SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
รักษ์และพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วันพุธที่ 18 ตุลาคม พ.ศ.2560
เวลา 13.30 – 17.00 น. ห้อง Sapphire 102
Satit Kaset MP
อ.ปิยวรรณ สุวรรณโณ อ.พรรณวรท วงศาโรจน์
อ.ศันสนีย์ ตาทิน อ.ปรัชญา จันตา
หน่วยการเรียนรู้ ระบบนิเวศน้าจืด
นางสาวปิยวรรณ สุวรรณโณ
โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โครงการการศึกษาพหุภาษา
สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์
ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหา
ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน้าความรู้ไปใช้
ประโยชน์
ตัวชีวัด
ว 2.1 ป.3/1 ส้ารวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนและ
อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว. 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
จิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึนส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน
สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่
ในช่วงเวลานันๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ
สิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
Science, Technology and Society Approach (STS)
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STS หมายถึง การจัดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ที่บูรณาการสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม
เข้าด้วยกัน โดยเน้นการจัดการเรียนรู้จากปัญหาที่มาจากประสบการณ์
จริงที่เกิดขึนและมีความเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และสังคมโดยการจัดเรียนรู้วิทยาศาสตร์ดังกล่าวจะช่วย
พัฒนาให้นักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์ ทัศนคติทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจน
สามารถน้าความรู้ต่าง ๆ ไปตัดสินใจเกี่ยวกับประเด็นปัญหาที่เกิดขึนใน
ปัจจุบัน และน้าไปปฏิบัติในชีวิตประจ้าวันได้
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ (NOS)
ลักษณะเฉพาะของวิทยาศาสตร์ ที่ท้าให้วิทยาศาสตร์มีความแตกต่าง
จากศาสตร์อื่น ๆที่ผสมผสานระหว่างสังคมวิทยาศาสตร์และปรัชญา
วิทยาศาสตร์ การท้างานของวิทยาศาสตร์ วิธีการค้นพบและพัฒนาการ
ของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และสังคม
การจัดการเรียนรู้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์แบบชัดแจ้ง เป็นการ
กระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเข้าใจลักษณะของ
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ในขณะที่ท้ากิจกรรมในห้องเรียนโดยใช้
วิธีการต่าง ๆ เช่น การอภิปราย การสะท้อนความคิด การระบุค้าถาม
บริบทของกิจกรรม การสืบเสาะหาความรู้ และประวัติวิทยาศาสตร์
(กาญจนา มหาลี, 2553; Khishfe and Khalick, 2002; Schawartz
et al., 2004)
การจัดการเรียนรู้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์แบบชัด
แจ้ง (Explicit Approach)
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STS กับ 5E
STS (นฤมล ยุตาคม, 2542) 5E (สสวท., 2549)
ขันสงสัย
ขันสร้างความสนใจ
ขันวางแผน
ขันค้นหาค้าตอบ ขันส้ารวจและค้นหา
ขันสะท้อนความคิด ขันอธิบายและลงข้อสรุป
ขันแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ขันขยายความรู้
ขันน้าไปปฏิบัติ ขันประเมิน
เนือหา
ระบบนิเวศน้าจืด
สิ่งมีชีวิต
สิ่งไม่มีชีวิต
ระบบนิเวศ
มลพิษทางน้า
สายใยอาหาร
ห่วงโซ่อาหาร
การจัดการเรียนรู้ STS ร่วมกับ Explicit
Approach
หมายถึง การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่บูรณาการวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และสังคม และมีการสอดแทรกธรรมชาติของวิทยาศาสตร์เข้า
ด้วยกัน มีขันตอนการจัดการเรียนรู้ 6 ขันตอน (นฤมล ยุตาคม, 2542)
ได้แก่
1. ขันสงสัย 2. ขันวางแผน
3. ขันค้นหาค้าตอบ 4. สะท้อนความคิด
5. ขันแลกเปลี่ยนประสบการณ์ 6. ขันน้าไปปฏิบัติ
ขันสงสัย (I Wonder)
ลักษณะกิจกรรม
- พานักเรียนไปส้ารวจสระน้าจืด
- ให้นักเรียนบันทึกสิ่งที่รู้แล้ว
และเข้าใจ
เป็นการจัดกิจกรรมตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียน และให้นักเรียน
เกิดความสงสัยและตังค้าถามเกี่ยวกับสิ่งที่สนใจจากประเด็นปัญหาที่
พบในสังคม
การตรวจสอบความรู้เดิม
การตังค้าถาม
ลักษณะกิจกรรม
- ทบทวนค้าถามเชิงวิทยาศาสตร์
- น้าภาพน้าเสียรอบ ๆ บริเวณโรงเรียน
มาให้นักเรียนดู
- หาข่าวน้าเสียที่ส่งผลกระทบต่อแหล่ง
ชุมชนมาให้นักเรียนดู
- นักเรียนตังค้าถาม และท้าบัตรค้าถาม
- จัดกลุ่มค้าถามตามหัวข้อ
- แบ่งหน้าที่ในกลุ่ม
ขันวางแผน (I Plan)
ลักษณะกิจกรรม
สมาชิกในกลุ่มร่วมกันวางแผนหาค้าตอบและน้าเสนอการวางแผนหา
ค้าตอบของแต่ละกลุ่ม
NOS  วิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมทางสังคมที่สลับซับซ้อน
เป็นการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้วางแผนหาค้าตอบด้วยวิธีการ
ที่เหมาะสมกับค้าถามของนักเรียน
ขันค้นหาค้าตอบ (I Investigate)
เป็นกิจกรรมที่จัดให้นักเรียนได้ค้นหาค้าตอบตามแผนที่ได้วาง
ไว้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การอ่านหนังสือในห้องสมุด การสืบค้น
ทางอินเทอร์เน็ต การสัมภาษณ์ผู้รู้ การทดลอง เป็นต้น โดยการ
ใช้แหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย
ลักษณะกิจกรรม
- น้านักเรียนไปสืบค้นโดยการอ่านหนังสือในห้องสมุด
- นักเรียนหาวิธีท้าให้ค้าตอบน่าเชื่อถือ
NOS  วิทยาศาสตร์ต้องการหลักฐาน
การสืบค้นในห้องสมุด
การทดลอง (มลพิษในสระน้าจ้าลอง)
ลักษณะกิจกรรม
- ท้าการทดลองเรื่องมลพิษในสระน้าจ้าลอง
NOS  การดาเนินงานทางวิทยาศาสตร์ต้องมีจรรยาบรรณ
NOS  ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เปลี่ยนแปลงได้
การทดลอง (การบ้าบัดน้าเสีย)
ลักษณะกิจกรรม
- ท้าการทดลองเรื่องการบ้าบัดน้าเสีย
NOS  การดาเนินงานทางวิทยาศาสตร์ต้องมีจรรยาบรรณ
ขันสะท้อนความคิด (I Reflect)
ลักษณะกิจกรรม
- นักเรียนสะท้อนความรู้และสิ่งที่ได้พบ
เห็นในการค้นหาค้าตอบ
- ผู้ฟังท้าการบันทึกความรู้
- ใช้เทคนิคไม้วิเศษ (Talking Stick)
NOS  โลกเป็นเรื่องที่สามารถเข้าใจได้
เป็นการจัดกิจกรรมให้นักเรียน
สะท้อนสิ่งที่ได้เรียนรู้และสิ่งที่ได้
ค้นพบจากการค้นหาค้าตอบของ
นักเรียน
ขันแลกเปลี่ยนประสบการณ์ (I Share)
ลักษณะกิจกรรม
- ชีแจงหัวข้อการประเมินผลให้นักเรียน
- นักเรียนน้าเสนอผลงาน
- ผู้ฟังบันทึกความรู้
เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้น้าเสนอผลการค้นหาค้าตอบให้แก่นักเรียน
กลุ่มอื่น ๆ ฟัง ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การรายงาน การสาธิต เป็นต้น
ขันน้าไปปฏิบัติจริง (I Act)
ลักษณะกิจกรรม
- ระดมความคิดหาวิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาน้า
เสีย
- ลงมือปฏิบัติจริง
เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้น้าสิ่งที่เรียนรู้มา
ใช้ในชีวิตประจ้าวัน โดยการจัดกิจกรรมให้
นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง
กิจกรรมการบ้าบัดน้าเสีย
ค้าชีแจง : ออกแบบและสร้างเครื่องกรองน้าเพื่อบ้าบัดน้าเสียให้
สามารถน้ามาใช้งานได้
อุปกรณ์ : ขวด กรวดหยาบ กรวดละเอียด ทรายหยาบ ทราย
ละเอียด ถ่าน ส้าลี (เลือกได้เพียง 6 อย่าง)
เวลา : วางแผน 5 นาที ลงมือท้า 3 นาที ทดสอบ 2 นาที
การประเมิน : กลุ่มที่น้าใสที่สุด
การบ้าบัดน้าเสีย กับ สะเต็มศึกษา
Science (S) : ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสมบัติของสารต่างๆ
ที่ใช้ในการกรอง
Technology (T) : การใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยในการสืบค้นความรู้
การใช้แอปพลิเคชันในการทดสอบสิ่งต่าง ๆ
Engineering (E) : การวางแผน และการออกแบบเครื่องกรองน้า
Mathermatics (M) : การตวงสารชนิดต่าง ๆ
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด ป.3

