SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
คอลัมน์ บทสัมภาษณ์ความเห็นทางวิชาการ
ชื่อเรื่อง พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ผู้อานวยการหลักสูตรการเสริมสร้างสังคมสันติสุข
สถาบันพระปกเกล้า สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ
เรื่อง “การปฏิรูปประเทศไทย : ทิศทางการปฏิรูปและการวางกติกาของบ้านเมือง
เพื่อก้าวสู่อนาคตที่มั่นคงและยั่งยืน”
เมื่อวันอังคารที่ ๒๕พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณห้องรับรองสมาชิกรัฐสภาอาคารรัฐสภา ๑
ผู้เขียน กองบรรณาธิการ
จุลนิติ : ขอทราบถึงความเป็นมา แนวคิด และหลักการที่สาคัญในการปฏิรูปประเทศหรือการ
ปฏิรูปสังคมในกรณีของต่างประเทศหรือบางประเทศที่ประสบความสาเร็จนั้นได้มีแนวทางการ
ดาเนินการอย่างไรจนเป็นที่ยอมรับของประชาชนในสังคมทุกฝ่ าย
พลเอก เอกชัยฯ:จากการศึกษาของสถาบันพระปกเกล้าที่ผ่านมาพบว่า แนวความคิดในการ
ปฏิรูปในหลาย ๆ ประเทศมักมีที่มาอันเกิดจากความขัดแย้งของคนในประเทศนาไปสู่การปฏิรูป บาง
ประเทศก็นาไปสู่การแก้ไขรัฐธรรมนูญ และมีการจัดตั้งหน่วยงานเพื่อสร้างความปรองดอง ก็จะ
สอดคล้องกับแนวคิดในการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับใหม่ของประเทศไทย
ในขณะนี้ ซึ่งคณะอนุกรรมาธิการพิจารณากรอบการจัดทารัฐธรรมนูญ คณะที่ ๑๐ ได้พิจารณาใน
ภาค ๔ การปฏิรูปและการสร้างความปรองดอง หมวด ๒ การสร้างความปรองดอง ได้เสนอกรอบ
แนวคิดเบื้องต้นในการยกร่างรัฐธรรมนูญในส่วนนี้ไว้โดยได้กาหนดสภาพปัญหาหลักว่า เงื่อนไข
ของความขัดแย้งโดยทั่วไปเกิดขึ้นจากความเชื่อทางศาสนา ปรัชญา แนวคิดทางการเมือง การพัฒนา
ทางเศรษฐกิจและสังคมที่เหลื่อมล้า โดยได้เสนอหลักการที่สาคัญเพื่อเป็นแนวทางแก้ไขปัญหา
ดังกล่าว อาทิ การออกแบบและเชื่อมโยงหมวดอื่น ๆ ในรัฐธรรมนูญเพื่อสร้างความปรองดอง
ตลอดจนกาหนดให้บุคคลมีหน้าที่ในการเสริมสร้างความปรองดองเพื่อเสถียรภาพความมั่นคงทาง
เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมของชาติ หากเราศึกษาปัจจัยแห่งความสาเร็จในการปฏิรูปของ
ต่างประเทศจะพบว่า ในต่างประเทศจะพยายามสร้างประชาธิปไตยที่ทาให้เกิดการมีส่วนร่วมของ
ภาคประชาชน ในขณะที่ประเทศไทยเรามีความพยายามที่จะกาหนดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
มากยิ่งขึ้นเห็นได้จากที่ผ่านมามีการกาหนดในรัฐธรรมนูญถึงแนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนโดยการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบายและวางแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนใน
๒
การตัดสินใจทางการเมืองรวมถึงการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐทุกระดับ นอกจากนี้ยังมีการ
กาหนดให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายด้วย แต่ในความเป็นจริงประชาชน
มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมน้อยมาก ยกตัวอย่างกรณีการเข้าชื่อเพื่อเสนอกฎหมายของประชาชน ที่
บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญกาหนดให้กระทาได้แต่กฎหมายที่ประชาชนเสนอเหล่านั้นกลับไม่ได้รับ
การพิจารณาจากรัฐสภา
สิ่งสาคัญอีกประการหนึ่งที่เราต้องกาหนดให้ประชาชนมีสิทธิและหน้าที่ตลอดจนเข้ามามี
ส่วนร่วมคือ การเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการใช้อานาจรัฐและการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ
การทาให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของรัฐ เพื่อดูว่าจะเข้ามามีส่วนร่วมในการใช้อานาจ
