SlideShare a Scribd company logo
1 of 115
Download to read offline
ประมวลสรุป
พระราชกระแสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ในวโรกาสที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล"าฯ ให"คณะกรรมการอํานวยการ
งานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) และเจ"าหน"าที่
เข"าเฝ-าถวายรายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย
___________________________________________
การดําเนินงานพัฒนา แตกอนใชวัดดวยสายตาบาง เฉลี่ยไปตามความคิดเห็นที่ไมเป%นเชิง
สถิติบาง ทําไปเรื่อย ๆ บาง แตตอนนี้ทางราชการมีการสํารวจขอมูล จปฐ. เป%นขอมูลที่คิดวาในขณะนี้
ดีที่สุดแลว ดีในการเป%นฐานใหเริ่มตนแกไขป2ญหา เป%นขอมูลที่งาย ดูงาย และเห็นดวยที่มีการสํารวจ
ขอมูล จปฐ. มีการวัดเพื่อใหพบป2ญหา ซึ่งเมื่อรูป2ญหาแลวจะไดมีการแกไขสําหรับการวัดนั้นจะตรง
หรือไมตรง แนนอนตองมีการผิดพลาดบาง ก็ไมนาจะเป%นป2ญหาใหญ ขอใหมีสิ่งที่จะชวยชี้ใหฝ8ายรัฐ
เขาไปหาชาวบานไดทราบป2ญหาชาวบานบาง เมื่อเราทําจริง สํารวจจริงแลว จะทําใหพบกับบุคคลที่
ควรสงเคราะห9 หรือทําใหพบป2ญหา และเมื่อพบป2ญหาแลวจะแกไขอยางไร เป%นสิ่งซึ่งจะตามมา
หลักการพัฒนาที่ควรจะคํานึงถึง คือ ชวยเขาเพื่อใหเขาชวยตัวเองไดการใหคําแนะนําเพื่อใหชาวบาน
ไดเรียนรูวิธีการแกไขป2ญหาดวยตัวเองจึงเป%น สิ่งสําคัญ
___________________________________________
(ไดรับพระราชทานพระราชานุญาต ตามหนังสือสํานักราชเลขาธิการ ที่ รล. 0017/10527 ลงวันที่ 29 ตุลาคม 2534)
คํานํา
รายงานการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา จัดทําขึ้นเพื่อนําเสนอผลการ
จัดเก็บและวิเคราะห)ข*อมูลคุณภาพชีวิตของประชาชนในจังหวัด ด*วยเกณฑ)ตัวชี้วัดขั้นพื้นฐาน
ที่ครอบคลุมในด*านต/างๆ ที่ประชาชนทุกคนพึงมี โดยดําเนินการสํารวจและจัดเก็บข*อมูลจาก
ทุกครัวเรือน ทุกหมู/บ*านในเขตชนบท และเขตเมืองของจังหวัดนครราชสีมา ผลที่ได*จากการสํารวจ
ข*อมูลจะทําให*ทราบถึงคุณภาพชีวิตของประชาชน ในระดับครัวเรือน หมู/บ*าน ตําบล อําเภอ และ
ภาพรวมของจังหวัด โดยใช*เครื่องชี้วัดข*อมูลความจําเป4นพื้นฐาน 5 หมวด 30 ตัวชี้วัด
ในการประมวลผลการจัดเก็บข*อมูล ป8 2558 ภาพรวมของจังหวัดนครราชสีมาจาก 669,011
ครัวเรือน 4,238 หมู/บ*าน/ชุมชน 333 ตําบล 32 อําเภอ พบว/าร*อยละของตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ)
เรียงลําดับจากมากไปน*อยได*แก/ ตัวชี้วัดที่ 19, 26, 25, 22, 3, 18, 6, 21, 24, 30, 5, 4, 1, 12, 27,
11, 29, 23, 13, 16, 7, 8, 15, 14, 9, 10, 20, 17, 2 และตัวชี้วัดที่ 28 โดยผลการจัดเก็บข*อมูลด*าน
รายได* (ตัวชี้วัดที่ 23) จังหวัดนครราชสีมามีรายได*เฉลี่ยต/อคนต/อป8ในภาพรวมของจังหวัดเท/ากับ
81,204 บาทต/อคนต/อป8 และมีครัวเรือนที่มีรายได*เฉลี่ยต/อคนต/อป8ต่ํากว/าเกณฑ) (30,000 บาท)
จํานวน 1,808 ครัวเรือน
สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา ในฐานะผู*ประสานการดําเนินงานบริหารการ
จัดเก็บข*อมูลทุกครัวเรือนเป4นประจําทุกป8 หวังเป4นอย/างยิ่งว/าเอกสาร “รายงานคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนจังหวัดนครราชสีมา” ฉบับนี้ จะเป4นเครื่องมือหนึ่งที่ช/วยให*หน/วยงานที่เกี่ยวข*องกับการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตตของประชาชนในจังหวัด ทั้งภาครัฐ เอกชน องค)กรปกครองส/วนท*องถิ่น และ
องค)กรภาคประชาชน ตลอดจนนิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไปได*นําไปใช*ประโยชน)ในการ
วางแผนแก*ไขปIญหา และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให*ดียิ่งขึ้นต/อไป
สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา
มิถุนายน 2558
สารบัญ
ประมวลสรุปพระราชกระแสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
คํานํา
บทสรุปผูบริหาร 1
ส$วนที่ 1 แนวความคิดเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิต 11
แนวคิดเรื่อง จปฐ. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 11
ความหมายของคุณภาพชีวิต และ จปฐ. 11
ข#อมูลความจําเป&นพื้นฐาน จปฐ. 11
แนวคิดและความเป&นมาของข#อมูล จปฐ. 12
ขั้นตอนการนํา จปฐ. ไปใช#ในการพัฒนา 16
กระบวนการจัดเก็บข#อมูล จปฐ. ป/ 2558 19
ส$วนที่ 2 ขอมูลทั่วไปของประชาชนจังหวัดนครราชสีมา 20
จํานวนครัวเรือน 20
จํานวนประชากร 21
ช4วงอายุ 22
การศึกษา 24
อาชีพ 25
ศาสนา 26
ส$วนที่ 3 รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา 27
จําแนกรายหมวด 27
จําแนกรายตัวชี้วัด 32
ส$วนที่ 4 รายได และรายจ$ายของคนในจังหวัดนครราชสีมา 62
รายได# 62
รายจ4าย 63
จํานวนครัวเรือนที่มีรายได#เฉลี่ยต่ํากว4าเกณฑ? 30,000 บาท ต4อคนต4อป/ 66
รายได#เฉลี่ยของแต4ละอําเภอ 67
รายจ4ายเฉลี่ยของแต4ละอําเภอ 68
ส$วนที่ 5 ผลการจัดเก็บขอมูลรายตัวชี้วัด จําแนกตามอําเภอ 70
พื้นที่การสํารวจข#อมูล ป/ 2558 70
จํานวนประชากร ชาย – หญิง 71
สารบัญ
รายได# - รายจ4ายเฉลี่ยต4อคนต4อป/ 72
ผลการจัดเก็บข#อมูล รายตัวชี้วัด 74
ภาคผนวก
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
ผลการจัดเก็บขอมูลพื้นฐานการพัฒนาชนบท ป 2558 ซึ่งจัดเก็บขอมูลจากทุกครัวเรือนใน
เขตชนบท (เขต อบต. และเทศบาลตําบลที่ยกฐานะจาก อบต.) และในเขตเมือง (เมืองพัทยา เทศบาลนคร
เทศบาลเมือง และเทศบาลตําบลที่ยกฐานะจากสุขาภิบาล) ที่มีผูอาศัยอยู4จริง (ทั้งที่มีและไม4มีบานเลขที่)
จํานวน 669,011 ครัวเรือน จาก 4,238 หมู4บาน 333 ตําบล 32 อําเภอ โดยมีประชากรทั้งหมด
1,958,001 คน แบ4งเป?นเพศชาย 955,148 คน (48.78%) เพศหญิง 1,002,853 คน (51.22%) พบว4า
ประชาชนมีคุณภาพชีวิตตามเครื่องชี้วัดขอมูลพื้นฐานการพัฒนาชนบท จํานวน 5 หมวด 30 ตัวชี้วัด
ดังนี้
1. ขอมูลทั่วไป
1.1 จํานวนครัวเรือน (ย$อนหลัง 4 ป)
ป จํานวน (คร.) ร$อยละ
2555 393,605* 18.50
2556 398,635* 18.74
2557 666,055 31.31
2558 669,011 31.45
รวม 2,127,306 100
* ป พ.ศ. 2555 - 2556 มีการสํารวจและจัดเก็บขอมูลเฉพาะในเขตชนบท (เขต อบต. และ
เทศบาลตําบลที่ยกฐานะจาก อบต.)
1.2 จํานวนประชากร (ย$อนหลัง 4 ป)
ป
ชาย หญิง รวม
คน ร$อยละ คน ร$อยละ คน ร$อยละ
2555 703,865 48.93 734,776 51.07 1,438,641 21.11
2556 703,223 48.80 737,781 51.20 1,441,004 21.15
2557 961,943 48.66 1,014,904 51.34 1,976,847 29.01
2558 955,148 48.78 1,002,853 51.22 1,958,001 28.73
รวม 3,324,179 48.78 3,490,314 51.22 6,814,493 100
จังหวัดนครราชสีมา มีจํานวนประชากรเพศหญิงสูงกว4าประชากรเพศชาย คิดเป?นรอยละ 5
ของประชากรชายรวมยอนหลัง 4 ป
บทสรุปสําหรับผู$บริหาร
1
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
1.3 ช4วงอายุ
จากผลการสํารวจขอมูล พบว4า ประชากรส4วนมากมีช4วงอายุระหว4าง 46 – 50 ปเต็ม จํานวน
172,099 คน คิดเป?นรอยละ 8.79 รองลงมา มีช4วงอายุระหว4าง 41 – 45 ปเต็ม จํานวน 170,444 คน
คิดเป?นรอยละ 8.71 และมีช4วงอายุระหว4าง 36 – 40 ปเต็ม จํานวน 160,027 คน คิดเป?นรอยละ 8.17
ตามลําดับ
1.4 ระดับการศึกษา
จากผลการสํารวจขอมูล พบว4า ประชากรส4วนมากจบการศึกษาชั้นประถมศึกษา (ป.4, ป.7, ป.6)
จํานวน 910,717 คน คิดเป?นรอยละ 46.51 รองลงมา จบชั้นมัธยมศึกษาตอนตน (มศ.1-3, ม.1-3)
จํานวน 326,954 คน คิดเป?นรอยละ 16.70 และจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (มศ.4-5, ม.4-6, ปวช.)