More Related Content

Similar to กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด ป.3

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...Sircom Smarnbua
 
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmapPrachoom Rangkasikorn
 
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmapPrachoom Rangkasikorn
 
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014Sircom Smarnbua
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยMpiizzysm
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)Thakhantha
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 Thakhantha
 
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1Sircom Smarnbua
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11Aobinta In
 
Hibiscus herbarium group7 room333
Hibiscus herbarium group7 room333Hibiscus herbarium group7 room333
Hibiscus herbarium group7 room333PakananKhlibthong
 
59 ssh e news
59 ssh e news59 ssh e news
59 ssh e newsshm-nstda
 
60 ssh e newss
60 ssh e newss60 ssh e newss
60 ssh e newssshm-nstda
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล Sircom Smarnbua
 
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพวSircom Smarnbua
 

Similar to กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด ป.3 (20)

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
วิจัย59
วิจัย59วิจัย59
วิจัย59
 
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
 
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
 
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014
งานนำเสนอโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2014
 
ตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงานตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงาน
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
 
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
652 pre5
652 pre5652 pre5
652 pre5
 
Hibiscus herbarium group7 room333
Hibiscus herbarium group7 room333Hibiscus herbarium group7 room333
Hibiscus herbarium group7 room333
 
656 pre10
656 pre10656 pre10
656 pre10
 
59 ssh e news
59 ssh e news59 ssh e news
59 ssh e news
 
60 ssh e newss
60 ssh e newss60 ssh e newss
60 ssh e newss
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
 

กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด ป.3