รัฐในกระบวนการขั้นตอนใดบ้างเริ่มตั้งแต่กระบวนการคิด การวางแผน นาไปสู่การปฏิบัติ ต่อเนื่อง
ถึงการติดตามเพื่อประเมินผล ทั้งนี้ ประชาชนต้องสามารถเข้ามามีส่วนร่วมตลอดทั้งกระบวนการ
เพราะฉะนั้นต่อจากนี้เราต้องพยายามออกแบบให้สิ่งต่างๆเหล่านี้เกิดขึ้นได้จริง เนื่องจากภาวะความ
ขัดแย้งทางการเมืองที่เกิดขึ้นในยุคหลังนี้ผมเห็นว่าเกิดขึ้นจากการที่ภาคประชาชนเริ่มเติบใหญ่ เริ่มมี
พลัง เริ่มเข้มแข็งและกดดันภาครัฐมากขึ้น กรณีเช่นนี้เกิดขึ้นแล้วในหลายประเทศ เช่น ประเทศ
เกาหลีใต้ ประเทศอินโดนีเซีย ที่ในระยะหลังภาคประชาชนมีความเข้มแข็งมากขึ้นและกดดัน
ภาครัฐจนนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงและปฏิรูปประเทศในที่สุด
จุลนิติ : ขอทราบถึงที่มาและแนวคิดในการที่จะต้องมีการปฏิรูปประเทศไทยอีกคารบหนึ่ง
ในสถานการณ์บ้านเมืองปัจจุบัน ตลอดจนสภาพปัญหาและอุปสรรคที่สาคัญอันเกี่ยวกับการปฏิรูป
ประเทศที่เกิดขึ้นในอดีตถึงปัจจุบัน
พลเอก เอกชัยฯ: ในสถานการณ์ปัจจุบันเราต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอานาจอธิปไตยทั้ง
๓ อานาจ ได้แก่ อานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหาร และอานาจตุลาการ ซึ่งถูกออกแบบมาให้เกิดการ
ดุลและคานอานาจซึ่งกันและกัน แต่ในความเป็นจริงกลับไม่เป็นเช่นนั้นที่ผ่านมานักการเมืองมีความ
เข้มแข็งและมีอานาจมากจนทาให้บางครั้งฝ่ายนิติบัญญัติก็ตกอยู่ภายใต้อานาจของฝ่ายการเมือง
ทั้งหมด ทั้ง ๆ ที่การใช้อานาจอธิปไตยในระบอบประชาธิปไตยได้ถูกออกแบบมาให้ใช้อานาจแยก
จากกันทั้ง ๓ ส่วน และเราต้องยอมรับว่าอานาจของตุลาการกลับมามีบทบาท และอานาจเหนือทั้ง
๓
ฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติ นอกจากนี้ในบางครั้งข้าราชการก็กลับขึ้นมามีบทบาทสาคัญ
เหนือกว่าบทบาทอานาจของฝ่ายการเมืองเสียอีก ยกตัวอย่างเช่น การกาหนดทิศทางกรอบและ
แนวทางในการพัฒนาประเทศด้านเศรษฐกิจและสังคมก็มาจากการดาเนินการของสภาพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติซึ่งมีภารกิจในการกาหนดทิศทางเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม ในการ
จัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตัวอย่างของต่างประเทศเช่น ประเทศฟิลิปปินส์กับ
ประเทศอินโดนีเซีย การกาหนดนโยบายด้านความมั่นคงของประเทศจะอยู่ภายใต้การควบคุมของ
รัฐสภา ส่วนฝ่ ายบริหารมีหน้าที่ในการบริหารอย่างเดียว ต่างจากประเทศไทยของเราที่ผ่านมาล้วน
แล้วแต่ให้รัฐบาลทาหน้าที่ในการกาหนดทิศทางประเทศในทุกๆด้านเอง คิดเรื่องงบประมาณเอง
รวมถึงบริหารงบประมาณเอง และสุดท้ายก็กลายเป็นว่าบางส่วนไปประมูลงบประมาณนั้นเองซึ่งไม่
ถูกต้องนัก ผมเห็นว่านี่คือปัญหาเชิงโครงสร้างที่เราออกแบบไว้แล้วทาให้เกิดปัญหาเรื่อง
ผลประโยชน์ทับซ้อน เกิดปัญหาคอร์รัปชั่นตามมา ซึ่งในต่างประเทศจะแยกอานาจการบริหารไว้
อย่างชัดเจน เช่น ถ้าคุณมีอานาจในการกาหนดเรื่องทิศทางประเทศและงบประมาณแล้ว คุณจะไม่
สามารถจับเงินได้ เรื่องเหล่านี้ถูกแยกจากกันอย่างชัดเจน ส่งผลให้ทั้งประเทศอินโดนีเซีย และ
ประเทศฟิลิปปินส์ในขณะนี้สถานการณ์การเมืองเริ่มมีเสถียรภาพมากขึ้น
สาหรับประเทศไทยนั้นแตกต่างจากประเทศอื่นๆ ผมมีความเห็นว่าเราจาเป็นต้องสร้าง
ดุลยภาพให้เกิดขึ้นใน ๔ ภาคส่วนของอานาจ ได้แก่ ๑. ทหาร ๒. ข้าราชการ ๓. การเมือง และ ๔.
ประชาชน คาถามคือจะทาอย่างไรให้ทั้ง ๔ ภาคส่วนนี้เกิดดุลยภาพระหว่างกัน ถ้าเรามองย้อนกลับ
ไปในอดีต จะพบว่าทหารมีอานาจเหนือกว่า และนักการเมืองก็กลับมามีอานาจเหนือกว่าทหาร
