SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Download to read offline
ข้อมูลอ้างอิงจากหนังสือ
Marketing 4.0
การตลาด 4.0
เขียนโดย Phillip Kotler
Hermawan Kartajaya
Iwan Setiawan
ณงลักษณ์ จารุวัฒน์ แปล
ต อ น ที่ 3
การตลาดเชิงกลวิธี ในระบบเศรษฐกิจดิจิทัล
CONTENTS
8
การตลาดที่ให้
ความสาคัญกับความ
เป็นมนุษย์เพื่อเพิ่มความ
น่าสนใจแก่แบรนด์
9
การตลาดคอนเทนต์ เพื่อ
กระตุ้นความอยากรู้อยาก
เห็นเกี่ยวกับแบรนด์
10
การตลาดแบบเข้าถึง
แบรนด์ได้ทุกช่องทาง
เพื่อเสริมสร้างความ
มุ่งมั่นที่มีต่อแบรนด์
11
การตลาดความผูกพัน
และการมีส่วนร่วมเพื่อ
ยกระดับความนิยม
ชมชอบแบรนด์
การตลาดที่ให้ความสาคัญกับความเป็น
มนุษย์เพื่อเพิ่มความน่าสนใจแก่แบรนด์8
เข้าใจมิติความเป็นมนุษย์โดยอาศัยการวิจัยมานุษยวิทยาเชิงดิจิทัล
01 Social Listening
02 Netnography
03 Emphatic Research
Social Listening
เป็นกระบวนการเชิงรุกเพื่อตรวจสอบเสียงสะท้อนว่าผู้บริโภคพูดถึงแบรนด์อย่างไรบ้างใน
อินเตอร์เน็ตโดยเฉพาะอย่างยิ่งในโซเชียลมีเดียและชุมชนออนไลน์ต่างๆโดยใช้ซอฟต์แวร์ตรวจสอบโซเชียล
มีเดียเพื่อคัดกรองข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้างชัดเจนที่มีอยู่มากมายมหาศาลและใช้กระบวนการการวิเคราะห์
ข้อมูลจานวนมหาศาลในเชิงลึกทาให้ข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้างชัดเจนเหล่านั้นกลายเป็นข้อมูลคัดกรองเกี่ยวกับ
ผู้บริโภคที่แบนนามาใช้ประโยชน์ได้
Netnography
มีลักษณะคล้าย ethnography ที่มุ่งศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในสถานที่จริง โดย
ผู้วิจัยต้องเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในชุมชนผู้บริโภคมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆสังเกตและเก็บข้อมูลโดยไม่
ก่อให้เกิดความยากและความราคาญแก่ผู้บริโภค
netnography ต่างจาก social listening ตรงที่ผู้วิจัยต้องเข้าไปเป็นสมาชิกในชุมชนออนไลน์
ของผู้บริโภคที่ตนวิจัยอยู่ร่วมกันอย่างกลมกลืนสร้างความสัมพันธ์พูดคุยได้เห็นหกเห็นใจเพื่อนสมาชิก
ด้วยกันดังนั้น netnography จึงเป็นรูปแบบหนึ่งของการเชื่อมโยงระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ในกระบวนการ
การทาวิจัยการตลาด
Emphatic Research
ทีมผู้วิจัยต้องเข้าไปอยู่ในกลุ่มชุมชนของผู้บริโภคที่ต้องการวิจัยก็สังเกตพฤติกรรมที่ผู้บริโภคแสดงออกมาเช่น
ในเวลากลัดกลุ้มใจ หรือประหลาดใจ ผู้วิจัยแต่ละคนจะใช้ประสบการณ์และความชานาญเฉพาะทางของตอนสรุปสิ่งที่
สังเกตเห็นออกมาเป็นผลวิจัยจากนั้นก็รวบรวมผลวิจัยเรานั้นมาระดมความคิดเพื่อสังเคราะห์เป็นข้อมูลเชิงลึกซึ่งอาจ
นามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่เอาแบบวิธีการใหม่ๆ ในการใช้งานผลิตภัณฑ์หรือการให้บริการเพื่ออานวย
ความสะดวกแก่ผู้บริโภคหรือสร้างสรรค์แคมเปญทางการตลาดที่ทาให้ผู้บริโภคประทับใจชนิดคาดไม่ถึง
คุณลักษณะ 6 ประการของแบรนด์ที่ให้ความสาคัญต่อความเป็นมนุษย์
รูปลักษณ์ดึงดูดใจ
ถึงพร้อมด้วยสติปัญญา
เข้ากับคนอื่นได้
เข้าใจความรู้สึกของคนอื่น
รู้จักตัวเอง
มีคุณธรรม
คุณลักษณะ 6 ประการของแบรนด์ที่ให้ความสาคัญต่อความเป็นมนุษย์
รูปลักษณ์ดึงดูดใจ
รูปลักษณ์ที่ดึงดูดใจของแบรนด์มาจาก อัตลักษณ์ของแบรนด์ (brand identity) อีกทั้งยังสามารถสื่อสารออกมาได้ผ่าน
การออกแบบผลิตภัณฑ์หรือการนาเสนอประสบการณ์ที่จะทาให้ผู้บริโภคจะสามารถประทับใจได้
การใช้ Google Doodle ในวาระพิเศษหรือฉลองวันครบรอบวันสาคัญ
อ้างอิงรูป : www.google.com
คุณลักษณะ 6 ประการของแบรนด์ที่ให้ความสาคัญต่อความเป็นมนุษย์
Apple เป็นเลิศด้านการออกแบบ
อุตสาหกรรมและส่วนประสานงาน
โดย Apple Store ถูกจัดให้เป็น
สุดยอดของร้านค้าปลีก
อ้างอิงรูป : www.howtogeek.com
คุณลักษณะ 6 ประการของแบรนด์ที่ให้ความสาคัญต่อความเป็นมนุษย์
ถึงพร้อมด้วยสติปัญญา
แบรนด์ที่มีคุณลักษณะทางด้านสติปัญญาจะเป็นแบรนด์ที่มีนวัตกรรม นาเสนอผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ที่คู่แข่งหรือ
ผู้บริโภคไม่เคยคิดมาก่อน ซึ่งจะเป็นแบรนด์ที่สามารถแก้ปัญหาของผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิผล
แอพพลิเคชั่น airbnb ที่นาเอาเทคโลโลยี
มาผนวกกับการจองห้องพักของคนในท้องถิ่น เป็นแบ
รนด์ที่มีสติปัญญาสามารถนาเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ได้เป็นรายแรกๆ
อ้างอิงรูป : www.brandinside.asia
คุณลักษณะ 6 ประการของแบรนด์ที่ให้ความสาคัญต่อความเป็นมนุษย์
Tesla บริษัทชั้นนาด้านนวัตกรรมยานยนต์ อาทิ รถยนต์ไฟฟ้า เทคโนโลยีการ
วิเคราะห์เพื่อข้อมูลยานยนต์ โดยมีลักษณะเด่นด้านสติปัญญา ทาให้เป็นแบรนด์ที่แรงดึงดูดสูง
อ้างอิงรูป : www.tesla.com
คุณลักษณะ 6 ประการของแบรนด์ที่ให้ความสาคัญต่อความเป็นมนุษย์
เข้ากับคนอื่นได้
แบรนด์ที่สามารถสื่อสารทั้งแบบใช้คาพูดและไม่ใช้คาพูด แบรนด์ที่มีคุณลักษณะดังกล่าวจะไม่กลัวการพูดคุยกับผู้บริโภค ยินดี
รับฟังความเห็นของลูกค้า ตอบคาถาม แก้ไขปัญหาของลูกค้าอย่างเอาใจใส่ ติดตามดูว่าลูกค้าคุยกันอย่างไรบ้าง มีปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าอย่าง
สม่าเสมอผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ และแบ่งปันข้อมูลที่เป็นประโยชน์ผ่านโซเชียลมีเดียที่ลูกค้านิยมใช้