จํานวน 283,373 คน คิดเป?นรอยละ 14.47 ตามลําดับ มีเพียงรอยละ 7.70 ที่จบการศึกษาระดับ
ปริญญาตรีขึ้นไป
1.5 อาชีพ
จากผลการสํารวจขอมูล พบว4า ประชากรส4วนมากประกอบอาชีพรับจางทั่วไป จํานวน
598,693 คน คิดเป?นรอยละ 30.58 รองลงมาประกอบอาชีพ เกษตรกรรม – ทํานา จํานวน 407,100 คน
คิดเป?นรอยละ 20.79 และกําลังศึกษา จํานวน 382,289 คน คิดเป?นรอยละ 19.52 ตามลําดับ
1.6 ศาสนา
จากผลการสํารวจขอมูล พบว4า ประชากรส4วนมากนับถือศาสนาพุทธมากที่สุด จํานวน
1,952,467 คน คิดเป?นรอยละ 99.72 รองลงมานับถือศาสนาคริสตK จํานวน 4,516 คน คิดเป?นรอยละ
0.23 และนับถือศาสนาอิสลาม จํานวน 781 คน คิดเป?นรอยละ 0.04 ตามลําดับ
2. คุณภาพชีวิตของคนจังหวัดนครราชสีมา
2.1 คุณภาพชีวิตของคนจังหวัดนครราชสีมา จําแนกตามหมวดและตัวชี้วัด
(คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี 7 ตัวชี้วัดหมวดที่ 1 สุขภาพดี
ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ>เรียงลําดับจากมากไปหาน$อย ได$แก4
1) เด็กแรกเกิดไดกินนมแม4อย4างเดียวอย4างนอย 6 เดือนแรกติดต4อกัน รอยละ 5.13
2) คนอายุ 35 ปขึ้นไป ไดรับการตรวจสุขภาพประจําปเพื่อคัดกรองความเสี่ยงต4อ
โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง รอยละ 2.02
3) คนในครัวเรือนมีการใชยาเพื่อบําบัด บรรเทาอาการเจ็บปLวยเบื้องตน รอยละ 0.72
2
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
4) ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และไดมาตรฐาน รอยละ 0.71
5) เด็กแรกเกิดมีน้ําหนักไม4นอยกว4า 2,500 กรัม รอยละ 0.68
6) คนอายุ 35 ปขึ้นไป ออกกําลังกายอย4างนอยสัปดาหKละ 3 วันๆ ละ 30 นาที รอยละ 0.21
7) เด็กแรกเกิดถึง 12 ป ไดรับการฉีดวัคซีนปNองกันโรคครบตามตารางเสริมสรางภูมิคุมกันโรค
รอยละ 0.05
ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม4ผ4านเกณฑKเหล4านี้ เป?นหนาที่ของประชาชนและทุกภาคส4วนตองช4วยกันแกไขปPญหา
โดยฉพาะเจาภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงการท4องเที่ยวและกีฬา รวมทั้ง
องคKกรปกครองส4วนทองถิ่น ซึ่งเป?นหน4วยงานที่มีความสําคัญอย4างมากต4อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน
(คนไทยมีบานอาศัยและสภาพแวดลอมเหมาะสม) มี 8 ตัวชี้วัดหมวดที่ 2 มีบ$านอาศัย
ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ>เรียงลําดับจากมากไปหาน$อย ได$แก4
1) ครัวเรือนไม4ถูกรบกวนจากมลพิษ รอยละ 0.63
2) ครัวเรือนมีการจัดบานเรือนเป?นระเบียบเรียบรอย สะอาด ถูกสุขลักษณะ รอยละ 0.37
3) ครัวเรือนมีการปNองกันอุบัติภัยอย4างถูกวิธี รอยละ 0.26
4) ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู4อาศัย และบานมีสภาพคงทนถาวร รอยละ 0.19
5) ครอบครัวมีความอบอุ4น รอยละ 0.18
6) ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยKสิน รอยละ 0.17
7) ครัวเรือนมีน้ําสะอาดสําหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดป รอยละ 0.15
8) ครัวเรือนมีน้ําใชเพียงพอตลอดป รอยละ 0.14
ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม4ผ4านเกณฑKเหล4านี้ เป?นหนาที่ของประชาชนและทุกภาคส4วนตองช4วยกันแกไขปPญหา
โดยเฉพาะเจาภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยK
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม สํานักนายกรัฐมนตรี และสํานักงานตํารวจแห4งชาติ รวมทั้งองคKกรปกครองส4วนทองถิ่น
ซึ่งเป?นหน4วยงานที่มีความสําคัญอย4างมากต4อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
(คนไทยมีการศึกษาที่เหมาะสม) มี 5 ตัวชี้วัดหมวดที่ 3 ฝAกใฝBการศึกษา
ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ>เรียงลําดับจากมากไปหาน$อย ได$แก4
1) เด็กจบการศึกษาบังคับ 9 ป ที่ไม4ไดเรียนต4อและยังไม4มีงานทํา ไดรับการฝSกอบรมดานอาชีพ
รอยละ 16.13
2) เด็กจบชั้น ม.3 ไดเรียนต4อชั้น ม.4 หรือเทียบเท4า รอยละ 2.45
3) เด็กอายุ 3-5 ปเต็ม ไดรับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพรอมก4อนวัยเรียน รอยละ 0.22
3
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
4) คนอายุ 15 – 60 ปเต็ม อ4าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย4างง4ายได รอยละ 0.12
5) เด็กอายุ 6 – 14 ป ไดรับการศึกษาภาคบังคับ 9 ป รอยละ 0.10
ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม4ผ4านเกณฑKเหล4านี้ เป?นหนาที่ของประชาชนและทุกภาคส4วนตองช4วยกันแกไขปPญหา
โดยเฉพาะเจาภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงมหาดไทย รวมทั้งองคKกรปกครอง
ส4วนทองถิ่น ซึ่งเป?นหน4วยงานที่มีความสําคัญอย4างมากต4อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
(คนไทยมีงานทําและมีรายได) มี 4 ตัวชี้วัดหมวดที่ 4 รายได$ก$าวหน$า
ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ>เรียงลําดับจากมากไปหาน$อย ได$แก4
1) คนอายุมากกว4า 60 ปเต็มขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได รอยละ 5.17
2) คนอายุ 15 – 60 ปเต็ม มีอาชีพและมีรายได รอยละ 1.88
3) ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน รอยละ 1.65
4) คนในครัวเรือนมีรายไดเฉลี่ยไม4นอยกว4าคนละ 30,000 บาทต4อป รอยละ 0.27
ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม4ผ4านเกณฑKเหล4านี้ เป?นหนาที่ของประชาชนและทุกภาคส4วนตองช4วยกันแกไขปPญหา
โดยเฉพาะเจาภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงแรงงาน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษยK กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพาณิชยK กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและ
สหกรณK รวมทั้งองคKกรปกครองส4วนทองถิ่น ซึ่งเป?นหน4วยงานที่มีความสําคัญอย4างมากต4อการพัฒนา
คุณภาพชีวิตของประชาชน
(คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) มี 6 ตัวชี้วัดหมวดที่ 5 ปลูกฝAงค4านิยมไทย
ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ>เรียงลําดับจากมากไปหาน$อย ได$แก4
1) คนในครัวเรือนไม4สูบบุหรี่ รอยละ 6.78
2) คนในครัวเรือนไม4ดื่มสุรา (ยกเวนการดื่มเป?นครั้งคราวฯ) รอยละ 5.46
3) คนในครัวเรือนมีส4วนร4วมทํากิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชนKของชุมชน รอยละ 1.04
4) คนอายุ 6 ปขึ้นไป ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย4างนอยสัปดาหKละ 1 ครั้ง รอยละ 0.52
5) คนพิการ ไดรับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู4บาน/ชุมชน หรือภาครัฐ รอยละ 0.30
6) คนสูงอายุ ไดรับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู4บาน/ชุมชน หรือภาครัฐ รอยละ 0.04
ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม4ผ4านเกณฑKเหล4านี้ เป?นหนาที่ของประชาชนและทุกภาคส4วนตองช4วยกันแกไขปPญหา
โดยเฉพาะเจาภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงวัฒนธรรม สํานักงาน
พระพุทธศาสนาแห4งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยK กระทรวงมหาดไทย
และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งองคKกรปกครองส4วนทองถิ่น ซึ่งเป?น
หน4วยงานที่มีความสําคัญอย4างมากต4อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
4
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
2.2 รายได$เฉลี่ยต4อคนต4อป (ย$อนหลัง 4 ป)
ป
จํานวน
จํานวนคน
รายได$เฉลี่ยครัวเรือน รายได$เฉลี่ยบุคคล
ครัวเรือน (บาท/ป) (บาท/ป)
2555 393,605 1,438,641 224,064 61,303
2556 398,635 1,441,004 235,330 65,101
2557 666,055 1,976,847 231,663 78,054
2558 669,011 1,958,001 237,660 81,204
รวม 2,127,306 6,814,493 928,717 285,662
จากการสํารวจขอมูลดานรายไดของประชาชน ปรากฏว4ามีแนวโนมที่สูงขึ้นอย4างต4อเนื่อง โดย