ต่อมาภายหลังรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ฝ่ายทหารได้ปรับโครงสร้าง
ทหารจนกระทั่งนักการเมืองไม่สามารถก้าวล่วงเข้าไปมีอานาจเหนือทหารได้ ส่วนภาคประชาชนก็
ยังคงไม่มีอานาจเช่นเดิม อานาจในที่นี้หมายถึงอานาจต่อรองทางด้านเศรษฐกิจ และสังคม อานาจที่
จะเข้าไปมีสิทธิหรือมีส่วนร่วมในด้านการเมือง สิ่งเหล่านี้คือสิ่งสาคัญที่เราจะเขียนรัฐธรรมนูญกัน
อย่างไรเพื่อจะสร้างดุลยภาพให้เกิดขึ้นได้เมื่อใดที่เกิดดุลยภาพใน ๔ ส่วนนี้ได้เราจะอยู่ร่วมกันได้
ยั่งยืนยาวนานตลอดไป
๔
จุลนิติ : ในทรรศนะของท่านคิดว่าการปฏิรูปในแต่ละด้านตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ มาตรา ๒๗ ควรมีแนวทางอย่างไร จึง
จะประสบผลสาเร็จตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ
พลเอก เอกชัยฯ: ในเรื่องนี้ผมมีความเห็นว่าการกาหนดให้สภาปฏิรูปแห่งชาติมีหน้าที่ศึกษา
และเสนอแนะเพื่อให้เกิดการปฏิรูปในด้านต่าง ๆ ทั้ง ๑๑ ด้านนั้นดูจะเป็นการกาหนดที่เฉพาะเจาะจง
จนเกินไป และอาจเกิดคาถามตามมาว่าจะกาหนดให้มีด้านอื่น ๆ มากกว่านี้ได้หรือไม่หรือสิ่งที่
กาหนดขึ้นมานี้บางเรื่องมีความจาเป็นหรือไม่ผมเห็นว่าในการขับเคลื่อนประเทศเราอาจกาหนดเป็น
๔ ยุทธศาสตร์ ได้แก่๑. ยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจ ๒. ยุทธศาสตร์ด้านการเมือง ๓. ยุทธศาสตร์ทาง
สังคมจิตวิทยา๔. ยุทธศาสตร์ด้านการป้ องกันประเทศ เกิดคาถามว่าเวลาเราขับเคลื่อนประเทศ จุด
แข็งของประเทศไทยคืออะไร ถ้าคาตอบคือ จุดแข็งด้านเศรษฐกิจ แล้วเหตุใดประเทศไทยจึงประสบ
ภาวะวิกฤติเศรษฐกิจอยู่เรื่อยๆ นั่นหมายความว่าเศรษฐกิจไม่ใช่จุดแข็งที่แท้จริงในทัศนะของผมเห็น
ว่าประเทศไทยมีจุดแข็งอยู่ที่สังคมจิตวิทยา สังคมไทยเราเข้มแข็ง เห็นได้จากไม่ว่าจะเกิดภาวะวิกฤติ
ขนาดไหนหากคุณเดินกลับบ้านอย่างน้อยคุณยังมีข้าวปลาอาหารยังชีพชีวิตยังคงดารงต่อไปได้นี่คือ
ความเข้มแข็งของสังคมที่ไม่เหมือนประเทศอื่นๆ สิ่งเหล่านี้หากเรานามาวางแผนเพื่อการปฏิรูปจะ
เห็นได้ว่าในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยเราจะศึกษาเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจเพียง
อย่างเดียวตามแบบอย่างในต่างประเทศคงไม่ได้เพราะสภาวะเศรษฐกิจของประเทศเราเป็น
เศรษฐกิจแบบพึ่งพาการเกษตรเป็นอย่างมาก ผมจึงเห็นว่าการจะอธิบายเรื่องเศรษฐกิจวิถีที่มีชีวิตให้
ทุกคนได้เข้าใจเราอาจต้องใช้เวลาศึกษากันยาวนาน แต่ถ้าเราลองดูตัวอย่างการดาเนินกิจการของ
บริษัทในเครือเจริญโภคภัณฑ์ที่เป็นที่รู้กันดีว่าเป็นบริษัทที่มีชื่อเสียงและเป็นผู้ผลิตและจาหน่าย
อาหารที่ใหญ่ที่สุดในโลกนั้นได้มีการศึกษาแล้วพบว่า ภาคการเกษตรของประเทศไทยมีความยึดโยง
อยู่กับสภาพดินฟ้าอากาศซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่สามารถกาหนดได้อย่างแน่นอน ดังนั้น จึงมีความพยายามที่
จะนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้เพื่อควบคุมและจัดการสิ่งที่กาหนดไม่ได้ตาม
ธรรมชาติ ยกตัวอย่างเช่น การกาหนดให้สุกรทุกตัวออกมาเป็นพันธุ์เดียวกันกับความต้องการของ
ตลาด เป็นต้น
๕
การร่างรัฐธรรมนูญในครั้งนี้ถือเป็นครั้งแรกที่มีการกาหนดกรอบการจัดทารัฐธรรมนูญ
มาแล้วตั้งแต่ต้นเมื่อคณะกรรมาธิการได้พิจารณากรอบโครงสร้างการจัดทาและได้กาหนดแนวทาง
เบื้องต้นในการพิจารณายกร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ได้ แบ่งโครงสร้างการร่างรัฐธรรมนูญออกเป็น ๔
ภาค ดังนี้บททั่วไป ภาค ๑ พระมหากษัตริย์ และประชาชน ภาค ๒ ผู้นาการเมืองที่ดี และสถาบัน