แอดมิน Facebook Fanpage KFC ที่มีการสื่อสารพูดคุยกับผู้ติดตาม
หรือการมีส่วนร่วมเมื่อเป็นที่กล่าวถึงบนโลกโซเชียลออนไลน์
อ้างอิงรูป : www.thairath.co.th
www.pantip.com
คุณลักษณะ 6 ประการของแบรนด์ที่ให้ความสาคัญต่อความเป็นมนุษย์
เข้าใจความรู้สึกของคนอื่น
แบรนด์ที่เข้าใจความรู้สึกของผู้บริโภคจะสามารถผลักดันให้ผู้บริโภคทาในสิ่งที่ต้องการได้ สร้างความผูกพันกับผู้บริโภค
ด้วยการแบ่งปันสาระที่มีประโยชน์ที่สร้างแรงบันดาลใจหรือสร้างเรื่องราวสนุกสนานที่อ่านแล้วขบขัน
Dove ออกแคมเปญรณรงค์ สนับสนุนให้ผู้หญิงรู้จักคุณค่าของ
ตัวเอง ส่งเสริมให้ผู้หญิงรักและชื่นชมความงดงามของตัวเอง
อ้างอิงรูป : www.dove.com
คุณลักษณะ 6 ประการของแบรนด์ที่ให้ความสาคัญต่อความเป็นมนุษย์
รู้จักตัวเอง
คนที่รู้จักตนเอง รู้ว่าทาอะไรได้ดี ยอมรับว่ายังมีเรื่องที่ต้องเรียนรู้ แสดงออกถึงความมั่นใจ และกระตุ้นที่จะพัฒนาตนเองอยู่
เสมอ แบรนด์ที่มีคุณลักษณะ ข้อนี้จะรู้ว่าแบรนด์มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร กล้ายอมรับว่ายังมีจุดบกพร่องและรับผิดชอบทุกสิ่งที่ทาไป
อ้างอิงรูป : www.livekindly.co
คุณลักษณะ 6 ประการของแบรนด์ที่ให้ความสาคัญต่อความเป็นมนุษย์
มีคุณธรรม
แบรนด์ที่มีคุณธรรมจะขับเคลื่อนด้วยค่านิยมที่ถูกต้อง การตัดสินใจของธุรกิจทุกอย่างตั้งอยู่บนพื้นฐานของจรรยาบรรณ บางแบรนด์ถึงกับ
นาเอาการดาเนินธุรกิจอย่างมีจรรยาบรรณของตนมาเป็นจุดเด่นที่แตกต่างจากแบรนด์อื่น รักษาคามั่นสัญญาอยู่เสมอ แม้ว่าผู้บริโภคจะไม่ได้
เฝ้าตรวจสอบก็ตาม
Knorr Nigeria จัด
แคมเปญรณรงค์ให้ผู้บริโภคหันมา
ใส่ใจสุขภาพ โดยการรับประทาน
อาหารที่มีธาตุหลังมากยิ่งขึ้น ลด
สภาวะการขาดสารอาหารของ
ประชากรในประเทศไนจีเรีย
อ้างอิงรูป : www.facebook.com
การตลาดคอนเทนต์ เพื่อกระตุ้นความ
อยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับแบรนด์9
คอนเทนต์คือการโฆษณายุคใหม่ และ แฮชแท็ก (#) คือสโลแกนยุคใหม่
การตลาดคอนเทนต์(Content Marketing) คือการตลาดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์จัดการ
เผยแพร่ และเพิ่มพลังให้แก่คอนเทนต์ที่มีเนื้อหาน่าสนใจ ตรงประเด็น และมีประโยชน์ต่อกลุ่มเป้าหมายที่
กาหนดไว้อย่างชัดเจน เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพูดคุยเกี่ยวกับเนื้อหานั้นๆ
ปัจจุบันแทบทุกบริษัทใช้การตลาดคอนเทนต์เป็นเครื่องมือทางการตลาดไม่มากก็น้อย ในปี
2016 มีบริษัทที่ทาธุรกิจแบบบริษัทกับผู้บริโภค (business-to-consumer B2C) และบริษัทที่ทาธุรกิจ
แบบบริษัทกับบริษัท(business-to-business B2B) ในทวีปอเมริกาเหนือ ประมาณ 76% และ 88%
ตามลาดับ ที่ใช้การตลาดคอนเทนต์ โดยใช้งบประมาณ 32% และ 28% ของงบประมาณการตลาดทั้งหมด
นักการตลาดคอนเทนต์ต่างเห็นว่า คอนเทนต์คือการโฆษณายุคใหม่ และแฮชแท็ก (#) ที่ใช้กับคอนเทนต์ที่
เผยแพร่ในโซเชียลมีเดียเทียบได้กับคาขวัญ หรือ สโลแกนที่ใช้ในการโฆษณาแบบดั้งเดิม
ตัวอย่างแฮชแท็กหรือสโลแกน
อิชิตัน ชาผลไม้.. อารมณ์ดี๊ดี พรีเซนเตอร์คือ ฟิล์ม ธนภัทร กาวิละ ที่กาลังเป็นที่นิยมจาก
ละครเรื่อง เมีย2018 มีการติดแฮชแท็กในโซเชียลฯ #ichitanhappy #สามีแห่งความแฮปปี้ เป็นต้น
การตลาดคอนเทนต์คืออนาคตของโฆษณาในยุตเศรษฐกิจดิจิตอล การตลาดคอนเทนต์
เกิดขึ้นได้เพราะอินเตอร์เน็ตนาความโปร่งใสเข้ามา การเชื่อมโยงผ่านระบบอินเตอร์เน็ตทาให้ผู้บริโภค
พูดคุยและค้นหาความจริงเกี่ยวกับแบรนด์ได้ อ้างอิงรูป : www.twitter.com
การตลาดคอนเทนต์ – ทีละขั้นตอน
การตลาดคอนเทนต์ประกอบด้วยการผลิตและการเผยแพร่เนื้อหา นักการตลาดอาจจะให้หน่วยงาน
ภายในเป็นผู้ผลิตคอนเทนต์ หรือคัดเลือกจากแหล่งภายนอกแล้วนามาเผยแพร่ผ่านช่องทางต่างๆผสมผสาน
กันให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด อย่างไรก็ตาม ความผิดพลาดที่พบบ่อยที่สุดในกลยุทธ์การตลาดคอนเทนต์ คือ
นักการตลาดด่วนผลิตและเผยแพร่คอนเทนต์ทันที โดยไม่ได้เตรียมการก่อนผลิต และวางแผนกิจกรรม
สนับสนุนหลังจากเผยแพร่คอนเทนต์ไปแล้ว
8 ขั้นตอนที่นักการตลาดควรปฏิบัติในการทาการตลาดคอนเทนต์
1 * กาหนดวัตถุประสงค์
เสริมสร้างแบรนด์
เพิ่มยอดขาย
วัตถุประสงค์ของการตลาดคอนเทนต์ควรสอดคล้องกับวัตถุประสงค์โดยรวมของธุรกิจ แล้ว
กาหนดออกมาเป็นตัวชี้วัดสาคัญเพื่อใช้ในการประเมินผล
การกาหนดวัตถุประสงค์ช่วยให้นักการตลาดออกแบบกลยุทธ์การตลาดคอนเทนต์ได้ดียิ่งขึ้น
ถ้าวัตถุประสงค์เป็นเรื่องยอดขาย ก็ต้องวางแผนให้ช่องทางเผยแพร่คอนเทนต์สอดคล้องกับช่องทางขาย
ตัวอย่าง เช่น www.birchbox.com เป็นเว็บไซด์เกี่ยวกับความงามที่เป็นที่นิยมในประเทศสหรัฐอเมริกา เป็น
บริการสั่งผลิตภัณฑ์ความงามในระบบสมาชิกออนไลน์ เขียนบล็อก หรือคลิปวิดีโอ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์นั้นๆ เนื่องจากการ
เพิ่มยอดขายเป็นวัตถุประสงค์สาคัญของ Birchbox จึงออกแบบให้มีปุ่ม “Shop This Story” อยู่ด้านล่างบล็อก หรือคลิป
วิดีโอ เพื่อให้สมาชิกคลิกซื้อผลิตภัณฑ์ในบล็อก หรือคลิปวิดีโอทันทีถ้าต้องการ
8 ขั้นตอนที่นักการตลาดควรปฏิบัติในการทาการตลาดคอนเทนต์
อ้างอิงรูป : www.birchbox.com
8 ขั้นตอนที่นักการตลาดควรปฏิบัติในการทาการตลาดคอนเทนต์
2 กาหนดกลุ่มเป้าหมาย
กาหนดกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการให้ชัดเจนและรัดกุม การกาหนดกลุ่มเป้าหมายย่อยที่เฉพาะเจาะจงจะช่วยให้
นักการตลาดสร้างคอนเทนต์ที่มีเนื้อหาลึกซึ้งและเฉียบคมยิ่งขึ้น ส่งผลให้การเล่าเรื่องราวของแบรนด์มีประสิทธิผลมากขึ้น
เมื่อกาหนดกลุ่มเป้าหมายได้แล้ว นักการตลาดต้องบรรยายบุคลิกลักษณะเฉพาะ และพฤติกรรมของ
กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งจะช่วยให้เห็นภาพว่าคนเหล่านั้นมีลักษณะอย่างไรในชีวิตจริง จากนั้นก็วิจัยเพื่อค้นหาว่าพวกเขามีความ
กังวลใจหรือมีความปรารถนาอะไรบ้าง ข้อมูลเชิงลึกเหล่านี้จะบอกให้นักการตลาดรู้ว่ากลุ่มเป้าหมายอยากอ่านคอนเทนต์ที่มี
เนื้อหาอย่างไรและสร้างคอนเทนต์ที่ช่วยให้กลุ่มหมายบรรเทาความกังวลใจและบรรลุในสิ่งที่ปรารถนา
อ้างอิงรูป : www.projecthipop.org
8 ขั้นตอนที่นักการตลาดควรปฏิบัติในการทาการตลาดคอนเทนต์
3 คิดหาไอเดียและวางแผนผลิตคอนเทนต์
เรื่องราวที่มีสาระสาคัญตรงกับความสนใจ จัดทาในรูปแบบที่เหมาะสม และบรรยายได้อย่างน่าติดตาม คือ
องค์ประกอบที่ทาให้แคมเปญการตลาดคอนเทนต์ประสบความสาเร็จ ในการเลือกเรื่องราวที่มีสาระสาคัญเหมาะสมแก่การนา
เสนนอสิ่งที่นักการตลาดควรพิจารณามี 2 ข้อ คือ
3.1 คอนเทนต์ที่ดีต้องมีเนื้อหาที่เกี่ยวกับชีวิตลูกค้า ต้องช่วยขจัดความกังวลใจ และทาให้
ลูกค้าบรรลุในสิ่งที่ปรารถนา
3.2 คอนเทนต์ที่ได้ผลต้องประกอบด้วยเรื่องราวที่สะท้อนคุณลักษณะ และหลักการของ
แบรนด์ หมายความว่าคอนเทนต์นั้นต้องทาหน้าที่เป็นสะพานเชื่อมระหว่างเรื่องราวของแบรนด์ กับความกังวลใจ
หรือความปรารถนาของลูกค้า
8 ขั้นตอนที่นักการตลาดควรปฏิบัติในการทาการตลาดคอนเทนต์
4 ผลิตคอนเทนต์
การผลิตคอนเทนต์คือขั้นตอนที่สาคัญที่สุดตคอนเทนต์ไม่ใช่งานชั่วคราว แต่เป็นงานที่ต้องทุ่มเทอย่างเต็มที่ใน
แง่ระยะเวลาและงบประมาณ ถ้าคอนเทนต์ไม่มีความสดใหม่ไม่มีสาระที่น่าสนใจ แคมเปญการตลาดคอนเทนต์นั้นก็จะสูญ
เปล่า และอาจสร้างความเสียหายได้อีกด้วย ดังนั้นบริษัทจะเป็นผู้กาหนดว่าใครจะเป็นผู้ผลิตและควรผลิตเมื่อใด โดย
ผู้ผลิตคอนเทนต์จะเป็นทีมงานภายในบริษัทหรือจ้างผลิตโดยบุคคลภายนอก(เอเจนซี่)ก็ได้
เช่นแคมเปญ Idea Brewery ของ Heineken ที่เชิญชวนให้ลูกค้าส่งรูปและคลิปวีดีโอเสนอแนะว่าในอนาคต
ควรเสิร์ฟและดื่มเบียร์สดกันอย่างไร
8 ขั้นตอนที่นักการตลาดควรปฏิบัติในการทาการตลาดคอนเทนต์
อ้างอิงรูป : www.isys6621.com
8 ขั้นตอนที่นักการตลาดควรปฏิบัติในการทาการตลาดคอนเทนต์
5 เผยแพร่คอนเทนต์
คือการเผยแพร่คอนเทนต์ออกไปให้ถึงกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน โดยผ่านช่องทางสื่อต่างๆ โดยสื่อที่นักการตลาด
สามารถใช้เป็นช่องทางการเผยแพร่คอนเทนต์แบ่งออกเป็น 3 ประเถท ได้แก่
1.สื่อที่แบรนด์เป็นเจ้าของ (owned media) หมายถึง สื่อที่แบรนด์ควบคุมได้อย่าเต็มที่จะเผยแพร่คอนเทนต์เมื่อใด
ก็ได้ เช่น สิ่งพิมพ์ที่แบรนด์ผลิตเอง การส่งข้อความผ่านโทรศัพท์มือถือ เว็บไซต์บล็อก โซเชียลมีเดีย และแอพพลิเคชั่นต่างๆที่แบ
รนด์จัดทาและเป็นเจ้าของ สื่อเหล่านี้จะเจาะตรงถึงกลุ่มลูกค้าและเข้าถึงจากัดในกลุ่มคนที่เป็นกลุ่มลูกค้าของแบรนด์อยู่แล้ว
อ้างอิงรูป : www.facebook.com
2.สื่อซื้อ (paid media) หมายถึง สื่อที่แบรนด์ต้องจ่ายเงินในการเผยแพร่ ได้แก่ สื่อโฆษณาดั้งเดิม
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อสิ่งพิมพ์และสื่อดิจิทัลเป็นต้น นักการตลาดมักใช้สื่อนี้ในการเข้าถึงและหาผู้บริโภคเป้าหมายที่
อาจกลายมาเป็นลูกค้าใหม่ในอนาคต
8 ขั้นตอนที่นักการตลาดควรปฏิบัติในการทาการตลาดคอนเทนต์
3.สื่อได้เปล่า (earned media) หมายถึง สื่อที่แบรนด์ได้มาจากการบอกต่อแบบ
ปากต่อปากหรือจากการสนับสนุนของผู้บริโภค สื่อได้เปล่าเป็นสื่อที่ทาให้ผู้บริโภคได้เห็นได้
ยินเรื่องราวเกี่ยวกับแบรนด์ได้ที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ปกติสื่อได้เปล่าจะไม่เกิดขึ้นเองต้องอาศัย
สื่อแบรนด์เป็นเจ้าของและสื่อซื้อทางานร่วมกันจึงเกิดเป็นปากต่อปาก
อ้างอิงรูป : www.britanika.com
8 ขั้นตอนที่นักการตลาดควรปฏิบัติในการทาการตลาดคอนเทนต์
6 เพิ่มพลังให้แก่คอนเทนต์
การเพิ่มพลังให้แก่คอนเทนต์ เป็นกลยุทธ์สาคัญของการเผยแพร่คอนเทนต์ผ่านสื่อได้เปล่า ถ้าคอน
เทนต์ไปถึงผู้บริโภคที่มีพลังโน้มน้าวสูงในกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการ คอนเทนต์นั้นจะถูกเผยแพร่ออกไปเป็นวงกว้างใน
ลักษณะไวรัล เช่น ดอกมุราคามิ ที่ใช้ดาราหรือบุคคลที่ได้รับความนับถือในกลุ่มคนหมู่มากและมีผู้ชมหรือ
ผู้ติดตามจานวนมากเป็นผู้กระจายคอนเทนต์ เมื่อคอนเทนต์ได้รัยการขยายความและแพร่กระจายแล้วนักการ
ตลาดต้องคอยติดจามผล โดยกระตุ้นให้เกิดการพูดคุยในคนหมู่มาก
8 ขั้นตอนที่นักการตลาดควรปฏิบัติในการทาการตลาดคอนเทนต์
7 ประเมินผล
การประเมินผลความสาเร็จของการตลาดคอนเทนต์เป็นงานสาคัญต่อจาก
การเผยแพร่คอนเทนต์ ต้องอาศัยการวัดผลเชิงกลยุทธ์และกลวิธี ในเชิงกลยุทธ์
นักการตลาดต้องประเมินว่ากลยุทธ์การตลาดคอนเทนต์นั้นบรรลุวัตถุประสงค์ด้าน
ยอดขายและด้านการเสริมสร้างแบรนด์ตามที่กาหนดไว้ในขั้นตอนที่ 1 หรือไม เนื่องจาก
วัตถุประสงค์เหล่านี้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์โดยรวมของธุรกิจการประเมินผลในส่วน