ในป 2558 พบว4า มีแหล4งที่มาของรายไดเฉลี่ยครัวเรือนจากการประกอบอาชีพหลัก จํานวน 175,513
บาทต4อป อาชีพรอง จํานวน 30,276 บาทต4อป รายไดอื่น จํานวน 17,880 บาทต4อป และรายไดครัวเรือน
เฉลี่ยครัวเรือนจากการปลูก เลี้ยง หาเอง จํานวน 13,992 บาทต4อป
2.3 รายจ4ายเฉลี่ยต4อคนต4อป (ย$อนหลัง 4 ป)
ป
จํานวน
จํานวนคน
รายจ4ายเฉลี่ยครัวเรือน รายจ4ายเฉลี่ยบุคคล
ครัวเรือน (บาท/ป) (บาท/ป)
2555 393,605 1,438,641 134,789 36,878
2556 398,635 1,441,004 142,366 39,384
2557 666,055 1,976,847 142,141 47,891
2558 669,011 1,958,001 144,457 49,358
รวม 2,127,306 6,814,493 563,753 173,511
จากการสํารวจขอมูลดานรายจ4ายของประชาชน ปรากฏว4ามีแนวโนมที่สูงขึ้นอย4างต4อเนื่อง โดย
ในป 2558 พบว4า มีแหล4งที่มาของรายจ4ายเฉลี่ยครัวเรือนจากภาระตนทุนการผลิต จํานวน 32,321
บาทต4อป อุปโภคบริโภคที่จําเป?น จํานวน 70,352 บาทต4อป อุปโภคบริโภคที่ไม4จําเป?น จํานวน 20,836
บาทต4อป และรายจ4ายเฉลี่ยครัวเรือนในการชําระหนี้สิน จํานวน 20,949 บาทต4อป
5
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
2.4 ระดับความสุขเฉลี่ย (ย$อนหลัง 4 ป)
ป ระดับความสุขของคนในครัวเรือนและหมู4บ$าน/ชุมชน
2555 7.82
2556 7.90
2557 8.02
2558 8.13
ความสุข หมายถึง การรูสึกดี มีความสุขกับชีวิต และอยากใหความรูสึกนั้นคงอยู4ไม4หายไป
ซึ่งพิจารณาไดจากสิ่งที่ครัวเรือน และชุมชน มีอยู4 เป?นอยู4 และแทนค4าระดับความสุขดวยตัวเลข
ระหว4าง 0 – 10 พบว4า ระดับความสุขของประชาชนในจังหวัดนครราชสีมามีแนวโนมสูงขึ้น
2.5 อําเภอที่มีรายได$เฉลี่ยต4อคนต4อป สูงสุด 10 ลําดับแรก
ที่ อําเภอ
จํานวน
จํานวนคน
รายได$เฉลี่ย
ครัวเรือน (บาท/คน/ป)
1 เมืองนครราชสีมา 108,422 280,093 114,979
2 ปากช4อง 49,105 136,776 92,137
3 ปPกธงชัย 38,045 104,942 86,019
4 เทพารักษK 5,902 16,773 86,017
5 สีคิ้ว 30,515 95,065 85,484
6 บัวใหญ4 23,715 57,126 83,529
7 โชคชัย 23,689 66,018 81,077
8 สูงเนิน 23,856 84,240 78,800
9 จักราช 18,549 58,820 77,403
10 วังน้ําเขียว 10,315 32,255 77,082
6
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
2.6 อําเภอที่มีรายได$เฉลี่ยต4อคนต4อป ต่ําสุด 10 ลําดับแรก
ที่ อําเภอ
จํานวน
จํานวนคน
รายได$เฉลี่ย
ครัวเรือน (บาท/คน/ป)
1 ขามสะแกแสง 12,242 32,830 62,637
2 พระทองคํา 10,672 30,346 63,312
3 เมืองยาง 7,259 20,921 63,749
4 บานเหลื่อม 5,348 16,218 64,221
5 โนนสูง 32,831 103,699 64,483
6 โนนไทย 17,327 55,472 64,859
7 คง 18,842 54,159 66,502
8 หวยแถลง 18,380 54,172 66,609
9 เฉลิมพระเกียรติ 8,116 28,734 66,777
10 ลําทะเมนชัย 8,055 23,830 68,212
2.7 อําเภอที่มีรายจ4ายเฉลี่ยต4อคนต4อป สูงสุด 10 ลําดับแรก
ที่ อําเภอ
จํานวน
จํานวนคน
รายจ4ายเฉลี่ย
ครัวเรือน (บาท/คน/ป)
1 เมืองนครราชสีมา 108,422 280,093 73,561
2 ปากช4อง 49,105 136,776 54,558
3 เทพารักษK 5,902 16,773 53,386
4 พิมาย 33,708 98,834 51,482
5 วังน้ําเขียว 10,315 32,255 51,217
6 ปPกธงชัย 38,045 104,942 50,149
7 ขามทะเลสอ 7,347 24,081 49,687
8 สีคิ้ว 30,515 95,065 49,081
9 โชคชัย 23,689 66,018 48,852
10 บัวใหญ4 23,715 57,126 47,380
7
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
2.8 อําเภอที่มีรายจ4ายเฉลี่ยต4อคนต4อป ต่ําสุด 10 ลําดับแรก
ที่ อําเภอ
จํานวน
จํานวนคน
รายจ4ายเฉลี่ย
ครัวเรือน (บาท/คน/ป)
1 ขามสะแกแสง 12,242 32,830 32,685
2 เมืองยาง 7,259 20,921 36,313
3 เฉลิมพระเกียรติ 8,116 28,734 36,841
4 หวยแถลง 18,380 54,172 37,164
5 ชุมพวง 21,771 67,687 38,085
6 โนนไทย 17,327 55,472 39,116
7 พระทองคํา 10,672 30,346 39,842
8 ประทาย 18,337 53,725 40,447
9 โนนสูง 32,831 103,699 40,973
10 คง 18,842 54,159 41,125
2.9 จํานวนครัวเรือนตกเกณฑ>รายได$เฉลี่ยคนละ 30,000 บาท (ย$อนหลัง 4 ป)
ป ครัวเรือนทั้งหมด
ไม4ผ4านเกณฑ>
ครัวเรือน ร$อยละ
2555 393,605 5,129 1.30
2556 398,635 2,135 0.54
2557 666,055 2,092 0.31
2558 669,011 1,808 0.27
รวม 2,127,306 11,164 0.52
จากผลการสํารวจขอมูล พบว4า ในป 2558 จังหวัดนครราชสีมามีครัวเรือนที่ตกเกณฑKรายได
เฉลี่ยนอยกว4าคนละ 30,000 บาทต4อป จํานวน 29 อําเภอ 1,808 ครัวเรือน และไม4มีครัวเรือนตกเกณฑK
รายไดจํานวน 3 อําเภอ ไดแก4 อําเภอครบุรี อําเภอจักราช และอําเภอโนนแดง
8
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
2.10 จํานวนครัวเรือนตกเกณฑ>รายได$เฉลี่ยคนละ 30,000 บาท สูงสุด 10 ลําดับแรก
ที่ อําเภอ ครัวเรือนทั้งหมด
ไม4ผ4านเกณฑ>
ครัวเรือน ร$อยละ
1 เมืองนครราชสีมา 108,422 456 0.42
2 โนนไทย 17,327 150 0.87
3 โนนสูง 32,831 126 0.38
4 ปPกธงชัย 38,045 119 0.31
5 ด4านขุนทด 31,680 112 0.35
6 หวยแถลง 18,380 110 0.60
7 ประทาย 18,337 108 0.59
8 สูงเนิน 23,856 73 0.31
9 ชุมพวง 21,771 63 0.29
10 ปากช4อง 49,105 58 0.12
รวม 359,754 1,375 0.38
2.11 จํานวนครัวเรือนตกเกณฑ>รายได$เฉลี่ยคนละ 30,000 บาท ต่ําสุด 10 ลําดับแรก
ที่ อําเภอ ครัวเรือนทั้งหมด
ไม4ผ4านเกณฑ>
ครัวเรือน ร$อยละ
1 แกงสนามนาง 8,542 4 0.05
2 วังน้ําเขียว 10,315 7 0.07
3 บัวลาย 6,094 9 0.15
4 เทพารักษK 5,902 11 0.19
5 พิมาย 33,708 13 0.04
6 เฉลิมพระเกียรติ 8,116 14 0.17
7 พระทองคํา 10,672 16 0.15
8 คง 18,842 19 0.10
9 โชคชัย 23,689 20 0.08
10 สีคิ้ว 30,515 21 0.07
รวม 156,395 134 0.09
9
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
2.12 ปAญหาที่ควรได$รับการแก$ไขของคนไทยในชนบท 10 ลําดับแรก
1. เด็กที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ป ที่ไมไดเรียนตอและยังไมมีงานทําไดรับการฝ&กอบรม
ดานอาชีพ จํานวน 101 คน คิดเป,นรอยละ 16.13 จากทั้งหมด 626 คน
2. คนในครัวเรือนไมสูบบุหรี่ จํานวน 132,669 คน คิดเป,นรอยละ 6.78 จากทั้งหมด
1,958,001 คน
3. คนในครัวเรือนไมดื่มสุรา (ยกเวนการดื่มเป,นครั้งคราวฯ) จํานวน 106,935 คน คิดเป,น
รอยละ 5.46 จากทั้งหมด 1,958,001 คน
4. คนอายุมากกวา 60 ปเต็มขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได จํานวน 14,285 คน คิดเป,นรอยละ
5.17 จากทั้งหมด 276,410 คน
5. เด็กแรกเกิดไดกินนมแมอยางเดียวอยางนอย 6 เดือนแรกติดตอกัน จํานวน 505 คน คิดเป,น
รอยละ 5.13 จากทั้งหมด 9,836 คน
6. เด็กที่จบชั้น ม.3 ไดเรียนตอชั้น ม.4 หรือเทียบเทา จํานวน 626 คน คิดเป,นรอยละ 2.45
จากทั้งหมด 25,597 คน
7. คนอายุ 35 ปขึ้นไป ไดรับการตรวจสุขภาพประจําป เพื่อคัดกรองความเสี่ยงตอ
โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จํานวน 23,034 คน คิดเป,นรอยละ 2.02 จากทั้งหมด
1,139,940 คน
8. คนอายุ 15 – 60 ปเต็ม มีอาชีพและมีรายได จํานวน 22,251 คน คิดเป,นรอยละ 1.88
จากทั้งหมด 1,181,103 คน
9. ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน จํานวน 11,013 ครัวเรือน คิดเป,นรอยละ 1.65 จากทั้งหมด
669,011 ครัวเรือน
10. คนในครัวเรือนมีสวนรวมทํากิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชนDของหมูบาน/ชุมชน หรือ
ทองถิ่น จํานวน 6,965 ครัวเรือน คิดเป,นรอยละ 1.04 จากทั้งหมด 669,011 ครัวเรือน
10
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
แนวคิดเรื่อง จปฐ. เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
หลักการและแนวคิดเรื่อง จปฐ. นี้ ในเบื้องตน คือ การวาดภาพสังคมที่พึงประสงคKของคนไทย
โดยคิดว4าในฐานะที่ประชาชนทุกคนที่เกิดเป?นคนไทยนั้น ขั้นต่ําของชีวิตเขาน4าจะมีอะไรบาง? นั่นคือ
การที่จะทําใหคนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขั้นต่ําเขาควรจะมีอะไรบาง
จึงไดขอสรุปว4า การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทย จะตองผ4านเกณฑKความจําเป?นพื้นฐาน
(จปฐ.) ทุกตัวชี้วัด
ความหมายของคุณภาพชีวิต และ จปฐ.