การเมืองภาค ๓ นิติธรรม ศาล และการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ภาค ๔ การปฏิรูปและการสร้าง
ความปรองดอง จะเห็นว่ามีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในภาคประชาสังคมที่เริ่มเข้ามามีบทบาทและมี
ส่วนเกี่ยวข้องมากยิ่งขึ้น การพิจารณายกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่นี้เราต้องการสร้างความปรองดอง
ให้เกิดขึ้นในสังคมไทยทาอย่างไรให้คนในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้ท่ามกลางความขัดแย้ง สิ่ง
เหล่านี้คณะอนุกรรมาธิการคณะที่ ๑๐ ซึ่งมีศาสตราจารย์พิเศษอเนก เหล่าธรรมทัศน์ เป็นประธาน
อนุกรรมาธิการฯ ได้เสนอหลักการและสาระสาคัญที่ควรบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญไว้โดยให้มี
คณะกรรมการเสริมสร้างความปรองดองแห่งชาติประกอบด้วยตัวแทนจากทุกฝ่ายและผู้ทรงคุณวุฒิ
จากภาคส่วนต่าง ๆ ที่ทุกฝ่ายให้การยอมรับ เพื่อร่วมกันแสวงหาแนวทางในการอยู่ร่วมกันบนความ
แตกต่างทางความคิดและเพื่อให้เกิดความสันติสุขที่ยั่งยืนอย่างแท้จริงในระยะยาวที่จะส่งผลต่อ
เสถียรภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของไทยอย่างแท้จริงต่อไป
จุลนิติ : บทสรุป และข้อเสนอแนะอื่น ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิรูปประเทศอันจะเป็น
ประโยชน์กับทุกภาคส่วนในการร่วมแรงร่วมใจกันปฏิรูปประเทศไทยให้มีความมั่นคงและยั่งยืน
ตลอดไป
พลเอก เอกชัยฯ:การพิจารณายกร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีความพยายามที่จะสร้างสังคมไทย
ให้หลอมรวมกันได้และอาจเป็นรัฐธรรมนูญกาหนดจุดเปลี่ยนผ่านประเทศไทยครั้งแรกที่จะทาให้
ภาคประชาชนมีพื้นที่ในการแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมมากขึ้นกว่าเดิม แล้วก็ลดบทบาทใน
แง่ของอานาจด้านใดด้านหนึ่งที่เคยมีเหนือจากอีกด้านหนึ่ง พยายามจะลดบทบาทตรงนี้ให้อยู่ใน
สมดุลของทั้งหมดนี้ให้ได้อันนี้ก็เป็นสิ่งที่เกิดขึ้น แล้วก็อาจจะเป็นเหมือนนัยว่าครั้งหนึ่งปี ๒๕๔๐ ก็
บอกเป็นรัฐธรรมนูญที่ดี การมีส่วนร่วมและเป็นประชาธิปไตยมากที่สุด ถูกต้องไหม ก็อาจจะเป็น
รูปแบบนั้น เพียงแต่ว่าเผอิญช่วงนี้เป็นช่วงภาวะที่มาจากความขัดแย้ง เราจะทาอย่างปี ๒๕๔๐ ไม่ได้
เต็มที่ แต่ก็ไม่เป็นอุปสรรค สามารถทาได้แล้วเราคิดว่ารัฐธรรมนูญฉบับนี้เป็นฉบับที่ไม่ใช่ว่าพอร่าง
๖
เสร็จแล้วประกาศใช้ก็จบตรงนั้น อาจารย์ชี้แนะว่าจะต้องมีอะไรที่เป็นบทเฉพาะกาลที่ทาให้
รัฐธรรมนูญฉบับนี้สามารถนาไปปฏิบัติตามที่เราต้องการ เราต้องเขียนไว้ว่าเราจะมีการออกแบบ
อนาคตและติดตามการใช้รัฐธรรมนูญไประยะหนึ่งอย่างไร ซึ่งจะเป็นกี่ปีก็แล้วแต่คณะกรรมาธิการ
ในส่วนนั้นก็จะเป็นคนออกแบบ เช่น บอกว่าเราจะต้องดูต่อเนื่องรัฐธรรมนูญใช้ไปจนกระทั่ง ๕ ปี
หลังจากนั้น ๕ ปี ใครจะมาเปลี่ยนจะมาแก้นี้ ไม่ได้เพราะว่าเรามีกรอบของเราชัดเจนแล้ว ถ้าเผื่อจะ
มาเปลี่ยนแก้ต้องมาผ่านขั้นตอนนี้แก้เหมือนเดิมไม่ได้แล้ว แล้วก็ความคิดของผมนะครับ ไม่อยากให้
มีรัฐธรรมนูญที่พอใครมาแก้ก็คือผิดกฎหมาย ผิดกฎหมายก็ต้องออกจากหน้าที่ เว้นวรรคทาง
การเมือง เป็นนักการเมืองต่อไปไม่ได้ แล้วยุบพรรคเขาอะไรอย่างนี้เป็นเรื่องอะไรที่ไม่ค่อยมีสาระ
เท่าไร คือต้องทาให้เกิดกลไกเครื่องมือที่เขาจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขเปลี่ยนได้ แต่ต้องมีคนกลั่นกรอง
เสียก่อน ก่อนที่ไปเข้าสภาแล้วแก้ไข แต่จะแก้ไขตามอาเภอใจที่ตัวเองอยากทาไม่ได้ต่อไป
รัฐธรรมนูญนี้จะต้องเขียนเรื่องนี้ เพื่อป้องกันปัญหานี้ต่อไปในอนาคต
********

