้ใช้ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม ปัจจุบันได้มีการเถียงกันระหว่างเครื่อง SDC’s Q32 และ MIT’s CTSS ว่าใครเป็นผู้ใช้ระบบอีเมลเป็นเครื่องแรก ต่อมาพัฒนาให้สามารถส่งอีเมลข้ามระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ โดยระบบแรก ๆ ได้แก่ ระบบ AUTODIN ซึ่งเป็นระบบเชื่อมโยงข้อมูลของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ (ปีพ.ศ. 2509) และ ระบบ SAGE ซึ่งใช้ตรวจจับเครื่องบินทิ้งระเบิด ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อาร์พาเน็ต (ARPANET) มีส่วนเป็นอย่างมากในการพัฒนาอีเมล มีการทดลองส่งครั้งแรกในเครือข่ายเมื่อปีพ.ศ. 2512 ในปี พ.ศ. 2514 นายเรย์ ทอมลินสัน (Ray Tomlinson) เริ่มใช้เครื่องหมาย @ ในการคั่นระหว่างชื่อผู้ใช้กับชื่อเครื่อง เขายังเขียนโปรแกรมรับส่งอีเมลที่ชื่อ SNDMAIL และ READMAIL อาร์พาเน็ตทำให้อีเมลได้รับความนิยม และอีเมลก็ได้กลายเป็นงานหลักของอาร์พาเน็ต
เมื่อประโยชน์ของอีเมลเป็นที่รู้จักมากขึ้น ก็มีการคิดค้นระบบอีเมลที่ติดต่อโดยช่องทางอื่นสำหรับที่ไม่มีสิทธิ์ใช้เครือข่ายอาร์พาเน็ต เช่นผ่านเครือข่าย UUCP หรือ VNET ก่อนที่มีการพัฒนาอีเมลที่ค้นหาเส้นทางในการส่งโดยอัตโนมัติ (auto-routing) การส่งผ่านอีเมลข้ามจากระบบหนึ่งไปยังอีกระบบจำเป็นระบุเส้นทางการส่งโดยใช้เครื่องหมาย ! คั่นชื่อเครื่องระหว่างทาง วิธีนี้สามารถเชื่อมอีเมลจาก อาร์พาเน็ต BITNET NSFNET UUCP เข้าด้วยกันในช่วงประมาณ พ.ศ. 2520 หน่วยงาน IETF ออกแบบและกำหนดโพรโทคอลในการส่งอีเมลที่มีชื่อว่า SMTP หรือ Simple Mail Transfer Protocol ปัจจุบันโพรโทคอลนี้ถือเป็นมาตรฐานในการรับส่งอีเมลบนอินเทอร์เน็ต
การสะกดคำการสะกดคำในภาษาอังกฤษ e-mail และ email เป็นการใช้โดยปกติทั้งคู่ แนวทางในการเขียนเชิงเทคนิคและเชิงข่าวหลายแห่งได้แนะนำว่าให้ใช้ e-mail  ส่วนการสะกดว่า email นั้นก็มีการยอมรับโดยพจนานุกรมหลายเล่มเช่นกัน  ในเอกสารขอความเห็น (RFC) ดั้งเดิมไม่ได้สะกดคำอย่างใดอย่างหนึ่งข้างต้น เพียงแค่กล่าวถึงการบริการนั้นว่า mail และอีเมลฉบับหนึ่ง ๆ ก็เรียกว่า message  นอกจากนั้นรูปพหูพจน์ e-mails หรือ emails ก็เป็นที่ยอมรับเช่นเดียวกันเอกสารขอความเห็นใหม่ ๆ และคณะทำงานเฉพาะกิจด้านวิศวกรรมอินเทอร์เน็ต (IETF) เลือกที่จะใช้คำว่า email เพื่อการขึ้นต้นอักษรตัวใหญ่ การแบ่งยัติภังค์ และการสะกดคำศัพท์
โดนัลด์ คนูธ (Donald Knuth) พิจารณาว่าการสะกดว่า e-mail นั้นล้าสมัย และได้หมายเหตุไว้ว่าคนในสหราชอาณาจักรส่วนใหญ่สะกดเป็น email กัน ในภาษาอื่นของยุโรปบางภาษา คำว่า email นั้นไปพ้องกับคำว่า enamel (สิ่งเคลือบ)ในภาษาไทย “อีเมล” เป็นการสะกดตามศัพท์บัญญัติจากราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งบัญญัติไว้ตั้งแต่ พ.ศ. 2544  ในขณะที่ “อีเมล์” เป็นการสะกดในหนังสือ พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม ๑ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2550
นางสาวธัญญารัตน์ หมอฝี

More Related Content

What's hot (8)

1
11
1
 
Second
SecondSecond
Second
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
นายสิรภพ เมฆสว่าง-ม
นายสิรภพ เมฆสว่าง-มนายสิรภพ เมฆสว่าง-ม
นายสิรภพ เมฆสว่าง-ม
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์ 1
ระบบคอมพิวเตอร์ 1ระบบคอมพิวเตอร์ 1
ระบบคอมพิวเตอร์ 1
 
ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

La GéOthermie 3°6
La GéOthermie 3°6La GéOthermie 3°6
La GéOthermie 3°6
techno3stex
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
PluemSupichaya
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
Sasitorn Kapana
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
Suttipa Kamsai
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
Niraporn Pousiri
 

Viewers also liked (20)

Nutnpor 30
Nutnpor 30Nutnpor 30
Nutnpor 30
 
งานแคท
งานแคทงานแคท
งานแคท
 
Pausa ppp
Pausa pppPausa ppp
Pausa ppp
 
Introdução
IntroduçãoIntrodução
Introdução
 
เฉลย53
เฉลย53เฉลย53
เฉลย53
 
Pat3
Pat3Pat3
Pat3
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
โบรชัวร์โปรโมชั่น Big c compact store 14/2554
โบรชัวร์โปรโมชั่น Big c compact store 14/2554โบรชัวร์โปรโมชั่น Big c compact store 14/2554
โบรชัวร์โปรโมชั่น Big c compact store 14/2554
 
นิธิโรจน์ ไชยเนตร 2_7
นิธิโรจน์ ไชยเนตร 2_7นิธิโรจน์ ไชยเนตร 2_7
นิธิโรจน์ ไชยเนตร 2_7
 
53211820
5321182053211820
53211820
 
La GéOthermie 3°6
La GéOthermie 3°6La GéOthermie 3°6
La GéOthermie 3°6
 
Prefabbricati ad alte prestazioni
Prefabbricati ad alte prestazioniPrefabbricati ad alte prestazioni
Prefabbricati ad alte prestazioni
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
 
7 eng1
7 eng17 eng1
7 eng1
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
 
Teplovoy dvigatel
Teplovoy dvigatelTeplovoy dvigatel
Teplovoy dvigatel
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
 
เกมจร้าาาาา
เกมจร้าาาาาเกมจร้าาาาา
เกมจร้าาาาา
 
K2C- 22 august
K2C- 22 augustK2C- 22 august
K2C- 22 august
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
 

Similar to นางสาวธัญญารัตน์ หมอฝี

ชื่อ นายกฤษฏ์-ทรัพย์สินสมุทร-ม
ชื่อ นายกฤษฏ์-ทรัพย์สินสมุทร-มชื่อ นายกฤษฏ์-ทรัพย์สินสมุทร-ม
ชื่อ นายกฤษฏ์-ทรัพย์สินสมุทร-ม
Krit Krit
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Piyanoot Ch
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต1
runjaun
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต1
runjaun
 
สื่อการสอน Internet 2559
สื่อการสอน Internet  2559สื่อการสอน Internet  2559
สื่อการสอน Internet 2559
kkrunuch
 
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _มเสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
Naetima Mudcharase
 
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _มเสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
Duangruethai Fachaiyaphum
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
Samorn Tara
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
Piyanoot Ch
 
ประวัติย่อ
ประวัติย่อประวัติย่อ
ประวัติย่อ
ment1823
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
krukerkmlw1
 

Similar to นางสาวธัญญารัตน์ หมอฝี (20)

ชื่อ นายกฤษฏ์-ทรัพย์สินสมุทร-ม
ชื่อ นายกฤษฏ์-ทรัพย์สินสมุทร-มชื่อ นายกฤษฏ์-ทรัพย์สินสมุทร-ม
ชื่อ นายกฤษฏ์-ทรัพย์สินสมุทร-ม
 
Week 2
Week 2Week 2
Week 2
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต1
 
สื่อการสอน Internet 2559
สื่อการสอน Internet  2559สื่อการสอน Internet  2559
สื่อการสอน Internet 2559
 
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _มเสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
 
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _มเสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
It 03
It 03It 03
It 03
 
It 03
It 03It 03
It 03
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
Unit07 internet
Unit07 internetUnit07 internet
Unit07 internet
 
Unit07 internet
Unit07 internetUnit07 internet
Unit07 internet
 
ประวัติย่อ
ประวัติย่อประวัติย่อ
ประวัติย่อ
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

More from เอ็น วิทย์สิ่งแวดล้อม (10)

นางสาวธัญญารัตน์ หมอฝี
นางสาวธัญญารัตน์ หมอฝีนางสาวธัญญารัตน์ หมอฝี
นางสาวธัญญารัตน์ หมอฝี
 
ศศิธร
ศศิธรศศิธร
ศศิธร
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
Tanyarat
TanyaratTanyarat
Tanyarat
 