ความหมายของคําว4า “คุณภาพชีวิต” คือ
1. คุณภาพชีวิต หมายถึง การดํารงชีวิตของมนุษยKในระดับที่เหมาะสมตามความจําเป?น
พื้นฐานในสังคมหนึ่ง ๆ ในช4วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ
2. คุณภาพชีวิตของประชาชนจะดี หมายถึง ครอบครัวนั้น ๆ หรือชุมชนนั้น ๆ ไดบรรลุ
เกณฑKความจําเป?นพื้นฐาน (จปฐ.) ครบถวนทุกประการ
ความหมายของคําว4า “ความจําเปHนพื้นฐาน”(จปฐ.) คือ
1. ความตองการพื้นฐานสําหรับประชาชนดํารงชีวิต
2. สิ่งจําเป?นต4อการครองชีพพื้นฐาน
3. ความตองการขั้นต่ําที่ชาวบานควรมี
4. ความตองการต่ําที่สุดที่สามารถดํารงชีวิตอยู4ไดอย4างปกติสุขพอสมควร
ข$อมูลความจําเปHนพื้นฐาน (จปฐ.)
จปฐ. เป?นขอมูลที่แสดงถึงลักษณะของสังคมไทยที่พึงประสงคKตามเกณฑKมาตรฐานขั้นต่ําของเครื่องชี้
วัดว4า อย4างนอยคนไทยควรจะมีระดับความเป?นอยู4ไม4ต่ํากว4าเกณฑKระดับไหนในช4วงระยะเวลาหนึ่ง
และทําใหประชาชนสามารถทราบดวยตนเองว4า ในขณะนี้คุณภาพชีวิตของตนเอง และครอบครัวรวม
ไปถึงหมู4บานหมู4บานอยู4ในระดับใด มีปPญหาที่จะตองแกไขในเรื่องใดบางเป?นการส4งเสริมใหประชาชน
เขามามีส4วนร4วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม อันเป?นนโยบายสําคัญในการพัฒนาชนบท
ของประเทศ
แนวความคิดเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส4วนที่ 1
11
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
หลักการของข$อมูลความจําเปHนพื้นฐาน (จปฐ.)
แนวคิดและความเปHนมาของข$อมูลความจําเปHนพื้นฐาน (จปฐ.)
ขอมูล จปฐ. ที่มีการจัดเก็บโดยประชาชนดวยความสนับสนุนของคณะทํางาน
สนับสนุนการปฏิบัติการพัฒนาชนบทระดับตําบล (คปต.) และผูแทนขององคKการบริหารส4วนตําบล
(อบต.) หรือเทศบาลนั้น จะทําใหทราบว4าแต4ละครัวเรือนมีปPญหาอะไร หมู4บานมีปPญหาอะไร และเมื่อ
ทราบแลว ส4วนใดที่ไม4สามารถดําเนินการเองไดก็ใหขอรับการสนับสนุนบางส4วน หรือทั้งหมด จาก
โครงการขององคKกรปกครองส4วนทองถิ่น (อปท.) เช4น องคKการบริหารส4วนตําบล เทศบาล หรือ
องคKการบริหารส4วนจังหวัด (อบจ.) ส4วนราชการในภูมิภาค (อําเภอ,จังหวัด) ส4วนราชการส4วนกลาง
(กรม,กระทรวง) หรือในระดับรัฐบาล ต4อไป
ป พ.ศ.2525 แนวความคิดเรื่อง จปฐ. เกิดขึ้นครั้งแรกโดยสํานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติ ไดกําหนดรูปแบบลักษณะของสังคมไทยและคนไทยที่พึง
ประสงคKในอนาคต โดยกําหนดเป?นเครื่องชี้วัดความจําเป?นพื้นฐาน (จปฐ.) ของคนไทยซึ่งไดขอสรุปว4า “การ
มีคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทยจะตองผ4านเกณฑKความจําเป?นขั้นพื้นฐาน (จปฐ) ทุกตัวชี้วัด”
ป พ.ศ.2528 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบอนุมัติเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2528 ใหมีการ
ดําเนินการโครงการปรณรงคKคุณภาพชีวิตและประกาศใชเป?น “ปรณรงคKคุณภาพชีวิตของประชาชน
ในชาติ (ปรช.)” (20 สิงหาคม 2528 - 31 ธันวาคม 2530) โดยใชเครื่องชี้วัดความจําเป?นพื้นฐาน 8
หมวด 32 ตัวชี้วัด เป?นเครื่องมือที่ใชวัดคุณภาพชีวิตของคนไทยว4าอย4างนอยคนไทยควรมีคุณภาพ
ชีวิตในเรื่องอะไรบาง และควรมีระดับไหนในช4วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ
ป พ.ศ.2531 คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห4งชาติ (กชช.) มีมติใหสํานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติ มอบโครงการปรณรงคKใหกระทรวงมหาดไทยโดย
กรมการพัฒนาชุมชน เป?นหน4วยงานรับผิดชอบดําเนินงานต4อภายใตชื่องานว4า “งานพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของประชาชนในชนบท (พชช.)”
ป พ.ศ.2532 คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห4งชาติ (กชช.) มีมติเมื่อวันที่ 15
กันยายน 2532 ใหกรมการพัฒนาชุมชน จัดเก็บขอมูล จปฐ. เป?นประจําทุกป ตั้งแต4ป 2533 จนถึง
12
เปนเครื่องมือกระบวนการเรียนรูของประชาชนเพื่อทราบสภาพความเปนอยูของตนเอง
และชุมชน
สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการพัฒนา
ใชขอมูล จปฐ.เปนแนวทางในการคัดเลือกโครงการสอดคลองกับสภาพป+ญหาของชุมชน
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
ปPจจุบันโดยมีการปรับปรุงเครื่องชี้วัดขอมูล จปฐ. ทุก 5 ป เพื่อใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห4งชาติ
ป พ.ศ.2535 มีการปรับปรุงเครื่องชี้วัด จปฐ. เพื่อใชจัดเก็บขอมูลในช4วงแผน
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-2539) เป?น 9 หมวด 37 ตัวชี้วัด
ป พ.ศ.2540 มีการปรับปรุงเครื่องชี้วัดขอมูล จปฐ. เพื่อใชจัดเก็บขอมูลในช4วง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) เป?น 8 หมวด 39 ตัวชี้วัด
ป พ.ศ.2544 มีการปรับปรุงเครื่องชี้วัดขอมูล จปฐ. เพื่อใชจัดเก็บขอมูลในช4วง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) เป?น 6 หมวด 37 ตัวชี้วัด
ป พ.ศ.2544 คณะกรรมการอํานวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
(พชช.) มีมติเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธK 2544 ใหกรมการพัฒนาชุมชนรับผิดชอบประสานการจัดเก็บ
ขอมูล จปฐ. ในเขตเมืองดวย โดยใหใชเครื่องชี้วัดเหมือนเขตชนบท (มติเมื่อ 31 พฤษภาคม 2545)
ป พ.ศ.2549 ไดมีการศึกษาปรับปรุงเครื่องชี้วัดขอมูล จปฐ. เพื่อใชจัดเก็บขอมูล
ในช4วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) โดยสรุปตัวชี้วัดตาม
ความจําเป?นพื้นฐาน (จปฐ.) ที่จะนํามาใชในการจัดเก็บขอมูลช4วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห4งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) มีจํานวน 6 หมวด 42 ตัวชี้วัด
ป พ.ศ.2555 กระทรวงมหาดไทยมอบหมายใหกรมการพัฒนาชุมชนในฐานะฝLาย
เลขานุการของคณะอํานวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) เป?นหน4วยงานในการ
บริหารการจัดเก็บขอมูล จปฐ. ใหมีการทบทวนและปรับปรุงเครื่องชี้วัด จปฐ. ขึ้นใหม4ทุก 5 ป เพื่อให
สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) มีทั้งหมด 5
หมวด 30 ตัวชี้วัด
จากผลการศึกษาในป พ.ศ. 2554 สามารถสรุปไดว4า “ตัวชี้วัดความจําเป?นพื้นฐาน จปฐ.”