นี้อาจรวมไว้กับการวัดผลการดาเนินงานโดยรวมของบริษัท
อ้างอิงรูป : www.youtube.com
8 ขั้นตอนที่นักการตลาดควรปฏิบัติในการทาการตลาดคอนเทนต์
เชิงกลวิธี นักการตลาดควรตรวจสอบตัวชีวัดสาคัญ ซึ่งขึ้นอยู่กับรูปแบบและช่องทางการเผยแพร่ที่เลือกใช้ นอกจากนี้ยังต้องติดตาม
คอนเทนต์ว่าเกิดผลลัพธ์อะไรบ้างตลอดเส้นทาง
•ตัวชี้วัดด้านการมองเห็น เช่น ยอดวิว จานวนคนที่เข้าร่วมเว็ปไซต์ อัตรากรคลิกเข้า-ออก ระยะเวลาเข้าชมเว็ปไซต์ ฯลฯ
•ตัวชี้วัดด้านการค้นหา เช่น ตาแหน่งคอนเทนต์ที่ปรากฏในผลลัพธ์การค้นหา คีย์เวิร์ดและการค้นหาของเสิร์ชเอนจิ้นที่มีคนคลิกเข้าไปดูเว็ป
ไซต์ของบริษัท
•ตัวชี้วัดการลงมือทา ได้แก่ อัตราการคลิกเข้าไปอ่านคอนเทนต์ต่อจานวนครั้งที่เห็นโฆษณานั้น
•ตัวชี้วัดการลงมือทา เช่น การลงทะเบียนหรือการสั่งซื้อเป็นต้น
•ตัวชี้วัดการแชร์ เช่น อัตราการแชร์มากน้อยเพียงใด อัตราการแชร์ต่อจานวนครั้งที่เห็นคอนเทนต์ และอัตราส่วนการมีส่วนร่วม เช่น
Twitter,กดชอบ,กดตอบหรืออ้างอิงถึง
8 ขั้นตอนที่นักการตลาดควรปฏิบัติในการทาการตลาดคอนเทนต์
8 ปรับปรุงแก้ไข
คือการประเมินและวัดผลการดาเนินงานของการตลาด
คอนเทนต์ โดยตรวจสอบจากสาระสาคัญ รูปแบบและสื่อที่ใช้เป็นช่อง
ทางการเผยแพร่คอนเทนต์นั้นๆ ข้อมูลที่ได้มาจากการวัดผลจะ
นามาใช้วิเคราะห์สรุปหาวิธีแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น นอกจากนี้นักการตลาด
สามารถใช้ช่องทางการเผยแพร่ใหม่ๆได้ง่ายขึ้นอีกด้วย
การตลาดแบบเข้าถึงแบรนด์ได้ทุกช่องทาง
เพื่อเสริมสร้างความมุ่งมั่นที่มีต่อแบรนด์10
สู่ยุคการตลาดแบบเข้าถึงแบรนด์ได้ทุกช่องทาง
ยุคการตลาดแบบเข้าถึงแบรนด์ได้ทุกช่องทาง (omnichannel marketing) การตลาดที่บูรณาการหลายๆ
ช่องทางเพื่อให้ผู้บริโภคมีประสบการณ์กับแบรนด์อย่างราบรื่น ต่อเนื่องไม่ติดขัด ด้วยการจัดระเบียบช่องทาง
ต่าง ๆ ให้ทางานประสานกัน ผสานเป้าหมายและกลยุทธ์ของแต่ละช่องทางให้สอดคล้องกัน ที่งช่องทางออนไลน์
และออฟไลน์ เพื่อผลักดันให้ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อ
การตลาดแบบomnichannel พิสูจน์แล้วว่าสามารถผลักดันยอดขายได้ ผลการวิจัยโดย
International Data Corporation หรือ IDC ระบุว่า ลูกค้าที่ซื้อสินค้าโดยต่อต่กับแบรนด์ในทุกช่องทางจะ
ให้ผลกาไลรวมแก่แบรนด์ตลอดช่วงชีวิตของลูกค้า (customer lifetime value : CLV) สูงกว่าลูกค้าที่ซื้อ
สินค้าช่องทางเดียวถึง 30 %
แนวโน้มที่ 1: บทบาทของธุรกรรมผ่านอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ในระบบเศรษฐกิจ “ปัจจุบัน”
สู่ยุคการตลาดแบบเข้าถึงแบรนด์ได้ทุกช่องทาง
ในระบบเศรษฐกิจ “ปัจจุบัน” การตลาดแบบเรียลไทม์ที่เชื่อมโยงผู้ซื้อกับผู้ขายเข้าด้วยกันโดยตรงอย่าง Uber และ Airbnb
จึงได้รับความนิยมมาก
โทรศัพท์มือถือคือปัจจัยสาคัญที่ผลักดันให้เกิดปรากฏการณ์นี้ ไม่มีอุปกรณ์ใดที่ใกล้ชิดผู้บริโภคได้มากกว่า
โทรศัพท์มือถือ ดังนั้นเมื่อธุรกิจ start-up นาเสนอผลิตภัณฑ์และบริการแบบทันใจแบบ on-damand จึงได้รับการตอบรับอย่างล้น
หลาม
สู่ยุคการตลาดแบบเข้าถึงแบรนด์ได้ทุกช่องทาง
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชนิดสวมใส่ (wearables) เป็นอุปกรณ์อีกประเภทหนึ่งที่จะโหนกระแส
การตลาดแบบ omnichannelให้ได้รับความนิยมมากขึ้นอุปกรณ์คนสวมใส่ติดตัวเหล่านี้ใกล้ชิดตัวลูกค้า
เกือบตลอดเวลา จึงช่วยให้นักการตลาดเก็บข้อมูลเรื่องรูปแบบเส้นทางผู้บริโภคได้ด้วย
ตัวอย่าง BMW UK เปิดให้ลูกค้าสั่งซื้อรถยนต์ผ่านโทรศัพท์มือถือได้แค่ลูกค้าใช้โทรศัพท์มือถือสแกนรูป
รถยนต์ BMW ที่เห็นในป้ายโฆษณาหรือสื่อสิ่งพิมพ์ เพียงเท่านี้ก็จะเข้าไปสู่เว็ปไซต์ของบริษัทเพื่อดูรายละเอียดของรถยนต์
และสั่งซื้อ กระบวนการทั้งมดใช้เวลาเพียง 10 นาที
อ้างอิงรูป : www.bmw.uk
สู่ยุคการตลาดแบบเข้าถึงแบรนด์ได้ทุกช่องทาง
แนวโน้มที่ 2 : “เว็ปรูมมิ่ง” มาสู่ช่องทางออฟไลน์
เทคโนโลยีเซนเซอร์หลายชนิด เช่น เทคโนโลยีบอกพิกัด (beacon) และการใช้คลื่นความถี่วิทยุระบุเอกลักษณ์วัตถุหรือตัว
บุคคล (radio frequency identification : RFID) ช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวได้ด้วยการนา “เว็ปรูมมิ่ง” เข้ามาใช้ภายในร้าน
ยกตัวอย่าง เช่น Apple tore GameStop และ Macy’s ติดตั้งอุปกรณ์บอกพิกัดไว้ตามจุดต่าง ๆ ภายในร้าน อุปกรณ์
เหล้านี้ใช้เทคโนโลยี Bluetooth ติอต่อสื่อสารกับสมาร์ตโฟนของลูกค้าเมื่อลูกค้าเดินเข้ามาใกล้ ทาให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องมือถือ
ถึงเครื่องมือ (machine-to-machine connection) อุปกรณ์บอกพิกัดเหล่านี้ทาให้ผู้ค้าปลีกรู้ว่าลูกค้าอยู่ตรงจุดไหนภายในร้าน และ
ยังตรวจสอบได้ว่าลูกค้ามักแวะไปที่แผนกใด ใช้เวลาที่แผนกนั้นนานเท่าไร อุปกรณ์ดังกล่าวจะเตือนให้ผู้ค้าปลีกส่งข้อความโปรโมชั่นพิเศษ
เฉพาะลูกค้ารายนั้นไปที่สมาร์ตโฟนของลูกค้าตามพิกัดสถานที่ที่ระบุไว้ เมื่อผู้ค้าปลีกมีข้อมูลพฤติกรรมการซื้อของลูกค้ามากขึ้น ก็จะ
สามารถคัดสรรข้อเสนอพิเศษที่เหมาะกับลูกค้าแต่ละคนได้ดียิ่งขึ้น ช่วยกระตุ้นให้ลูกค้าตัดสินใจซื้อได้อีกด้วย
สู่ยุคการตลาดแบบเข้าถึงแบรนด์ได้ทุกช่องทาง
อุปกรณ์ RFID บนป้ายเสื้อที่สามารถส่งคลื่นความถี่วิทยุ
ออกไปทาให้กระจกในห้องลองเสื้อกลายเป็นจอแสดงคลิปวีดีโอนางแบบสาธิต
การสวมใสเสื้อผ้าชุดนั้น