Tanyarat
TanyaratTanyarat
Tanyarat
 
งานแป้ง
งานแป้งงานแป้ง
งานแป้ง
 
งานจูน
งานจูนงานจูน
งานจูน
 
งานเมย์
งานเมย์งานเมย์
งานเมย์
 
งานเมย์
งานเมย์งานเมย์
งานเมย์
 

นางสาวธัญญารัตน์ หมอฝี

  • 1. ประวัติของอีเมล อีเมลเริ่มใช้กันในปี พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965) โดยใช้ในการส่งข้อมูลระหว่างผู้ใช้ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม ปัจจุบันได้มีการเถียงกันระหว่างเครื่อง SDC’s Q32 และ MIT’s CTSS ว่าใครเป็นผู้ใช้ระบบอีเมลเป็นเครื่องแรก ต่อมาพัฒนาให้สามารถส่งอีเมลข้ามระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ โดยระบบแรก ๆ ได้แก่ ระบบ AUTODIN ซึ่งเป็นระบบเชื่อมโยงข้อมูลของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ (ปีพ.ศ. 2509) และ ระบบ SAGE ซึ่งใช้ตรวจจับเครื่องบินทิ้งระเบิด ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อาร์พาเน็ต (ARPANET) มีส่วนเป็นอย่างมากในการพัฒนาอีเมล มีการทดลองส่งครั้งแรกในเครือข่ายเมื่อปีพ.ศ. 2512 ในปี พ.ศ. 2514 นายเรย์ ทอมลินสัน (Ray Tomlinson) เริ่มใช้เครื่องหมาย @ ในการคั่นระหว่างชื่อผู้ใช้กับชื่อเครื่อง เขายังเขียนโปรแกรมรับส่งอีเมลที่ชื่อ SNDMAIL และ READMAIL อาร์พาเน็ตทำให้อีเมลได้รับความนิยม และอีเมลก็ได้กลายเป็นงานหลักของอาร์พาเน็ต
  • 2. เมื่อประโยชน์ของอีเมลเป็นที่รู้จักมากขึ้น ก็มีการคิดค้นระบบอีเมลที่ติดต่อโดยช่องทางอื่นสำหรับที่ไม่มีสิทธิ์ใช้เครือข่ายอาร์พาเน็ต เช่นผ่านเครือข่าย UUCP หรือ VNET ก่อนที่มีการพัฒนาอีเมลที่ค้นหาเส้นทางในการส่งโดยอัตโนมัติ (auto-routing) การส่งผ่านอีเมลข้ามจากระบบหนึ่งไปยังอีกระบบจำเป็นระบุเส้นทางการส่งโดยใช้เครื่องหมาย ! คั่นชื่อเครื่องระหว่างทาง วิธีนี้สามารถเชื่อมอีเมลจาก อาร์พาเน็ต BITNET NSFNET UUCP เข้าด้วยกันในช่วงประมาณ พ.ศ. 2520 หน่วยงาน IETF ออกแบบและกำหนดโพรโทคอลในการส่งอีเมลที่มีชื่อว่า SMTP หรือ Simple Mail Transfer Protocol ปัจจุบันโพรโทคอลนี้ถือเป็นมาตรฐานในการรับส่งอีเมลบนอินเทอร์เน็ต
  • 3. การสะกดคำการสะกดคำในภาษาอังกฤษ e-mail และ email เป็นการใช้โดยปกติทั้งคู่ แนวทางในการเขียนเชิงเทคนิคและเชิงข่าวหลายแห่งได้แนะนำว่าให้ใช้ e-mail  ส่วนการสะกดว่า email นั้นก็มีการยอมรับโดยพจนานุกรมหลายเล่มเช่นกัน  ในเอกสารขอความเห็น (RFC) ดั้งเดิมไม่ได้สะกดคำอย่างใดอย่างหนึ่งข้างต้น เพียงแค่กล่าวถึงการบริการนั้นว่า mail และอีเมลฉบับหนึ่ง ๆ ก็เรียกว่า message  นอกจากนั้นรูปพหูพจน์ e-mails หรือ emails ก็เป็นที่ยอมรับเช่นเดียวกันเอกสารขอความเห็นใหม่ ๆ และคณะทำงานเฉพาะกิจด้านวิศวกรรมอินเทอร์เน็ต (IETF) เลือกที่จะใช้คำว่า email เพื่อการขึ้นต้นอักษรตัวใหญ่ การแบ่งยัติภังค์ และการสะกดคำศัพท์
  • 4. โดนัลด์ คนูธ (Donald Knuth) พิจารณาว่าการสะกดว่า e-mail นั้นล้าสมัย และได้หมายเหตุไว้ว่าคนในสหราชอาณาจักรส่วนใหญ่สะกดเป็น email กัน ในภาษาอื่นของยุโรปบางภาษา คำว่า email นั้นไปพ้องกับคำว่า enamel (สิ่งเคลือบ)ในภาษาไทย “อีเมล” เป็นการสะกดตามศัพท์บัญญัติจากราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งบัญญัติไว้ตั้งแต่ พ.ศ. 2544  ในขณะที่ “อีเมล์” เป็นการสะกดในหนังสือ พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม ๑ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2550