ที่จะนํามาใชในการจัดเก็บขอมูล จปฐ. ในช4วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติ ฉบับที่ 11
(พ.ศ.2555-2559) มีจํานวน 5 หมวด 30 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 1 สุขภาพดี มี 7 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 2 มีบานอาศัย มี 8 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 3 ฝPกใฝLการศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 4 รายไดกาวหนา มี 4 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 5 ปลูกฝPงค4านิยมไทย มี 6 ตัวชี้วัด
ป พ.ศ.2557 กระทรวงมหาดไทยไดกําหนดเป?นนโยบายของกระทรวงมหาดไทย
ในการส4งเสริมและใชประโยชนKจากขอมูล จปฐ. เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนอย4างจริงจัง
โดยเฉพาะองคKกรปกครองส4วนทองถิ่น รวมถึงการจัดเก็บขอมูลสําหรับใชประเมินผลตัวชี้วัดของ
13
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
กระทรวงมหาดไทย ตัวชี้วัดที่ 1.1.6 รายไดครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น ซึ่งไดมอบหมายให
กรมการพัฒนาชุมชนรับผิดชอบดําเนินการจัดเก็บขอมูล จปฐ. ในเขตชนบท และกรมส4งเสริมการ-
ปกครองทองถิ่นรับผิดชอบดําเนินการจัดเก็บขอมูลพื้นฐาน ในเขตเมือง ต4อเนื่องมาจนถึงปปPจจุบันโดยมี
รายละเอียดของแต4ละตัวชี้วัด ดังนี้
หมวดที่ 1 : สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี 7 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข$อมูลความจําเปHนพื้นฐาน (จปฐ.) ป 2555 - 2559 หน4วย
1 เด็กแรกเกิดมีน้ําหนักไม4นอยกว4า 2,500 กรัม คน
2 เด็กแรกเกิดถึง 12 ป ไดรับการฉีกวัคซีนปNองกันโรคครบตามตาราง
เสริมสรางภูมิคุมกันโรค
คน
3 เด็กแรกเกิดไดกินนมแม4อย4างเตียวอย4างนอย 6 เดือนแรกติดต4อกัน คน
4 ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัยและไดมาตรฐาน ครัวเรือน
5 คนในครัวเรือนมีการใชยาเพื่อบําบัด บรรเทาอาการเจ็บปLวยเบื้องตนอย4าง
เหมาะสม
คน
6 คนอายุ 35 ปขึ้นไป ไดรับการตรวจสุขภาพประจําปเพื่อคัดกรองความเสี่ยง
ต4อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
คน
7 คนอายุ 6 ปขึ้นไป ออกกําลังกายอย4างนอยสัปดาหKละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที คน
หมวดที่ 2 : มีบ$านอาศัย (คนไทยมีบ$านอาศัยและสภาพแวดล$อมเหมาะสม) มี 8 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข$อมูลความจําเปHนพื้นฐาน (จปฐ.) ป 2555 - 2559 หน4วย
8 ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู4อาศัย และบานมีสภาพคงทนถาวร ครัวเรือน
9 ครัวเรือนมีน้ําสะอาดสําหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดป ครัวเรือน
10 ครัวเรือนมีน้ําใชเพียงพอตลอดป ครัวเรือน
11 ครัวเรือนมีการจัดบานเรือนเป?นระเบียบเรียบรอย สะอาด และถูก
สุขลักษณะ
ครัวเรือน
12 ครัวเรือนไม4ถูกรบกวนจากมลพิษ ครัวเรือน
13 ครัวเรือนมีการปNองกันอุบัติภัยอย4างถูกวิธี ครัวเรือน
14 ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยKสิน ครัวเรือน
15 ครอบครัวมีความอบอุ4น ครัวเรือน
14
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
หมวดที่ 3 : ฝAกใฝBการศึกษา (คนไทยมีการด$านการศึกษาที่เหมาะสม) มี 5 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข$อมูลความจําเปHนพื้นฐาน (จปฐ.) ป 2555 - 2559 หน4วย
16 เด็กอายุ 3-5 ปเต็ม ไดรับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพรอมก4อนวัยเรียน คน
17 เด็กอายุ 6-14 ป ไดรับการศึกษาภาคบังคับ 9 ป คน
18 เด็กจบชั้น ม.3 ไดเรียนต4อชั้น ม.4 หรือเทียบเท4า คน
19 เด็กที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ป ที่ไม4ไดเรียนต4อและยังไม4มีงานทําไดรับ
การฝSกอบรมดานอาชีพ
คน
20 คนอายุ 15-60 ปเต็ม อ4าน เขียน ภาษาไทยและคิดเลขอย4างง4ายได คน
หมวดที่ 4 : รายได$ก$าวหน$า (คนไทยมีงานทําและมีรายได$)มี 4 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข$อมูลความจําเปHนพื้นฐาน (จปฐ.) ป 2555 - 2559 หน4วย
21 คนอายุ 15-60 ปเต็ม มีอาชีพและมีรายได คน
22 คนอายุมกกว4า 60 ปเต็มขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได คน
23 คนในครัวเรือนมีรายไดเฉลี่ยไม4นอยกว4าคนละ 30,000 บาทต4อป ครัวเรือน
24 ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน ครัวเรือน
หมวดที่ 5 : ปลูกฝAงค4านิยมไทย (คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) มี 6 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข$อมูลความจําเปHนพื้นฐาน (จปฐ.) ป 2555 - 2559 หน4วย
25 คนในครัวเรือนไม4ดื่มสุรา (ยกเวนการดื่มเป?นครั้งคราว เฉลี่ยไม4เกินเดือนละ
1 ครั้งฯ)
คน
26 คนในครัวเรือนไม4สูบบุหรี่ คน
27 คนอายุ 6 ปขึ้นไป ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย4างนอยสัปดาหKละ 1 ครั้ง คน
28 คนสูงอายุไดรับการดูแลจากคนในครัวเรือนหมู4บานชุมชนหรือภาครัฐ คน
29 คนพิการไดรับการดูแลจากคนในครัวเรือนหมู4บานชุมชนหรือภาครัฐ คน
30 คนในครัวเรือนมีส4วนร4วมทํากิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชนKของหมู4บาน
ชุมชนหรือทองถิ่น
ครัวเรือน
15
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
ขั้นตอนการนํา จปฐ. ไปใช$ในการพัฒนา
2. รูปGญหา
3. วิเคราะหDปGญหา
(หาสาเหตุแนวทางแกไข)
4. จัดลําดับภูมิปGญญาและวางแผน
5. ดําเนินการตามแผน
7. สอนชุมชนอื่น ๆ
6. ประเมินผล
สํารวจ จปฐ. ซ้ํา
1. สํารวจ
ขอมูล
1. สํารวจขอมูล
2. รูปGญหา
3.วิเคราะหDปGญหา
4. จัดลําดับภูมปGญญาและวางแผน
5.ดําเนิน การตามแผน
6.ประเมินผล
7. สอนชุมชนอื่นๆ
16
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
สรุปสถานการณ>การใช$ จปฐ.
สรุปขั้นตอนทั้ง 7 ขั้นตอนของการนําขอมูล จปฐ. มาใชในกระบวนการพัฒนาชุมชนจะเห็น
ไดว4าสถานะของการใช จปฐ. มีอยู4 4 สถานะดวยกัน ดังนี้
เงื่อนไขแห4งความสําเร็จของ จปฐ.
การที่จะนํา จปฐ. มาใช เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนใหเป?นผลสําเร็จไดนั้น
องคKกรปกครองส4วนทองถิ่น/เจาหนาที่/ขาราชการ/ประชาชนและองคKกรเอกชน จะตองมีบทบาท
ดังต4อไปนี้
1. บทบาทของเจาหนาที่ของรัฐ
การที่จะใหเกิดการใช จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยดังที่กล4าวมาแลวนั้น
บทบาทหนาที่ของขาราชการทุกระดับจะตองมีบทบาทดังนี้ คือ
1) มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการใช จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเป?นอย4างดี
2) สามารถเชื่อมแนวความคิด จปฐ. เขากับการพัฒนาชุมชนที่มีอยู4เดิมอย4างดี
3) จะตองมีความเขาใจว4า จปฐ. นี้ไม4ใช4ของขาราชการกระทรวงใดกระทรวงหนึ่งแต4เป?น
ของประชาชน แต4เป?นภาพรวมที่ตองการใหชาวบานบรรลุเปNาหมายตามเกณฑK จปฐ. นี้ทุกขอ ดังนั้นจึง
มีความจําเป?นที่จะตองร4วมกันพัฒนาสนับสนุนชาวบานทุกเรื่องตาม จปฐ.
4) ขาราชการที่มีความรู และสามารถถ4ายทอดความรูนี้ไปใหวิทยากรระดับล4างไดและ
ระดับล4างสุดจะตองถ4ายทอดความรูเรื่อง จปฐ. ใหแก4ชาวบานไดจนกระทั่งชาวบานสามารถปฏิบัติได
ตามแนวคิด จปฐ.
17
Goal
สภาพปัจจุบัน บรรลุ จปฐ. ปี 2558
MBO
1. เปนเปาหมาย
2. เปนตัวชี้วัด
3. เปนขอมูล สามารถใช้ประกอบการวางแผน
4. เปนกระบวนการ การเก็บข้อมูล/วิเคราะห์/หาแนวทางแก้ไข/วางแผน/
เป็นเป้ าหมายที/สามารถวัดได้ชัดเจน
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
5) เมื่อชาวบานทําแผนระดับชุมชนแลว เป?นหนาที่ของขาราชการทุกกระทรวงที่จะตอง
ใหการสนับสนุน กระตุนอย4างต4อเนื่อง เพื่อใหชาวบานเกิดการปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแผน
ที่วางไว
6) ขาราชการควรจะตองมีการออกนิเทศงาน ติดตาม ช4วยแกไขปPญหาอุปสรรคใหกับ
ชาวบานอย4างต4อเนื่องสม่ําเสมอ
7) ขาราชการควรมีการประชุมร4วมกันทุกกระทรวงเป?นประจํา และมีการฟ]นฟูความรู
ความเขาใจเกี่ยวกับการนํา จปฐ. ไปใชพัฒนาคุณภาพชีวิต
2. บทบาทขององคกรประชาชน
องคKกรประชาชนในระดับหมู4บานซึ่งอาจจะเป?นกรรมการชุมชน กลุ4มสตรี กลุ4มเยาวชน
อสม. ฯลฯ ซึ่งจะมีบทบาทในการนํา จปฐ. ไปใชเป?นเครื่องชี้วัดการพัฒนานั้นจะตองมีบทบาทโดย
ละเอียด ดังนี้
1) มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการใช จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสามารถ
นําไปปฎิบัติในหมู4บานตนเองได
2) จะตองถ4ายทอดความรู ความเขาใจนี้ไปยังชาวบานอื่น ๆ หรือชุมชนใกลเคียงได
3) นําผลสํารวจ จปฐ. มาวางแผนพัฒนาชุมชนแลวปฏิบัติตามแผนที่วางไวไดอย4างจริงจัง
4) มีการระดมทรัพยากรในทองถิ่นตนเองมาใช ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งเรื่อง
กําลังคน เงิน วัสดุอุปกรณKต4าง ๆ
5) มีการติดตามนิเทศ ช4วยเหลือกันเองเพื่อแกไขปPญหาอุปสรรคต4าง ๆ ภายในชุมชน
หรือชุมชนใกลเคียง ถาเกินกําลังที่จะแกไขกันไดเอง ใหติดต4อประสานงานกับองคKกรปกครองส4วน
ทองถิ่น หรือส4วนราชการอื่น ๆ
6) มีการฟ]นฟูความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการใช จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเป?น
ประจํา
7) ประเมินผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตในชุมชนโดยการสํารวจ จปฐ. ซ้ําทุกป เพื่อทําให
ทราบว4าระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตดีขึ้นหรือไม4อย4างไร
3. บทบาทองคกรเอกชน (NGO)
การพัฒนาคุณภาพชีวิต นอกจากในส4วนของขาราชการและประชาชน จะประสาน
ช4วยเหลือกันแลว ยังมีองคKกรเอกชน (NGO) อีกจํานวนมาก ที่จะเขามามีบทบาทช4วยเหลือการพัฒนา