อ้างอิงรูป : www.promotions.co.th
สู่ยุคการตลาดแบบเข้าถึงแบรนด์ได้ทุกช่องทาง
แนวโน้มที่ 3 : นา “โชว์รูมมิ่ง” มาสู่ช่องทางออนไลน์
นักการตลาดอาจนาข้อดีของการช้อปปิ้งแบบออฟไลน์มาสู่ช่องทางออนไลน์ได้ด้วยการนาเทคนิค “โชว์รูมมิ่ง” มาปรับใช้
ซูเปอร์มาเก็ต Tesco ในเกาหลีใต้เป็นตัวอย่างที่เด่นมากในเรื่องนี้ Tesco สร้างซูเปอร์มาเก็ตเสมือนจริง ผนังในอาคารสถานที่
สาธารณะเช่น สถานีรถไฟใต้ดิน ถูกแปรให้เป็นวางสินค้าลูกค้าที่ไม่มีเวลาไปจับจ่ายในซูเปอร์มาร์เก็ต อาจติดตั้งแอพพลิเคชั่น
Homeplus แล้วใช้สมาร์ตโพนสแกนรูปสินค้าที่ต้องการระหว่างรอรถไฟกลับบ้าน Tesco จะจัดส่งสินค้าทั้งหมดให้ถึงบ้าน
“โชว์รูมมิ่ง” ทาให้ลูกค้าชมและเลือกซื้อสินค้าโดยใช้ประสาทสัมผัสในพื้นที่เชิงกายภาพ มีการติอต่อเชื่อมโยงระหว่างมนุษย์
ถึงมนุษย์ในขณะช้อปปิ้ง
การซื้อสินค้าจาก Tesco Lotus เพียงการแสกนบาร์โค้ด ที่
เป็นโชว์รูมมิ่ง อยู่บริเวณชานชลาสถานีรถไฟฟ้า
อ้างอิงรูป : www.retailprophet.com
สู่ยุคการตลาดแบบเข้าถึงแบรนด์ได้ทุกช่องทาง
IKEA แก้ปัญหานี้ด้วยการใช้แอพพลิเคชั่นความเป็นจริงเสริม
(augmented reality application) รวมกับแคตาล็อคสินค้าที่จัดพิมพ์
เป็นเล่ม ลูกค้าเพียงแต่ดาวน์โหลดแอพพลิเคชั่นนี้ในอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่
แล้ววางเล่มแคตตาล็อคสินค้าไว้ตรงตาแหน่งที่ต้องการวางเฟอร์นิเจอร์
จากนั้นก็จะเห็นภาพเฟอร์นิเจอร์เสมือนจริงปรากฏอยู่ตรงตาแหน่งนั้นผ่าน
ทางแอพพลิเคชั่น
อ้างอิงรูป : www.brandbuffet.in.th
www.inrban.in.th
เสริมประสบการณ์แบบเขาถึงแบนรด์ได้ทุกช่องทางด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่
“โชว์รูมมิ่ง” และ “เว็บรูมมิ่ง” ต้องใช้อุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่เป็นส่วนต่อประสาน (interface) เพื่อ
สร้างประสบการณ์แก่ผู้บริโภค นอกจากบทบาทในฐานะส่วนต่อประสานแล้วอุปกรณ์เหล่านี้ยังทาหน้าที่เก็บ
ข้อมูล และเป็นสะพานเชื่อมระหว่างโลกดิจิทัลกับโลกออฟไลน์ที่ดีมากอีกด้วย ทาให้นักการตลาดมองเห็นภาพ
ลูกค้าใช้ช่องทางออนไลน์และออฟไลน์ได้อย่างต่อเนื่อง
การทาธุรกรรมผ่านอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ “เว็ปรูมมิ่ง” “โชว์รูมมิ่ง” และการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อ
บริหารช่องทาง เป็นแนวโน้มสาคัญที่นักการตลาดต้องศึกษาทาความเข้าใจ เพราะมันช่วยเพิ่มยอดขาย และ
บูรณาการช่องทางสื่อสารของแบนรด์ เพื่อส่งมอบประสบการณ์แบบองค์รวมผ่านทุกช่องทางให้แก่ลูกค้า
การตลาดแบบเข้าถึงแบรนด์ได้ทุกช่องทาง – ทีละขั้นตอน
1.การพัฒนากลยุทธ์การตลาดแบบ omnichannel ให้ได้ผลดี
1.1นักการตลาดต้องศึกษาเส้นทางผู้บริโภคอย่างละเอียด
1.2ต้องระบุจุดที่แบรนด์สัมผัสกับลูกค้าและช่องทางทั้งหมดตลอดทุกช่วงในโมเดล 5A’s
(เนื่องจากผู้บริโภคอาจมีปฏิสัมพันธ์กับแบรนด์ผ่านทางจุดสัมผัสและช่องทางต่าง ๆ )
2.นักการตลาดต้องค้นหาให้ได้ว่าช่องทางไหนและจุดสัมผัสไหนที่ผู้บริโภคนิยมใช้มากที่สุด
ขั้นตอนที่ 1 : กาหนดจุดสัมผัสและช่องทางทั้งหมดตลอดเส้นทางผู้บริโภค
1.ต้องกาหนดจุดที่ผู้บริโภคสัมผัสแบรนด์ (touchpoint) และช่องทาง (channel) ทั้งหมดที่มีอยู่ตลอดทุกช่วงโมเดล 5A’s
*จุดสัมผัส หมายถึง จุดที่ผู้บริโภคมีปฏิสัมพันธ์กับแบรนด์ ทั้งโดยตรงและอ้อม ออนไลน์และออฟไลน์
ตัวอย่างเช่น ตอนที่ผู้บริโภคเริ่มรู้จักผลิตภัณฑ์ใดผลิตภัณฑ์หนึ่ง ขณะที่ลงมือทา
หรือตอนที่ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ นาไปใช้ และรับบริการจากผลิตภัณฑ์นั้น
*ช่องทาง หมายถึง สื่อกลางทั้งออนไลน์และออฟไลน์ที่ผู้บริโภคใช้ติดต่อมีปฏิสัมพันธ์กับแบรนด์
ช่องทางมีอยู่ 2 ประเภท คือ ช่องทางการสื่อสาร , ช่องทางขาย
*ช่องทางสื่อสาร หมายถึง ช่องทางที่ใช้ส่งข้อมูลและคอนเทนต์ของแบรนด์ เช่น โทรทัศน์ , สื่อสิ่งพิมพ์ ,
โซเชียลมีเดีย , เว็บไซต์ , ศูนย์บริการ
*ช่องทางขาย หมายถึง ช่องทางที่จัดให้มีขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกแก่การทาธุรกรรมซื้อขาย
เช่น ร้านค้าปลีก , ทีมงานขาย , เว็บไซต์ธุรกิจอี-คอมเมิร์ซ , เจ้าหน้าที่ขายโทรศัพท์ , การออกร้านจาหน่าย
การตลาดแบบเข้าถึงแบรนด์ได้ทุกช่องทาง – ทีละขั้นตอน
2.จุดที่ผู้บริโภคสัมผัสแบรนด์อาจมีเพียงหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งช่องทางก็ได้
เช่น จากสื่อสิ่งพิมพ์ , แบนเนอร์โฆษณา , ศูนย์บริการ ,พนักงานงานขาย
3.ในทานองเดียวกัน แต่ละช่องทางอาจรองรับจุดสัมผัสหลายจุดก็ได้
เช่น ศูนย์บริการอาจเป็นจุดสัมผัสระหว่างผู้บริโภคกับแบรนด์ ได้รู้จักแบรนด์หรือสั่งซื้อกับแบรนด์ก็ได้
ปัญหา คือ การมีจุดสัมผัสและช่องทางจานวนมากทาให้แบรนด์ครอบคลุมตลาดได้กว้างขวาง แต่ในขณะเดียวกันก็ทาให้การวางแผน
กลยุทธ์การตลาดแบบ omnichannel ยุ่งยากขึ้นด้วย
นักการตลาดแก้ปัญหาโดยการรักษาสมดุลระหว่างการครอบคลุมตลาด (market coverage) กับความสะดวกเรียบง่าย
(simplicity) เพื่อให้กลยุทธ์การตลาดของตนสอดคล้องกันและไม่ซับซ้อนเกินไป
การตลาดแบบเข้าถึงแบรนด์ได้ทุกช่องทาง – ทีละขั้นตอน
การตลาดแบบเข้าถึงแบรนด์ได้ทุกช่องทาง – ทีละขั้นตอน
การตลาดแบบเข้าถึงแบรนด์ได้ทุกช่องทาง – ทีละขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 2 : ระบุจุดสัมผัสและช่องทางที่สาคัญที่สุด