More Related Content

Viewers also liked

Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...Taraya Srivilas
 
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือจากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือTaraya Srivilas
 
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็นการปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็นTaraya Srivilas
 
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Taraya Srivilas
 
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1Taraya Srivilas
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมTaraya Srivilas
 
กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)Taraya Srivilas
 
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยพุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-599. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59Taraya Srivilas
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันTaraya Srivilas
 
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีบทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีTaraya Srivilas
 
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์Taraya Srivilas
 
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองTaraya Srivilas
 
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองTaraya Srivilas
 
การบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่นการบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่นTaraya Srivilas
 
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน Taraya Srivilas
 
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจการปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจTaraya Srivilas
 
อยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลกอยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลกTaraya Srivilas
 

Viewers also liked (18)

Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
 
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือจากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
 
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็นการปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
 
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
 
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
 
กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)
 
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยพุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
 
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-599. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
 
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีบทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
 
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
 
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
 
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
 
การบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่นการบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่น
 
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
 
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจการปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
 
อยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลกอยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลก
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

บทสัมภาษณ์

  • 1. คอลัมน์ บทสัมภาษณ์ความเห็นทางวิชาการ ชื่อเรื่อง พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ผู้อานวยการหลักสูตรการเสริมสร้างสังคมสันติสุข สถาบันพระปกเกล้า สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ เรื่อง “การปฏิรูปประเทศไทย : ทิศทางการปฏิรูปและการวางกติกาของบ้านเมือง เพื่อก้าวสู่อนาคตที่มั่นคงและยั่งยืน” เมื่อวันอังคารที่ ๒๕พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณห้องรับรองสมาชิกรัฐสภาอาคารรัฐสภา ๑ ผู้เขียน กองบรรณาธิการ จุลนิติ : ขอทราบถึงความเป็นมา แนวคิด และหลักการที่สาคัญในการปฏิรูปประเทศหรือการ ปฏิรูปสังคมในกรณีของต่างประเทศหรือบางประเทศที่ประสบความสาเร็จนั้นได้มีแนวทางการ ดาเนินการอย่างไรจนเป็นที่ยอมรับของประชาชนในสังคมทุกฝ่ าย พลเอก เอกชัยฯ:จากการศึกษาของสถาบันพระปกเกล้าที่ผ่านมาพบว่า แนวความคิดในการ ปฏิรูปในหลาย ๆ ประเทศมักมีที่มาอันเกิดจากความขัดแย้งของคนในประเทศนาไปสู่การปฏิรูป บาง ประเทศก็นาไปสู่การแก้ไขรัฐธรรมนูญ และมีการจัดตั้งหน่วยงานเพื่อสร้างความปรองดอง ก็จะ สอดคล้องกับแนวคิดในการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับใหม่ของประเทศไทย ในขณะนี้ ซึ่งคณะอนุกรรมาธิการพิจารณากรอบการจัดทารัฐธรรมนูญ คณะที่ ๑๐ ได้พิจารณาใน ภาค ๔ การปฏิรูปและการสร้างความปรองดอง หมวด ๒ การสร้างความปรองดอง ได้เสนอกรอบ แนวคิดเบื้องต้นในการยกร่างรัฐธรรมนูญในส่วนนี้ไว้โดยได้กาหนดสภาพปัญหาหลักว่า เงื่อนไข ของความขัดแย้งโดยทั่วไปเกิดขึ้นจากความเชื่อทางศาสนา ปรัชญา แนวคิดทางการเมือง การพัฒนา ทางเศรษฐกิจและสังคมที่เหลื่อมล้า โดยได้เสนอหลักการที่สาคัญเพื่อเป็นแนวทางแก้ไขปัญหา ดังกล่าว อาทิ การออกแบบและเชื่อมโยงหมวดอื่น ๆ ในรัฐธรรมนูญเพื่อสร้างความปรองดอง ตลอดจนกาหนดให้บุคคลมีหน้าที่ในการเสริมสร้างความปรองดองเพื่อเสถียรภาพความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมของชาติ หากเราศึกษาปัจจัยแห่งความสาเร็จในการปฏิรูปของ ต่างประเทศจะพบว่า ในต่างประเทศจะพยายามสร้างประชาธิปไตยที่ทาให้เกิดการมีส่วนร่วมของ ภาคประชาชน ในขณะที่ประเทศไทยเรามีความพยายามที่จะกาหนดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม มากยิ่งขึ้นเห็นได้จากที่ผ่านมามีการกาหนดในรัฐธรรมนูญถึงแนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของ ประชาชนโดยการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบายและวางแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนใน
  • 2. ๒ การตัดสินใจทางการเมืองรวมถึงการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐทุกระดับ นอกจากนี้ยังมีการ กาหนดให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายด้วย แต่ในความเป็นจริงประชาชน มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมน้อยมาก ยกตัวอย่างกรณีการเข้าชื่อเพื่อเสนอกฎหมายของประชาชน ที่ บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญกาหนดให้กระทาได้แต่กฎหมายที่ประชาชนเสนอเหล่านั้นกลับไม่ได้รับ การพิจารณาจากรัฐสภา สิ่งสาคัญอีกประการหนึ่งที่เราต้องกาหนดให้ประชาชนมีสิทธิและหน้าที่ตลอดจนเข้ามามี ส่วนร่วมคือ การเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการใช้อานาจรัฐและการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ การทาให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของรัฐ เพื่อดูว่าจะเข้ามามีส่วนร่วมในการใช้อานาจ รัฐในกระบวนการขั้นตอนใดบ้างเริ่มตั้งแต่กระบวนการคิด การวางแผน นาไปสู่การปฏิบัติ ต่อเนื่อง ถึงการติดตามเพื่อประเมินผล ทั้งนี้ ประชาชนต้องสามารถเข้ามามีส่วนร่วมตลอดทั้งกระบวนการ เพราะฉะนั้นต่อจากนี้เราต้องพยายามออกแบบให้สิ่งต่างๆเหล่านี้เกิดขึ้นได้จริง เนื่องจากภาวะความ ขัดแย้งทางการเมืองที่เกิดขึ้นในยุคหลังนี้ผมเห็นว่าเกิดขึ้นจากการที่ภาคประชาชนเริ่มเติบใหญ่ เริ่มมี พลัง เริ่มเข้มแข็งและกดดันภาครัฐมากขึ้น กรณีเช่นนี้เกิดขึ้นแล้วในหลายประเทศ เช่น ประเทศ เกาหลีใต้ ประเทศอินโดนีเซีย ที่ในระยะหลังภาคประชาชนมีความเข้มแข็งมากขึ้นและกดดัน ภาครัฐจนนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงและปฏิรูปประเทศในที่สุด จุลนิติ : ขอทราบถึงที่มาและแนวคิดในการที่จะต้องมีการปฏิรูปประเทศไทยอีกคารบหนึ่ง ในสถานการณ์บ้านเมืองปัจจุบัน ตลอดจนสภาพปัญหาและอุปสรรคที่สาคัญอันเกี่ยวกับการปฏิรูป ประเทศที่เกิดขึ้นในอดีตถึงปัจจุบัน พลเอก เอกชัยฯ: ในสถานการณ์ปัจจุบันเราต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอานาจอธิปไตยทั้ง ๓ อานาจ ได้แก่ อานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหาร และอานาจตุลาการ ซึ่งถูกออกแบบมาให้เกิดการ ดุลและคานอานาจซึ่งกันและกัน แต่ในความเป็นจริงกลับไม่เป็นเช่นนั้นที่ผ่านมานักการเมืองมีความ เข้มแข็งและมีอานาจมากจนทาให้บางครั้งฝ่ายนิติบัญญัติก็ตกอยู่ภายใต้อานาจของฝ่ายการเมือง ทั้งหมด ทั้ง ๆ ที่การใช้อานาจอธิปไตยในระบอบประชาธิปไตยได้ถูกออกแบบมาให้ใช้อานาจแยก จากกันทั้ง ๓ ส่วน และเราต้องยอมรับว่าอานาจของตุลาการกลับมามีบทบาท และอานาจเหนือทั้ง