คุณภาพชีวิตได ดังนี้
1) ช4วยเรื่องเงินทุน เมื่อชาวบานขาดเงินทุนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต องคKกรเอกชน
อาจจะช4วยหาเงินช4วยเหลือจากแหล4งต4าง ๆ ได
2) ช4วยเรื่องกําลังคน มีองคKกรเอกชนจํานวนมากที่ไดส4งนักพัฒนา หรืออาสาสมัคร เขาไป
ช4วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ทําใหชาวบานมีกําลังคนเพิ่มขึ้น เพื่อช4วยคิด ช4วยทําการ
พัฒนาคุณภาพชีวิต
18
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
3) ช4วยเรื่องความรูวิชาการต4าง ๆ มีองคKกรเอกชนจํานวนมากที่มีบทบาทเกี่ยวกับ การให
ความรูความเขาใจประชาชน องคKกรเอกชนเหล4านี้จึงสามารถช4วยไดอย4างมาก
4) การประชาสัมพันธK แนวความคิดเรื่อง จปฐ. จําเป?นตองมีการสื่อความหมายถ4ายทอด
แนวความคิดเป?นเอกภาพและความมีพลังในการทํางานพัฒนาคุณภาพชีวิต องคKกรเอกชนทั้งหลายที่มี
บทบาทดานการสื่อสารประชาสัมพันธK จึงจําเป?นตองช4วยในเรื่องเหล4านี้อย4างมาก ทั้งวิทยุ โทรทัศนK
หนังสือพิมพK วารสาร เอกสาร ฯลฯ
กระบวนการจัดเก็บข$อมูล ป 2558
จังหวัดนครราชสีมา กําหนดสัปดาหKการจัดเก็บขอมูล จปฐ. และขอมูลพื้นฐาน
ระหว4างวันที่ 8 - 17 ธันวาคม 2557 เพื่อเป?นการกระตุนใหประชาชน และหน4วยงานต4างๆ ไดเห็น
ความสําคัญของการจัดเก็บ และใชประโยชนKจากขอมูล และประชาสัมพันธKผ4านช4องทางต4างๆ เช4น
สถานีวิทยุ, จอ LED, เว็บไซตK, หอกระจายข4าว และช4องทางอื่นๆ
สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา ร4วมกับองคKกรปกครองส4วนทองถิ่น
(อปท.) ดําเนินการจัดเก็บขอมูล จปฐ. และขอมูลพื้นฐาน ระหว4างเดือนธันวาคม – กุมภาพันธK 2558 โดย
กรมการพัฒนาชุมชนจัดประชุมชี้แจงผูรับผิดชอบระดับจังหวัดเมื่อวันที่ 8-12 พฤศจิกายน 2557
หลังจากรับนโยบายมาแลวสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมาไดประสานการดําเนินงานกับ
ทุกอําเภอ โดยมีกระบวนการดังนี้
สัปดาหKที่ 1 เตรียมความพรอมในการจัดเก็บขอมูล
สัปดาหKที่ 2 ประชาสัมพันธKการจัดเก็บขอมูล จปฐ./พื้นฐาน
สัปดาหKที่ 3 ดําเนินการจัดเก็บขอมูล จปฐ./พื้นฐาน
สัปดาหKที่ 4 - 5 ตรวจสอบความถูกตอง และดําเนินการบันทึกขอมูล
สัปดาหKที่ 6 ประมวลผล และตรวจสอบความถูกตองระดับตําบล
สัปดาหKที่ 7 ประมวลผล และตรวจสอบความถูกตองระดับอําเภอ
สัปดาหKที่ 8 ประมวลผล และตรวจสอบความถูกตองระดับจังหวัด
สัปดาหKที่ 9 การนําขอมูลไปใชประโยชนK
ผูใหขอมูล ไดแก4 หัวหนาครัวเรือน ผูอยู4อาศัยในหมู4บาน/ชุมชน เป?นระยะเวลา
ไม4นอยกว4า 6 เดือนในรอบป
ผูจัดเก็บขอมูล ไดแก4 อาสาสมัครที่เขารับการอบรมการสํารวจขอมูล
พื้นที่จัดเก็บขอมูล จัดเก็บขอมูลในพื้นที่เขตชนบท และเขตเมือง
19
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
เนื้อหาในส4วนนี้ คือ ผลการจัดเก็บขอมูลพื้นฐานการพัฒนาชนบท ป 2558 ของจังหวัด
นครราชสีมา ซึ่งเป?นปที่สองของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติฉบับที่ 11 ที่กระทรวงมหาดไทย
ไดกําหนดใหมีการสํารวจและจัดเก็บขอมูล จปฐ. จากทุกครัวเรือนในเขตชนบท (เขต อบต. และเทศบาล
ตําบลที่ยกฐานะจาก อบต.) และจัดเก็บขอมูลพื้นฐานในเขตเมือง (เมืองพัทยา เทศบาลนคร เทศบาล
เมือง และเทศบาลตําบลที่ยกฐานะจากสุขาภิบาล) จากผูที่อาศัยอยู4จริงไม4นอยกว4า 180 วัน (ทั้งที่มี
เลขที่บาน และไม4มีเลขที่บาน) ณ วันที่ทําการสํารวจขอมูลระหว4างเดือนธันวาคม – กุมภาพันธK นับ
ยอนหลังไป 12 เดือน จํานวนทั้งสิ้น 669,011 ครัวเรือน จาก 4,238 หมู4บาน 333 ตําบล 32 อําเภอ
เพื่อนําไปประมวลผลขอมูลเป?นภาพรวมในระดับจังหวัด และระดับประเทศต4อไป
1. จํานวนครัวเรือน มีจํานวน 669,011 ครัวเรือน
ป
ครัวเรือน
จํานวน ร$อยละ
2555 393,605 18.50
2556 398,635 18.74
2557 666,055 31.31
2558 669,011 31.45
รวม 2,127,306 100
ป 2558 มีครัวเรือนที่ไดทําการสํารวจขอมูลมากที่สุด จํานวน 669,011 ครัวเรือน คิดเป?น
รอยละ 31.45 รองลงมาคือ ป 2557 จํานวน 666,055 ครัวเรือน คิดเป?นรอยละ 31.31 และป 2556
จํานวน 398,635 ครัวเรือน คิดเป?นรอยละ 18.74
18.50 18.74
31.31 31.45
-
5.00
10.00
15.00
20.00
25.00
30.00
35.00
ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558
ร้อยละ
แผนภูมิเปรียบเทียบร้อยละของจํานวนครัวเรือนรายปี
20
ข$อมูลทั่วไปของประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ส4วนที่ 2
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
2. จํานวนประชากร มีจํานวน 1,958,001 คน
ป
ชาย หญิง รวม
คน ร$อยละ คน ร$อยละ คน ร$อยละ
2555 703,865 48.93 734,776 51.07 1,438,641 21.11
2556 703,223 48.80 737,781 51.20 1,441,004 21.15
2557 961,943 48.66 1,014,904 51.34 1,976,847 29.01
2558 955,148 48.78 1,002,853 51.22 1,958,001 28.73
รวม 3,324,179 48.78 3,490,314 51.22 6,814,493 100
จังหวัดนครราชสีมามีจํานวนประชากรรวมยอนหลัง 4 ป เป?นเพศหญิงรอยละ 51.22 และ
เพศชาย รอยละ 48.78 จากผลการวิเคราะหKขอมูลประชากรในจังหวัดรวมยอนหลัง 4 ป พบว4า
จํานวนประชากรเพศหญิงมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น มากกว4าเพศชาย
อําเภอที่มีประชากรมากที่สุด 3 ลําดับแรก ได$แก4
1. อําเภอเมืองนครราชสีมา จํานวนประชากร 280,093 คน จํานวน 108,422 ครัวเรือน
2. อําเภอปากช4อง จํานวนประชากร 136,776 คน จํานวน 49,105 ครัวเรือน
3. อําเภอปPกธงชัย จํานวนประชากร 104,942 คน จํานวน 38,045 ครัวเรือน
อําเภอที่มีประชากรน$อยที่สุด 3 ลําดับแรก ได$แก4
1. อําเภอเทพารักษK จํานวนประชากร 16,218 คน จํานวน 5,348 ครัวเรือน
2. อําเภอเทพารักษK จํานวนประชากร 16,773 คน จํานวน 5,902 ครัวเรือน
3. อําเภอสีดา จํานวนประชากร 18,351 คน จํานวน 5,348 ครัวเรือน
48.93 48.8 48.66 48.78
51.07 51.2 51.34 51.22
47.00
47.50
48.00
48.50
49.00
49.50
50.00
50.50
51.00
51.50
52.00
ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558
ร้อยละ แผนภูมิแสดงอัตราส่วนของประชากร
ชาย
หญิง
21
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
3. ช4วงอายุของประชากร
3.1 ช4วงอายุของประชากร จําแนกตามช4วงอายุ แบบ 10 ช4วง
ช4วงอายุ
เพศชาย เพศหญิง รวม
คน ร$อยละ คน ร$อยละ คน ร$อยละ
นอยกว4า 1 ปเต็ม 3,717 0.39 3,765 0.38 7,482 0.38
1 ปเต็ม - 2 ป 14,148 1.48 13,329 1.33 27,477 1.40
3 ปเต็ม - 5 ป 29,242 3.06 27,352 2.73 56,594 2.89
6 ปเต็ม - 11 ป 70,279 7.36 66,280 6.61 136,559 6.97
12 ปเต็ม - 14 ป 37,070 3.88 35,948 3.58 73,018 3.73
15 ปเต็ม - 17 ป 39,172 4.10 37,727 3.76 76,899 3.93
18 ปเต็ม - 25 ป 103,853 10.87 101,600 10.13 205,453 10.49
26 ปเต็ม - 49 ป 357,862 37.47 374,478 37.34 732,340 37.40
50 ปเต็ม - 60 ปเต็ม 155,020 16.23 169,435 16.90 324,455 16.57
มากกว4า 60 ปเต็ม ขึ้นไป 144,785 15.16 172,939 17.24 317,724 16.23
รวม 955,148 100 1,002,853 100 1,958,001 100
ประชากรส4วนมากมีช4วงอายุ 26 – 49 ป รอยละ 37.40 แยกเป?นเพศชาย รอยละ 37.47 เพศหญิง
รอยละ 37.34 รองลงมา มีช4วงอายุ 50 ปเต็ม – 60 ปเต็ม รอยละ 16.57 อายุ 60 ปเต็มขึ้นไป รอยละ
16.23 อายุ 18 ปเต็ม – 25 ป รอยละ 10.49 และอายุ 6 ปเต็ม – 11 ป รอยละ 6.97 สรุปไดว4า
ประชากรส4วนใหญ4ของจังหวัดนครราชสีมา มากกว4า รอยละ 70.20 มีอายุตั้งแต4 26 ปเต็มขึ้นไป
0
5
10
15
20
25
30
35
40
ร้อยละ
แผนภูมิร้อยละของประชากรตามช่วงอายุ
ชาย
หญิง
22
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
3.2 ช4วงอายุของประชากร จําแนกตามช4วงอายุ แบบ 20 ช4วง
ช4วงอายุ
เพศชาย เพศหญิง รวม
คน ร$อยละ คน ร$อยละ คน ร$อยละ
101 ปขึ้นไป 72 0.01 137 0.01 209 0.01
96 – 100 ป 295 0.03 625 0.06 920 0.05
91 – 95 ป 1,357 0.14 2,396 0.24 3,753 0.19
86 – 90 ป 4,883 0.51 7,737 0.77 12,620 0.64
81 – 85 ป 10,455 1.09 14,398 1.44 24,843 1.27
76 – 80 ป 18,896 1.98 24,197 2.41 43,093 2.20
71 – 75 ป 24,602 2.58 28,932 2.88 53,534 2.73
66 – 70 ป 35,537 3.72 39,980 3.99 75,517 3.86
61 – 65 ป 48,698 5.10 54,537 5.44 103,235 5.27
56 – 60 ป 63,365 6.63 69,606 6.94 132,971 6.79
51 – 55 ป 74,884 7.84 81,502 8.13 156,386 7.99
46 – 50 ป 82,484 8.64 89,615 8.94 172,099 8.79
41 – 45 ป 82,188 8.60 88,256 8.80 170,444 8.71
36 – 40 ป 78,361 8.20 81,666 8.14 160,027 8.17
31 – 35 ป 69,694 7.30 71,490 7.13 141,184 7.21
26 – 30 ป 61,906 6.48 61,778 6.16 123,684 6.32
21 – 25 ป 63,060 6.60 62,269 6.21 125,329 6.40
16 – 20 ป 67,077 7.02 64,873 6.47 131,950 6.74
11 – 15 ป 62,404 6.53 59,602 5.94 122,006 6.23
6 – 10 ป 57,833 6.05 54,811 5.47 112,644 5.75
1 – 5 ป 43,390 4.54 40,681 4.06 84,071 4.29
นอยกว4า 1 ป 3,717 0.39 3,765 0.38 7,482 0.38
รวม 955,148 100 1,002,853 100 1,958,001 100
23
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
4. ประชากร จําแนกตามระดับการศึกษา
ระดับการศึกษา
เพศ
รวม (คน) ร$อยละ
ชาย (คน) ร$อยละ หญิง (คน) ร$อยละ
ไม4เคยศึกษา 30,944 3.24 37,026 3.69 67,970 3.47
อนุบาล/ศูนยKเด็กเล็ก 32,552 3.41 30,780 3.07 63,332 3.23
ต่ํากว4าชั้นประถมศึกษา 40,699 4.26 44,132 4.40 84,831 4.33
จบชั้นประถมศึกษา (ป. 4, ป. 7, ป. 6) 440,293 46.1 470,424 46.91 910,717 46.51
มัธยมศึกษาตอนตน (มศ. 1-3, ม. 1-3) 171,589 17.96 155,365 15.49 326,954 16.70
มัธยมศึกษาตอนปลาย
(มศ. 4-5, ม. 4-6, ปวช.)