1.ผู้บริโภคแต่ละคนอาจเลือกมีปฏิสัมพันธ์กับแบรนด์ผ่านทางจุดสัมผัสและช่องทางต่าง ๆ ไม่เหมือนกันและในลาดับที่ต่างกัน เราเรียกสิ่ง
นี้ว่า สถานการณ์เส้นทางผู้บริโภค
ตัวอย่างเช่น ลูกค้าที่ซื้อรถยนต์อาจเห็นแบนเนอร์โฆษณาในเว็บไซต์แห่งหนึ่ง คลิกที่แบนเนอร์เข้าไปสู่เว็บไซต์ที่ให้ข้อมูล
เพิ่มเติมเกี่ยวกับรถยนต์นั้น หลังจากนั้นก็นัดหมายไปทดลองขับ และในที่สุดก็ตัดสินใจซื้อ
2.ยังมีสถานการณ์เส้นทางผู้บริโภคอีกหลายสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้ ซึ่งทาให้การทาการตลาดแบบ omnichannel ซับซ้อนขึ้น
3.นักการตลาดต้องให้ความสาคัญกับจุดสัมผัสและช่องทางที่ได้รับความนิยมมากที่สุด
(เรื่องนี้อาจใช้หลักการพาเรโต (Pareto principle) หรือกฎ 80/20 เป็นแนวทางได้นั่นคือ 80% ของผู้บริโภคจะปฏิบัติตามสถานการณ์เส้นทาง
ผู้บริโภค 20% แรกที่ได้รับความนิยมมากที่สุด
การตลาดแบบเข้าถึงแบรนด์ได้ทุกช่องทาง – ทีละขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 3 : ปรับปรุงและบูรณาการจุดสัมผัสและช่องทางที่สาคัญที่สุด
1.ประเมินเพื่อปรับปรุงจุดสัมผัสและช่องทางที่สาคัญที่สุด
(เพราะเป็นขั้นตอนที่มีผลต่อความสาเร็จของกลยุทธ์การตลาดแบบ omnichannel )
2.บริษัทควรจัดโครงสร้างองค์กรที่จะนากลยุทธ์เหล่านี้ไปสู่การปฏิบัติ เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับประสบการณ์ที่ดีในการเข้าเข้าถึงแบ
รนด์จากทุกช่องทาง
3.สามารถส่งเสริมทีมงานต่าง ๆ ภายในบริษัทที่รับผิดชอบชอบบริหารช่องทางต่าง ๆ ให้เป็นทีมเดียว
(บ่อยครั้งพบว่าความร่วมมือจะมีมากขึ้นถ้าบริษัทรวมรวมทีมงานที่รับผิดชอบช่องทางต่าง ๆ ให้เป็นทีมเดียว)
4.บูรณาการเป้าหมายตลอดจนงบประมาณเข้าด้วยกัน เพื่อให้ทุกคนร่วมมือทางานอย่างกลมกลืน
5.คิดหาวิธีจัดสรรงบประมาณที่มีอยู่เพื่อบรรลุเป้าหมายโดยไม่คานึงว่าจะเป็นช่องทางใด
6.วัตถุประสงค์ในการทางานมีเพียงหนึ่งเดียว คือ ส่งมอบประสบการณ์ที่ประทับใจแก่ลูกค้า และผลักดันยอดขายให้ได้มากที่สุด
จากกลยุทธ์การตลาดแบบ omnichannel
การตลาดความผูกพันและการมีส่วนร่วม
เพื่อยกระดับความนิยมชมชอบแบรนด์11
ถ้านักการตลาดโน้มน้าวผู้บริโภคจากช่วงรับรู้ไปสู่ช่วงลงมือทาได้สาเร็จ ก็ถือว่าจบกระบวนการที่เรียกว่า"วงจรการขาย"(Sale
Cycle) ขั้นตอนสุดท้ายในเส้นทางผู้บริโภคนี้เอง ที่ทาให้การตลาดดิจิทัลต่างจากการตลาดแบบดั้งเดิม ระบบเศรษฐกิจดิจิทัลมีอานาจมากขึ้น
เพราะการเชื่อมโยงกันผ่านอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่และชุมชนผู้บริโภคในโซเชียลมีเดียมีเพิ่มมากกว่าแต่ก่อน
การจะทาให้ลูกค้าที่ซื้อสินค้าเป็นครั้งแรกกลายเป็นผู้สนับสนุนที่ภักดีต่อแบรนด์ต้องอาศัยกิจกรรมเสริมสร้างความผูกพันและการมี
ส่วนร่วมของผู้บริโภคหลายอย่าง เทคนิคที่พิสูจน์แล้วว่าสามารถดึงดูดลูกค้ายุคดิจิทัล ให้เข้ามามีส่วนร่วมกับแบรนด์ได้มากขึ้นมีอยู่ 3 เทคนิค
คือ
1. ใช้แอพพลิเคชั่นสาหรับอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ (Mobile Apps) เพื่อสร้างประสบการณ์ที่น่าประทับใจแก่ลูกค้า
2. การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าผ่านโซเชียลมีเดีย(Social CRM) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพูดคุยและช่วยแก้ปัญหา
3. ใช้หลักการเรื่องเกม (gamification) ดึงดูดลูกค้าเพื่อผลักดันให้เกิดพฤติกรรม ที่ต้องการ
การตลาดความผูกพันและการมีส่วนร่วมเพื่อยกระดับความนิยมชมชอบแบรนด์
อ้างอิงรูป : www.access-informations.com
เสริมสร้างประสบการณ์ดิจิทัลที่น่าประทับใจด้วยแอพพลิเคชั่นสาหรับอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่
ผู้บริโภคในปัจจุบันใช้สมาร์ทโฟนทากิจกรรมหลายอย่างไม่ว่าจะเป็นการอ่านข่าวสารแชร์คอนเทนต์ ติดตามความเคลื่อนไหวต่างๆ ดังนั้น
จึงเป็นช่องทางที่ดีที่สุดในการสร้างความผูกพันกับลูกค้า นักการตลาดจึงต้องเข้าถึงและดึงลูกค้าให้เข้ามามีส่วนร่วมกับแบรนด์ผ่านทาง แอพใน
สมาร์ทโฟน
โดยทั่วไปแอพของแบรนด์สามารถทาหน้าที่ได้หลายอย่าง เช่น
1. เป็นสื่อแสดงผลคอนเทนต์ (เช่นวีดีโอและเกม) ยกตัวอย่าง Pokemon Go App
2. ใช้เป็นช่องทางทาธุรกรรมต่างๆด้วยตนเองโดยลูกค้าเข้าถึงข้อมูลบัญชีผู้ใช้งานของตนและทารายการต่างๆด้วยตนเองได้ยกตัวอย่างเช่น
Toyota Financial Services app
3. ใช้ร่วมกับผลิตภัณฑ์หรือบริการหลักเพื่อให้ลูกค้าได้รับประสบการณ์ที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้นเช่น แอพ My BMW Remote และ แอพ MMI
Connect ของรถยนต์ Audi
อ้างอิงรูป : www.whatphone.net
การพัฒนาแอพที่ดีเพื่อใช้งานกับอุปกรณ์การสื่อสารเคลื่อนที่มีหลายขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1 กาหนดหน้าที่ของแอพ
นักการตลาดต้องทาวิจัยเพื่อค้นหาว่าลูกค้าใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการแล้วมีเรื่องอะไรหงุดหงิดใจบ้าง เมื่อทราบแล้วก็หาวิธีพัฒนาแอพมาเพื่อ
แก้ไขปัญหาเหล่านั้น
ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบโปรแกรมการทางานหลักและส่วนประสานงานผู้ใช้
เมื่อกาหนดหน้าที่ของแอพได้แล้วนักการตลาดต้องออกแบบโปรแกรมการทางานหลักของแอพ แนวโน้มสาคัญที่กาลังเป็นที่