  • 3. ๓ ฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติ นอกจากนี้ในบางครั้งข้าราชการก็กลับขึ้นมามีบทบาทสาคัญ เหนือกว่าบทบาทอานาจของฝ่ายการเมืองเสียอีก ยกตัวอย่างเช่น การกาหนดทิศทางกรอบและ แนวทางในการพัฒนาประเทศด้านเศรษฐกิจและสังคมก็มาจากการดาเนินการของสภาพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติซึ่งมีภารกิจในการกาหนดทิศทางเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม ในการ จัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตัวอย่างของต่างประเทศเช่น ประเทศฟิลิปปินส์กับ ประเทศอินโดนีเซีย การกาหนดนโยบายด้านความมั่นคงของประเทศจะอยู่ภายใต้การควบคุมของ รัฐสภา ส่วนฝ่ ายบริหารมีหน้าที่ในการบริหารอย่างเดียว ต่างจากประเทศไทยของเราที่ผ่านมาล้วน แล้วแต่ให้รัฐบาลทาหน้าที่ในการกาหนดทิศทางประเทศในทุกๆด้านเอง คิดเรื่องงบประมาณเอง รวมถึงบริหารงบประมาณเอง และสุดท้ายก็กลายเป็นว่าบางส่วนไปประมูลงบประมาณนั้นเองซึ่งไม่ ถูกต้องนัก ผมเห็นว่านี่คือปัญหาเชิงโครงสร้างที่เราออกแบบไว้แล้วทาให้เกิดปัญหาเรื่อง ผลประโยชน์ทับซ้อน เกิดปัญหาคอร์รัปชั่นตามมา ซึ่งในต่างประเทศจะแยกอานาจการบริหารไว้ อย่างชัดเจน เช่น ถ้าคุณมีอานาจในการกาหนดเรื่องทิศทางประเทศและงบประมาณแล้ว คุณจะไม่ สามารถจับเงินได้ เรื่องเหล่านี้ถูกแยกจากกันอย่างชัดเจน ส่งผลให้ทั้งประเทศอินโดนีเซีย และ ประเทศฟิลิปปินส์ในขณะนี้สถานการณ์การเมืองเริ่มมีเสถียรภาพมากขึ้น สาหรับประเทศไทยนั้นแตกต่างจากประเทศอื่นๆ ผมมีความเห็นว่าเราจาเป็นต้องสร้าง ดุลยภาพให้เกิดขึ้นใน ๔ ภาคส่วนของอานาจ ได้แก่ ๑. ทหาร ๒. ข้าราชการ ๓. การเมือง และ ๔. ประชาชน คาถามคือจะทาอย่างไรให้ทั้ง ๔ ภาคส่วนนี้เกิดดุลยภาพระหว่างกัน ถ้าเรามองย้อนกลับ ไปในอดีต จะพบว่าทหารมีอานาจเหนือกว่า และนักการเมืองก็กลับมามีอานาจเหนือกว่าทหาร ต่อมาภายหลังรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ฝ่ายทหารได้ปรับโครงสร้าง ทหารจนกระทั่งนักการเมืองไม่สามารถก้าวล่วงเข้าไปมีอานาจเหนือทหารได้ ส่วนภาคประชาชนก็ ยังคงไม่มีอานาจเช่นเดิม อานาจในที่นี้หมายถึงอานาจต่อรองทางด้านเศรษฐกิจ และสังคม อานาจที่ จะเข้าไปมีสิทธิหรือมีส่วนร่วมในด้านการเมือง สิ่งเหล่านี้คือสิ่งสาคัญที่เราจะเขียนรัฐธรรมนูญกัน อย่างไรเพื่อจะสร้างดุลยภาพให้เกิดขึ้นได้เมื่อใดที่เกิดดุลยภาพใน ๔ ส่วนนี้ได้เราจะอยู่ร่วมกันได้ ยั่งยืนยาวนานตลอดไป
  • 4. ๔ จุลนิติ : ในทรรศนะของท่านคิดว่าการปฏิรูปในแต่ละด้านตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ มาตรา ๒๗ ควรมีแนวทางอย่างไร จึง จะประสบผลสาเร็จตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ พลเอก เอกชัยฯ: ในเรื่องนี้ผมมีความเห็นว่าการกาหนดให้สภาปฏิรูปแห่งชาติมีหน้าที่ศึกษา และเสนอแนะเพื่อให้เกิดการปฏิรูปในด้านต่าง ๆ ทั้ง ๑๑ ด้านนั้นดูจะเป็นการกาหนดที่เฉพาะเจาะจง จนเกินไป และอาจเกิดคาถามตามมาว่าจะกาหนดให้มีด้านอื่น ๆ มากกว่านี้ได้หรือไม่หรือสิ่งที่ กาหนดขึ้นมานี้บางเรื่องมีความจาเป็นหรือไม่ผมเห็นว่าในการขับเคลื่อนประเทศเราอาจกาหนดเป็น ๔ ยุทธศาสตร์ ได้แก่๑. ยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจ ๒. ยุทธศาสตร์ด้านการเมือง ๓. ยุทธศาสตร์ทาง สังคมจิตวิทยา๔. ยุทธศาสตร์ด้านการป้ องกันประเทศ เกิดคาถามว่าเวลาเราขับเคลื่อนประเทศ จุด แข็งของประเทศไทยคืออะไร ถ้าคาตอบคือ จุดแข็งด้านเศรษฐกิจ แล้วเหตุใดประเทศไทยจึงประสบ ภาวะวิกฤติเศรษฐกิจอยู่เรื่อยๆ นั่นหมายความว่าเศรษฐกิจไม่ใช่จุดแข็งที่แท้จริงในทัศนะของผมเห็น ว่าประเทศไทยมีจุดแข็งอยู่ที่สังคมจิตวิทยา สังคมไทยเราเข้มแข็ง เห็นได้จากไม่ว่าจะเกิดภาวะวิกฤติ ขนาดไหนหากคุณเดินกลับบ้านอย่างน้อยคุณยังมีข้าวปลาอาหารยังชีพชีวิตยังคงดารงต่อไปได้นี่คือ ความเข้มแข็งของสังคมที่ไม่เหมือนประเทศอื่นๆ สิ่งเหล่านี้หากเรานามาวางแผนเพื่อการปฏิรูปจะ เห็นได้ว่าในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยเราจะศึกษาเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจเพียง อย่างเดียวตามแบบอย่างในต่างประเทศคงไม่ได้เพราะสภาวะเศรษฐกิจของประเทศเราเป็น เศรษฐกิจแบบพึ่งพาการเกษตรเป็นอย่างมาก ผมจึงเห็นว่าการจะอธิบายเรื่องเศรษฐกิจวิถีที่มีชีวิตให้ ทุกคนได้เข้าใจเราอาจต้องใช้เวลาศึกษากันยาวนาน แต่ถ้าเราลองดูตัวอย่างการดาเนินกิจการของ บริษัทในเครือเจริญโภคภัณฑ์ที่เป็นที่รู้กันดีว่าเป็นบริษัทที่มีชื่อเสียงและเป็นผู้ผลิตและจาหน่าย อาหารที่ใหญ่ที่สุดในโลกนั้นได้มีการศึกษาแล้วพบว่า ภาคการเกษตรของประเทศไทยมีความยึดโยง อยู่กับสภาพดินฟ้าอากาศซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่สามารถกาหนดได้อย่างแน่นอน ดังนั้น จึงมีความพยายามที่ จะนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้เพื่อควบคุมและจัดการสิ่งที่กาหนดไม่ได้ตาม ธรรมชาติ ยกตัวอย่างเช่น การกาหนดให้สุกรทุกตัวออกมาเป็นพันธุ์เดียวกันกับความต้องการของ ตลาด เป็นต้น