139,994 14.66 143,379 14.30 283,373 14.47
อนุปริญญา หรือเทียบเท4า 37,202 3.89 33,042 3.29 70,244 3.59
ปริญญาตรี หรือเทียบเท4า 57,564 6.03 83,707 8.35 141,271 7.22
สูงกว4าปริญญาตรี 4,311 0.45 4,998 0.50 9,309 0.48
รวม 955,148 100 1,002,853 100 1,958,001 100
ประชากรส4วนมาก รอยละ 46.51 จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา (ป.4, ป.7, ป.6) รองลงมา รอยละ
16.70 จบชั้นมัธยมศึกษาตอนตน (มศ.1-3, ม.1-3) และรอยละ 14.47 จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (มศ.4-
5, ม.4-6, ปวช.) ตามลําดับ มีเพียงรอยละ 7.70 ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ซึ่งหาก
พิจารณาเปรียบเทียบระดับการศึกษาระหว4างชายและหญิง จะพบว4าในระดับปริญญาตรีขึ้นไป ผูหญิง
มีโอกาสทางการศึกษามากกว4าผูชาย
3.47 3.23 4.33
46.51
16.7
14.47
3.59
7.22
0.48
0
5
10
15
20
25
30
35
40
45
50
ร้อยละ
แผนภูมิเปรียบเทียบระดับการศึกษา
24
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
5. ประชากร จําแนกตามอาชีพ
ประเภทอาชีพ
เพศ
รวม (คน) ร$อยละ
ชาย (คน) ร$อยละ หญิง (คน) ร$อยละ
เกษตรกรรม - ทํานา 198,685 20.8 208,415 20.78 407,100 20.79
เกษตรกรรม - ทําไร4 66,074 6.92 60,444 6.03 126,518 6.46
เกษตรกรรม - ทําสวน 3,160 0.33 3,150 0.31 6,310 0.32
เกษตรกรรม - ประมง 201 0.02 69 0.01 270 0.01
เกษตรกรรม - ปศุสัตวK 1,985 0.21 1,551 0.15 3,536 0.18
รับราชการ เจาหนาที่ของรัฐ 36,466 3.82 28,240 2.82 64,706 3.3
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 3,151 0.33 2,987 0.3 6,138 0.31
พนักงานบริษัท 20,661 2.16 23,720 2.37 44,381 2.27
รับจางทั่วไป 309,974 32.45 288,719 28.79 598,693 30.58
คาขาย 39,176 4.1 66,651 6.65 105,827 5.4
ธุรกิจส4วนตัว 17,795 1.86 17,236 1.72 35,031 1.79
อาชีพอื่น (นอกเหนือที่กล4าวแลว) 19,323 2.02 33,054 3.3 52,377 2.68
กําลังศึกษา 188,038 19.69 194,251 19.37 382,289 19.52
ไม4มีอาชีพ 50,459 5.28 74,366 7.42 124,825 6.38
รวม 955,148 100 1,002,853 100 1,958,001 100
20.79
6.46
0.32 0.01 0.18
3.3
0.31
2.27
30.58
5.4
1.79 2.68
19.52
6.38
0
5
10
15
20
25
30
35
ร้อยละ
แผนภูมิเปรียบเทียบการประกอบอาชีพ
25
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
ประชากรส4วนมาก รอยละ 30.58 ประกอบอาชีพรับจางทั่วไป รองลงมา รอยละ 20.79
ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม-ทํานา และรอยละ 19.52 เป?นผูที่อยู4ในวัยกําลังศึกษา และไม4ไดประกอบอาชีพ
ตามลําดับ ซึ่งมีเพียงรอยละ 6.38 ที่ไม4ไดประกอบอาชีพ
6. ประชากร จําแนกตามศาสนา
ศาสนา
เพศ
รวม (คน) ร$อยละ
ชาย (คน) ร$อยละ หญิง (คน) ร$อยละ
พุทธ 952,447 99.72 1,000,020 99.72 1,952,467 99.72
คริสตK 2,195 0.23 2,321 0.23 4,516 0.23
อิสลาม 391 0.04 390 0.04 781 0.04
ซิกสK 14 - 16 - 30 -
ฮินดู 15 - 11 - 26 -
อื่นๆ 86 0.01 95 0.01 181 0.01
รวม 955,148 100 1,002,853 100 1,958,001 100
ประชากรส4วนมาก รอยละ 99.72 นับถือศาสนาพุทธ รองลงมา รอยละ 0.23 นับถือศาสนาคริสตK
รอยละ 0.04 นับถือศาสนาอิสลาม ตามลําดับ
99.72
0.23 0.04 0.01
0
20
40
60
80
100
120
พุทธ คริสต์ อิสลาม ซิกส์ ฮินดู อื*นๆ
ร้อยละ แผนภูมิเปรียบเทียบการนับถือศาสนา
26
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558
หมวดที่ 1 : สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี 7 ตัวชี้วัด
ตัวชี(วัด
จํานวน
ทั(งหมด
ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์
จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ
1. เด็กแรกเกิดมีนํ0าหนักไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม 13,509 คน 13,417 99.32 92 0.68
2. เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได ้รับการฉีดวัคซีน
ป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
โรค
252,089 คน 251,974 99.95 115 0.05
3. เด็กแรกเกิดได ้กินนมแม่อย่างเดียวอย่าง
น้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน
9,836 คน 9,331 94.87 505 5.13
4. ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ
ปลอดภัย และได ้
669,011 คร. 664,260 99.29 4,751 0.71
5. คนในครัวเรือนมีการใช ้ยาเพื*อบําบัด บรรเทา
อาการเจ็บป่ วยเบื0องต ้นอย่างเหมาะสม
669,011 คร. 664,210 99.28 4,801 0.72
6. คนอายุ 35 ปีขึ0นไป ได ้รับการตรวจสุขภาพ
ประจําปีเพื*อคัดกรองความเสี*ยงฯ
1,139,940 คน 1,116,906 97.98 23,034 2.02
7. คนอายุ 6 ปีขึ0นไป ออกกําลังกายอย่างน้อย
สัปดาห์ละ 3 วันๆ ละ 30 นาที
1,866,448 คน 1,862,608 99.79 3,840 0.21
ผลการจัดเก็บข$อมูล ป 2558 หมวดที่ 1 สุขภาพดี จํานวน 7 ตัวชี้วัด พบว4า
ตัวชี้วัดที่คนตกเกณฑ>มากที่สุด 3 ลําดับแรก คือ
1) เด็กแรกเกิดไดกินนมแม4อย4างเดียวอย4างนอย 6 เดือนแรกติดต4อกัน รอยละ 5.13
2) คนอายุ 35 ปขึ้นไป ไดรับการตรวจสุขภาพประจําปเพื่อคัดกรองความเสี่ยงต4อ
โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง รอยละ 2.02
3) คนในครัวเรือนมีการใชยาเพื่อบําบัด บรรเทาอาการเจ็บปLวยเบื้องตน รอยละ 0.72
ตัวชี้วัดที่คนตกเกณฑ>น$อยที่สุด 3 ลําดับแรก คือ
1) เด็กแรกเกิดถึง 12 ป ไดรับการฉีดวัคซีนปNองกันโรคครบตามตารางเสริมสรางภูมิคุมกันโรค
รอยละ 0.05
2) คนอายุ 6 ปขึ้นไป ออกกําลังกายอย4างนอยสัปดาหKละ 3 วันๆ ละ 30 นาที รอยละ 0.21
3) เด็กแรกเกิดมีน้ําหนักไม4นอยกว4า 2,500 กรัม รอยละ 0.68
27
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ส4วนที่ 3
จําแนกรายหมวด และตัวชี้วัด
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558

More Related Content

Similar to รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558

นำเสนอมูลนิธิ57 สอน.โพนงาม อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ 12 มิย 57
นำเสนอมูลนิธิ57 สอน.โพนงาม อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ 12 มิย 57นำเสนอมูลนิธิ57 สอน.โพนงาม อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ 12 มิย 57
นำเสนอมูลนิธิ57 สอน.โพนงาม อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ 12 มิย 57
Benchapon Sangswai
 

Similar to รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558 (18)

นำเสนอมูลนิธิ57 สอน.โพนงาม อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ 12 มิย 57
นำเสนอมูลนิธิ57 สอน.โพนงาม อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ 12 มิย 57นำเสนอมูลนิธิ57 สอน.โพนงาม อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ 12 มิย 57
นำเสนอมูลนิธิ57 สอน.โพนงาม อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ 12 มิย 57
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
 
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
 
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 ฉบับที่ 1
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 ฉบับที่ 1ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 ฉบับที่ 1
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 ฉบับที่ 1
 
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560ผลการปฏิบัติงานปี 2560
ผลการปฏิบัติงานปี 2560
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
 
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
 
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59 นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้นสุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
การเพิ่มขีดความสามารถในงานวิจัย เพื่อพัฒนาการให้การบริการในเขตพื้นที่ของตนเอง
การเพิ่มขีดความสามารถในงานวิจัย เพื่อพัฒนาการให้การบริการในเขตพื้นที่ของตนเอง การเพิ่มขีดความสามารถในงานวิจัย เพื่อพัฒนาการให้การบริการในเขตพื้นที่ของตนเอง
การเพิ่มขีดความสามารถในงานวิจัย เพื่อพัฒนาการให้การบริการในเขตพื้นที่ของตนเอง
 
รายงานประจําปี. สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2554
รายงานประจําปี. สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2554รายงานประจําปี. สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2554
รายงานประจําปี. สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2554
 
Functions of Health Systems
Functions of Health SystemsFunctions of Health Systems
Functions of Health Systems
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
human security integrated development
human security integrated developmenthuman security integrated development
human security integrated development
 

รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2558

  • 1.