นิยมคือ SoLoMoแอพของแบรนด์ที่ใช้ได้ผลดีมักมีโปรแกรมการทางานที่ใช้ร่วมกันและแชร์ต่อได้ บอกพิกัดสถานที่ได้ และใช้งานเคลื่อนที่ได้
ขั้นตอนที่ 3 พัฒนาระบบสนับสนุนส่วนหลัง
แอพส่วนใหญ่ไม่สามารถทางานด้วยตัวของมันเองได้มันเป็นเพียงส่วนประสานงานผู้ใช้ที่ต้องรวมเข้ากับระบบสนับสนุนส่วน
หลัง นักการตลาดจึงต้องคิดหาวิธีว่าจะนาแอพมารวมกับองค์ประกอบ ด้านการสนับสนุนอย่างไรโดยที่ลูกค้าไม่ทันสังเกตแต่มีความสาคัญต่อ
การสร้างประสบการณ์ที่น่าประทับใจแก่ลูกค้า ยกตัวอย่างเช่น Walgreens app
แก้ปัญหาให้ลูกค้าด้วยการบริการความสัมพันธ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าผ่านโซเชียลมีเดีย(Social CRM) แตกต่าง จากการบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า (CRM)
แบบดั้งเดิมอย่างมาก CRM เป็นการดาเนินงานที่ขับเคลื่อนโดยบริษัท ซึ่งควบคุมการสื่อสารกับลูกค้าโดยใช้ช่องทางที่ตนเลือก แต่ Social
CRM เป็นกิจกรรมที่ขับเคลื่อน โดยผู้บริโภคซึ่งจะเป็นคนเริ่มกระบวนการสื่อสารด้วยการส่งคาถามเข้ามาหาแบรนด์ผ่านทางโซเชียลมีเดีย
มีรูปแบบเป็นการพูดคุยกัน เป็นการสนทนาอย่างต่อเนื่องระหว่างแบรนด์กับผู้บริโภคหรือใครก็ตามที่เห็นคาตอบของแบรนด์สามารถเข้า
มาร่วมวงสนทนาได้รวมทั้งคนที่อาจเป็นลูกค้าด้วย
อ้างอิงรูป : www.techimplement.com
ลักษณะการใช้งาน Social CRM มีอยู่ 3 อย่างคือ
1. ใช้เพื่อฟังเสียงสะท้อนจากผู้บริโภค
2. ใช้เป็นเครื่องมือให้แบรนด์เข้าไปร่วมวงสนทนากับผู้บริโภค
3. ใช้แก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนที่อาจเป็นชนวนก่อให้เกิดวิกฤติแก่แบรนด์
อ้างอิงรูป : www.sites.psu.edu
แก้ปัญหาให้ลูกค้าด้วยการบริการความสัมพันธ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ขั้นตอนที่ 1 จับความรู้สึกแล้วรีบตอบสนอง
Social CRM ต้องอาศัยอัลกอริทึมของ Social Listening เป็นเครื่องมือตรวจสอบคัดกรอง และจัดลาดับความสาคัญของบทสนทนาเหล่านั้น
บางคนอาจพูดคุยกับเพื่อนบนโซเชียลมีเดียโดยไม่อ้างถึงชื่อแบรนด์ ไม่ได้ถามคาถามไปที่แบรนด์โดยตรง อัลกอริทึมควรได้รับการออกแบบให้
บ่งชี้ด้วยว่าเรื่องไหนที่ดาเนินการได้ แบรนด์เข้าไปร่วมวงสนทนาและแก้ปัญหาได้นอกจากนี้ระบบควรตรวจหาข้อร้องเรียนที่รุนแรง ตลอดจน
ความรู้สึกด้านลบของผู้บริโภค เพื่อที่บริษัทจะได้เร่งแก้ไขก่อนเกิดปัญหา
ขั้นตอนที่ 2 พัฒนาและเพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่ให้บริการ Social CRM
Social CRM เป็นภารกิจที่ไม่สามารถใช้เครื่องมืออัตโนมัติทางานแทนได้อย่างเต็มรูปแบบแบรนด์ที่ต้องการพัฒนาแพลตฟอร์ม
Social CRM จึงต้องสรรหาและพัฒนาเจ้าหน้าที่บริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าผ่านโซเชียลมีเดียที่มีความเข้าอกเข้าใจสูง มีบุคลิกภาพและ
ทัศนคติที่เหมาะสม และได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับวิธีการพูดคุยกับลูกค้าเพื่อทาหน้าที่เป็นตัวแทนของแบรนด์
ขั้นตอนที่ 3 ให้สมาชิกในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
ในระยะยาวการตอบทุกคาถามในโซเชียลมีเดียเป็นไปได้ยากดังนั้นจึงต้องเปลี่ยนวิธีคิดและวิธีทางานใหม่ แทนที่จะตอบทุกเรื่อง
ด้วยตนเอง บริษัทเปิดโอกาสให้ผู้สนับสนุนที่ภักดีต่อแบรนด์อาสาเข้ามาช่วยงานบ้าง บางครั้งการให้ผู้สนับสนุนที่ภักดีต่อแบรนด์เข้ามาช่วยตอบ
หรือคลี่คลายคอมเมนต์เชิงลบ ก็เป็นผลดีต่อ แบรนด์ เพราะลูกค้ามีแนวโน้มเชื่อคาตอบจากคนที่เป็นลูกค้าเหมือนกันมากกว่า
ใช้หลักการเรื่องเกมผลักดัน ให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการ
การนาหลักการเรื่องเกม(gamification) มาใช้เป็นวิธีที่ได้ผลมากอย่างหนึ่ง เพื่อเพิ่มความผูกพันและการมี
ส่วนร่วมของลูกค้าส่วนใหญ่นามาใช้ในโปรแกรมเสริมสร้างความภักดีของลูกค้า (loyalty Program) และใช้ในชุมชน
ผู้บริโภค แม้จะยังมีความเห็นแบ่งแยกเป็นหลายฝ่ายแต่การใช้เกมได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
โปรแกรมเสริมสร้างความภักดีของลูกค้าที่นาหลักการเรื่องเกมมาใช้ในยุคแรกสุดคือโปรแกรมสะสมไมล์ ของ
สายการบินซึ่งต้องการผูกใจลูกค้าให้เดินทางด้วยสายการบินเดิมทุกครั้งลูกค้าสะสมคะแนนหรือไมล์ เพื่อแลกรับตั๋ว
โดยสาร ผลิตภัณฑ์ หรือบริการต่างๆ โปรแกรมเหล่านี้ ส่วนใหญ่จะมีการแบ่งลูกค้าออกเป็นระดับต่างๆเพื่อกระตุ้นให้
ลูกค้าสะสมคะแนนมากขึ้น
ใช้หลักการเรื่องเกมผลักดัน ให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการ
อ้างอิงรูป : www.brandbuffet.in.th
ใช้หลักการเรื่องเกมผลักดัน ให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการ
ตัวอย่างเช่น TripAdvisor
ใช้เกมดึงดูดให้ให้สมาชิกเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น ในชุมชนออนไลน์ของผู้บริโภคจะได้คะแนนหรือตราเชิดชูเกียรติเป็นรางวัล จะต้อง
เขียนรีวิวที่มีเนื้อหาดีมีคุณภาพ ของรางวัล คะแนน เหล่านี้จึงเป็นเครื่องกระตุ้นให้ผู้บริโภคเขียนรีวิว
TripAdvisor มอบตราเชิดชูเกียรติที่เรียกว่า Trip Collection badge เพื่อขอบคุณสมาชิกที่เขียนรีวิวส่งเข้ามา สมาชิกที่ส่งรีวิวเข้ามามากขึ้น
จะได้รับการปรับสถานะให้สูงขึ้น โดยแบ่งเป็น 6 ระดับ ตั้งแต่ ระดับ New Reviewer (เขียนรีวิว 1 เรื่อง) ไปจนถึงระดับ Top Contributor
(เขียนรีวิวมากกว่า 50 เรื่อง) ตราเชิดชูเกียรติยังออกแบบเป็นหลายเป็นประเภท เช่น โรงแรม ร้านอาหาร