  • 5. ๕ การร่างรัฐธรรมนูญในครั้งนี้ถือเป็นครั้งแรกที่มีการกาหนดกรอบการจัดทารัฐธรรมนูญ มาแล้วตั้งแต่ต้นเมื่อคณะกรรมาธิการได้พิจารณากรอบโครงสร้างการจัดทาและได้กาหนดแนวทาง เบื้องต้นในการพิจารณายกร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ได้ แบ่งโครงสร้างการร่างรัฐธรรมนูญออกเป็น ๔ ภาค ดังนี้บททั่วไป ภาค ๑ พระมหากษัตริย์ และประชาชน ภาค ๒ ผู้นาการเมืองที่ดี และสถาบัน การเมืองภาค ๓ นิติธรรม ศาล และการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ภาค ๔ การปฏิรูปและการสร้าง ความปรองดอง จะเห็นว่ามีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในภาคประชาสังคมที่เริ่มเข้ามามีบทบาทและมี ส่วนเกี่ยวข้องมากยิ่งขึ้น การพิจารณายกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่นี้เราต้องการสร้างความปรองดอง ให้เกิดขึ้นในสังคมไทยทาอย่างไรให้คนในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้ท่ามกลางความขัดแย้ง สิ่ง เหล่านี้คณะอนุกรรมาธิการคณะที่ ๑๐ ซึ่งมีศาสตราจารย์พิเศษอเนก เหล่าธรรมทัศน์ เป็นประธาน อนุกรรมาธิการฯ ได้เสนอหลักการและสาระสาคัญที่ควรบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญไว้โดยให้มี คณะกรรมการเสริมสร้างความปรองดองแห่งชาติประกอบด้วยตัวแทนจากทุกฝ่ายและผู้ทรงคุณวุฒิ จากภาคส่วนต่าง ๆ ที่ทุกฝ่ายให้การยอมรับ เพื่อร่วมกันแสวงหาแนวทางในการอยู่ร่วมกันบนความ แตกต่างทางความคิดและเพื่อให้เกิดความสันติสุขที่ยั่งยืนอย่างแท้จริงในระยะยาวที่จะส่งผลต่อ เสถียรภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของไทยอย่างแท้จริงต่อไป จุลนิติ : บทสรุป และข้อเสนอแนะอื่น ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิรูปประเทศอันจะเป็น ประโยชน์กับทุกภาคส่วนในการร่วมแรงร่วมใจกันปฏิรูปประเทศไทยให้มีความมั่นคงและยั่งยืน ตลอดไป พลเอก เอกชัยฯ:การพิจารณายกร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีความพยายามที่จะสร้างสังคมไทย ให้หลอมรวมกันได้และอาจเป็นรัฐธรรมนูญกาหนดจุดเปลี่ยนผ่านประเทศไทยครั้งแรกที่จะทาให้ ภาคประชาชนมีพื้นที่ในการแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมมากขึ้นกว่าเดิม แล้วก็ลดบทบาทใน แง่ของอานาจด้านใดด้านหนึ่งที่เคยมีเหนือจากอีกด้านหนึ่ง พยายามจะลดบทบาทตรงนี้ให้อยู่ใน สมดุลของทั้งหมดนี้ให้ได้อันนี้ก็เป็นสิ่งที่เกิดขึ้น แล้วก็อาจจะเป็นเหมือนนัยว่าครั้งหนึ่งปี ๒๕๔๐ ก็ บอกเป็นรัฐธรรมนูญที่ดี การมีส่วนร่วมและเป็นประชาธิปไตยมากที่สุด ถูกต้องไหม ก็อาจจะเป็น รูปแบบนั้น เพียงแต่ว่าเผอิญช่วงนี้เป็นช่วงภาวะที่มาจากความขัดแย้ง เราจะทาอย่างปี ๒๕๔๐ ไม่ได้ เต็มที่ แต่ก็ไม่เป็นอุปสรรค สามารถทาได้แล้วเราคิดว่ารัฐธรรมนูญฉบับนี้เป็นฉบับที่ไม่ใช่ว่าพอร่าง
  • 6. ๖ เสร็จแล้วประกาศใช้ก็จบตรงนั้น อาจารย์ชี้แนะว่าจะต้องมีอะไรที่เป็นบทเฉพาะกาลที่ทาให้ รัฐธรรมนูญฉบับนี้สามารถนาไปปฏิบัติตามที่เราต้องการ เราต้องเขียนไว้ว่าเราจะมีการออกแบบ อนาคตและติดตามการใช้รัฐธรรมนูญไประยะหนึ่งอย่างไร ซึ่งจะเป็นกี่ปีก็แล้วแต่คณะกรรมาธิการ ในส่วนนั้นก็จะเป็นคนออกแบบ เช่น บอกว่าเราจะต้องดูต่อเนื่องรัฐธรรมนูญใช้ไปจนกระทั่ง ๕ ปี หลังจากนั้น ๕ ปี ใครจะมาเปลี่ยนจะมาแก้นี้ ไม่ได้เพราะว่าเรามีกรอบของเราชัดเจนแล้ว ถ้าเผื่อจะ มาเปลี่ยนแก้ต้องมาผ่านขั้นตอนนี้แก้เหมือนเดิมไม่ได้แล้ว แล้วก็ความคิดของผมนะครับ ไม่อยากให้ มีรัฐธรรมนูญที่พอใครมาแก้ก็คือผิดกฎหมาย ผิดกฎหมายก็ต้องออกจากหน้าที่ เว้นวรรคทาง การเมือง เป็นนักการเมืองต่อไปไม่ได้ แล้วยุบพรรคเขาอะไรอย่างนี้เป็นเรื่องอะไรที่ไม่ค่อยมีสาระ เท่าไร คือต้องทาให้เกิดกลไกเครื่องมือที่เขาจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขเปลี่ยนได้ แต่ต้องมีคนกลั่นกรอง เสียก่อน ก่อนที่ไปเข้าสภาแล้วแก้ไข แต่จะแก้ไขตามอาเภอใจที่ตัวเองอยากทาไม่ได้ต่อไป รัฐธรรมนูญนี้จะต้องเขียนเรื่องนี้ เพื่อป้องกันปัญหานี้ต่อไปในอนาคต ********