นอกจากนี้ TripAdvisor ยังส่งอีเมลแจ้งอันดับและสถานะของนักรีวิวแต่ละคนเปรียบเทียบกับนักรีวิวคนอื่น เพื่อกระตุ้นให้ไต่อันดับด้วยการ
เขียนรีวิวมากขึ้น
ใช้หลักการเรื่องเกมผลักดัน ให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการ
อ้างอิงรูป : www.tripadviser.com
นักการตลาดที่ใช้หลักการเรื่องเกมมากระชับความผูกพันกับลูกค้าให้แน่นแฟ้นควรปฏิบัติตามขั้นตอน 3 ประการ ดังต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 กาหนดสิ่งที่ต้องการให้ลูกค้าทา
คือกิจกรรมที่เกมสามารถกระตุ้นหรือโน้มน้าวให้ลูกค้ากระทาได้ เช่น การซื้อ การแนะนาลูกค้าใหม่ และการชาระเงิน เมื่อลูกค้าทา
เรียบร้อยแล้วก็จะได้คะแนนเป็นรางวัล ยิ่งทามากก็ได้คะแนนมาก บางโปรแกรมอาจจะกระตุ้นให้ลูกค้าแนะนาลูกค้าใหม่ เช่น ลูกค้าที่แนะนา
เพื่อนให้มาสมัคร ลูกค้าก็จะได้คะแนนสะสมเพื่อใช้คะแนนสะสมเพื่อใช้บริการฟรี
หรือใช้หลักการเกมเพื่อกระตุ้นให้ลูกค้าทากิจกรรมอื่นเช่นการรีวิว ผู้ที่รีวิวก็จะได้คะแนนสะสม
ใช้หลักการเรื่องเกมผลักดัน ให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการ
อ้างอิงรูป : www.promotions.co.th
ใช้หลักการเรื่องเกมผลักดัน ให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการ
ขั้นตอนที่ 2 อธิบายวิธีสมัครและการเลื่อนสถานะ
การสมัครเข้าสู่โปรแกรม บริษัทส่วนใหญ่จะแบ่งลูกค้าออกเป็นหลายระดับ เพื่อสะดวกต่อการบริหารความสัมพันธ์ และ
ควบคุมค่าใช้จ่ายให้มีประสิทธิภาพขึ้น ลูกค้าแต่ละระดับจะได้รับสิทธิประโยชน์ต่างกัน ซึ่งหมายถึงต้นทุนค่าใช้จ่ายที่ไม่เท่ากัน การแบ่ง
ลูกค้าออกเป็นแต่ละระดับ เป็นความพยายามของบริษัทที่ต้องการเพิ่มผลกาไรรวมแก่แบรนด์ตลอดช่วงชีวิตลูกค้าแต่ละคน และเพื่อแสดง
ให้เห็นถึงความสาคัญของลูกค้าที่มีคุณค่ามากที่สุด ลูกค้าจะมีความรู้สึกว่าตนมีความสาคัญเมื่อได้เลื่อนระดับสูงขึ้นและได้รับบริการดีขึ้น
เนื่องจากบริษัทสามารถประเมินผลกาไรรวมที่จะได้ตลอดช่วงชีวิตของลูกค้า จึงวัดความสามารถในการทาไรของลูกค้าแต่ละคนได้
การแบ่งระดับลูกค้า ยังสามารถ ทาให้บริษัทติดตามความก้าวหน้าของลูกค้าแต่ละคนได้อีกด้วย ลูกค้าระดับสูงขึ้นยิ่งมีความ
ผูกพันและมีโอกาสในการสนับสนุนแบรนด์มากยิ่งขึ้น การแบ่งระดับจึงเป็นเครื่องมือช่วยให้บริษัทรู้ว่าใครคือลูกค้าที่ชื่นชอบและมี
ปฏิสัมพันธ์กับแบรนด์มากที่สุด เพื่อเปลี่ยนให้มาเป็นผู้สนับสนุนแบรนด์
การแบ่งระดับยังคอยติดตามดูกรณีที่ลูกค้าว่างเว้นจากการทาธุรกรรมหรือกิจกรรม คะแนนสะสมไม่ได้ หรือคะแนนสะสม
หมดอายุ ไประยะหนึ่ง ซึ่งแต่ละบริษัทอาจจะมีมาตรการในการปรับลดสถานะกลับไปเริ่มใหม่ เพื่อเป็นการกระตุ้นลูกค้าอย่างต่อเนื่อง
ใช้หลักการเรื่องเกมผลักดัน ให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการ
อ้างอิงรูป : www.ais.co.th
ใช้หลักการเรื่องเกมผลักดัน ให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการ
ขั้นตอนที่ 3 ระบุรางวัลจูงใจ
กาหนดสิทธิประโยชน์และรางวัลที่ลูกค้าแต่ละระดับจะได้รับ สิทธิประโยชน์ที่ดีต้องเป็นเอกสิทธิ์เฉพาะลูกค้าที่สมัครเข้าร่วมโปรแกรม
และอยู่ในระดับที่กาหนดเท่านั้น อาจเป็นส่วนลดหรือข้อเสนอที่ดีขึ้น
รางวัลจูงใจอีกหนึ่งประเภทหนึ่งที่ได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ คือการแลกรับรางวัลทันทีโดยไม่ต้องสะสมคะแนน การแลกรับรางวัล
ทันทีบางโปรแกรมอาจจะไม่มีการแบ่งระดับของลูกค้าก็ได้เช่นกัน
บทสรุป แอพสาหรับอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่,Social CRM และหลักการเรื่องเกม เทคนิคที่ได้รับความนิยมและพิสูจน์แล้วว่าใช้
ได้ผลดีในการเพิ่มพูนความผูกพันกับแบรนด์ในยุคดิจิตอล ได้แก่
1. ใช้แอพสาหรับอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ (Mobile app)
2. ใช้การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าผ่านโซเชี่ยวมีเดีย (ocial CRM)
3. ใช้หลักการเรื่องเกมเพื่อผลักดันให้ลูกค้ามีพฤติกรรมตามที่แบรนด์ต้องการ
เป้าหมายสูงสุด คือ บริษัทที่สามารถสร้างความผูกพันกับลูกค้า และช่วยให้ลูกค้าบรรลุศักยภาพสูงสุด
ของตนเอง นอกเหนือจากความประทับใจที่มอบให้แก่ลูกค้าแล้ว บริษัทเหล่านี้ยังสร้างผลิตภัณฑ์และบริการที่มา
พัฒนาชีวิตให้ดีขึ้น ตรงกับความต้องการของลูกค้าแต่ละคน ช่วยบรรเทาความกังวลใจและตอบสนองความต้องการ
ของลูกค้าแต่ละคนได้อีกด้วย
บริษัทและแบรนด์ที่ประสบความสาเร็จจะไม่ปล่อยให้วินาที “ว้าว” เกิดขึ้นมาเองแต่จะคิดหาวิธีสร้างมันขึ้นมา
ชี้แนะและนาทางผู้บริโภคตั้งแต่การรับรู้จนไปสู่การสนับสนุน ยกระดับการมีปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าจากความพึงพอใจ
ไปสู่ประสบการณ์ที่หน้าประทับใจ จนกระทั่งเกิดความผูกพันในที่สุด
บทส่งท้าย
นางสาวอนพัทย์ แก้วเรือง 58123315001
นายธิติ จันทร์โสภา 58123315002
นายตะวัน สุภัคคะ 58123315005
นายพาสันต์ นาคัน 58123315014
นายปริวัฏฏ์ คณะรัตน์ 58123315031
นางสาวอัญมณี ยิ่งกว่าชาติ 58123315037
นางสาวกาญจนา อรรรถยุทธเสมา 58123315045
นางสาวนาตาลี คาซิมพู 58123315051
สมาชิกกลุ่ม
THANK YOU

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

ADM4301 Marketing 4.0 - Tactical Application Review