  • 2. ประมวลสรุป พระราชกระแสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล"าฯ ให"คณะกรรมการอํานวยการ งานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) และเจ"าหน"าที่ เข"าเฝ-าถวายรายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย ___________________________________________ การดําเนินงานพัฒนา แตกอนใชวัดดวยสายตาบาง เฉลี่ยไปตามความคิดเห็นที่ไมเป%นเชิง สถิติบาง ทําไปเรื่อย ๆ บาง แตตอนนี้ทางราชการมีการสํารวจขอมูล จปฐ. เป%นขอมูลที่คิดวาในขณะนี้ ดีที่สุดแลว ดีในการเป%นฐานใหเริ่มตนแกไขป2ญหา เป%นขอมูลที่งาย ดูงาย และเห็นดวยที่มีการสํารวจ ขอมูล จปฐ. มีการวัดเพื่อใหพบป2ญหา ซึ่งเมื่อรูป2ญหาแลวจะไดมีการแกไขสําหรับการวัดนั้นจะตรง หรือไมตรง แนนอนตองมีการผิดพลาดบาง ก็ไมนาจะเป%นป2ญหาใหญ ขอใหมีสิ่งที่จะชวยชี้ใหฝ8ายรัฐ เขาไปหาชาวบานไดทราบป2ญหาชาวบานบาง เมื่อเราทําจริง สํารวจจริงแลว จะทําใหพบกับบุคคลที่ ควรสงเคราะห9 หรือทําใหพบป2ญหา และเมื่อพบป2ญหาแลวจะแกไขอยางไร เป%นสิ่งซึ่งจะตามมา หลักการพัฒนาที่ควรจะคํานึงถึง คือ ชวยเขาเพื่อใหเขาชวยตัวเองไดการใหคําแนะนําเพื่อใหชาวบาน ไดเรียนรูวิธีการแกไขป2ญหาดวยตัวเองจึงเป%น สิ่งสําคัญ ___________________________________________ (ไดรับพระราชทานพระราชานุญาต ตามหนังสือสํานักราชเลขาธิการ ที่ รล. 0017/10527 ลงวันที่ 29 ตุลาคม 2534)
  • 3. คํานํา รายงานการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา จัดทําขึ้นเพื่อนําเสนอผลการ จัดเก็บและวิเคราะห)ข*อมูลคุณภาพชีวิตของประชาชนในจังหวัด ด*วยเกณฑ)ตัวชี้วัดขั้นพื้นฐาน ที่ครอบคลุมในด*านต/างๆ ที่ประชาชนทุกคนพึงมี โดยดําเนินการสํารวจและจัดเก็บข*อมูลจาก ทุกครัวเรือน ทุกหมู/บ*านในเขตชนบท และเขตเมืองของจังหวัดนครราชสีมา ผลที่ได*จากการสํารวจ ข*อมูลจะทําให*ทราบถึงคุณภาพชีวิตของประชาชน ในระดับครัวเรือน หมู/บ*าน ตําบล อําเภอ และ ภาพรวมของจังหวัด โดยใช*เครื่องชี้วัดข*อมูลความจําเป4นพื้นฐาน 5 หมวด 30 ตัวชี้วัด ในการประมวลผลการจัดเก็บข*อมูล ป8 2558 ภาพรวมของจังหวัดนครราชสีมาจาก 669,011 ครัวเรือน 4,238 หมู/บ*าน/ชุมชน 333 ตําบล 32 อําเภอ พบว/าร*อยละของตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ) เรียงลําดับจากมากไปน*อยได*แก/ ตัวชี้วัดที่ 19, 26, 25, 22, 3, 18, 6, 21, 24, 30, 5, 4, 1, 12, 27, 11, 29, 23, 13, 16, 7, 8, 15, 14, 9, 10, 20, 17, 2 และตัวชี้วัดที่ 28 โดยผลการจัดเก็บข*อมูลด*าน รายได* (ตัวชี้วัดที่ 23) จังหวัดนครราชสีมามีรายได*เฉลี่ยต/อคนต/อป8ในภาพรวมของจังหวัดเท/ากับ 81,204 บาทต/อคนต/อป8 และมีครัวเรือนที่มีรายได*เฉลี่ยต/อคนต/อป8ต่ํากว/าเกณฑ) (30,000 บาท) จํานวน 1,808 ครัวเรือน สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา ในฐานะผู*ประสานการดําเนินงานบริหารการ จัดเก็บข*อมูลทุกครัวเรือนเป4นประจําทุกป8 หวังเป4นอย/างยิ่งว/าเอกสาร “รายงานคุณภาพชีวิตของ ประชาชนจังหวัดนครราชสีมา” ฉบับนี้ จะเป4นเครื่องมือหนึ่งที่ช/วยให*หน/วยงานที่เกี่ยวข*องกับการ พัฒนาคุณภาพชีวิตตของประชาชนในจังหวัด ทั้งภาครัฐ เอกชน องค)กรปกครองส/วนท*องถิ่น และ องค)กรภาคประชาชน ตลอดจนนิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไปได*นําไปใช*ประโยชน)ในการ วางแผนแก*ไขปIญหา และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให*ดียิ่งขึ้นต/อไป สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา มิถุนายน 2558
  • 4. สารบัญ ประมวลสรุปพระราชกระแสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คํานํา บทสรุปผูบริหาร 1 ส$วนที่ 1 แนวความคิดเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิต 11 แนวคิดเรื่อง จปฐ. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 11 ความหมายของคุณภาพชีวิต และ จปฐ. 11 ข#อมูลความจําเป&นพื้นฐาน จปฐ. 11 แนวคิดและความเป&นมาของข#อมูล จปฐ. 12 ขั้นตอนการนํา จปฐ. ไปใช#ในการพัฒนา 16 กระบวนการจัดเก็บข#อมูล จปฐ. ป/ 2558 19 ส$วนที่ 2 ขอมูลทั่วไปของประชาชนจังหวัดนครราชสีมา 20 จํานวนครัวเรือน 20 จํานวนประชากร 21 ช4วงอายุ 22 การศึกษา 24 อาชีพ 25 ศาสนา 26 ส$วนที่ 3 รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา 27 จําแนกรายหมวด 27 จําแนกรายตัวชี้วัด 32 ส$วนที่ 4 รายได และรายจ$ายของคนในจังหวัดนครราชสีมา 62 รายได# 62 รายจ4าย 63 จํานวนครัวเรือนที่มีรายได#เฉลี่ยต่ํากว4าเกณฑ? 30,000 บาท ต4อคนต4อป/ 66 รายได#เฉลี่ยของแต4ละอําเภอ 67 รายจ4ายเฉลี่ยของแต4ละอําเภอ 68 ส$วนที่ 5 ผลการจัดเก็บขอมูลรายตัวชี้วัด จําแนกตามอําเภอ 70 พื้นที่การสํารวจข#อมูล ป/ 2558 70 จํานวนประชากร ชาย – หญิง 71
  • 5. สารบัญ รายได# - รายจ4ายเฉลี่ยต4อคนต4อป/ 72 ผลการจัดเก็บข#อมูล รายตัวชี้วัด 74 ภาคผนวก
  • 6. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 ผลการจัดเก็บขอมูลพื้นฐานการพัฒนาชนบท ป 2558 ซึ่งจัดเก็บขอมูลจากทุกครัวเรือนใน เขตชนบท (เขต อบต. และเทศบาลตําบลที่ยกฐานะจาก อบต.) และในเขตเมือง (เมืองพัทยา เทศบาลนคร เทศบาลเมือง และเทศบาลตําบลที่ยกฐานะจากสุขาภิบาล) ที่มีผูอาศัยอยู4จริง (ทั้งที่มีและไม4มีบานเลขที่) จํานวน 669,011 ครัวเรือน จาก 4,238 หมู4บาน 333 ตําบล 32 อําเภอ โดยมีประชากรทั้งหมด 1,958,001 คน แบ4งเป?นเพศชาย 955,148 คน (48.78%) เพศหญิง 1,002,853 คน (51.22%) พบว4า ประชาชนมีคุณภาพชีวิตตามเครื่องชี้วัดขอมูลพื้นฐานการพัฒนาชนบท จํานวน 5 หมวด 30 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1. ขอมูลทั่วไป 1.1 จํานวนครัวเรือน (ย$อนหลัง 4 ป) ป จํานวน (คร.) ร$อยละ 2555 393,605* 18.50 2556 398,635* 18.74 2557 666,055 31.31 2558 669,011 31.45 รวม 2,127,306 100 * ป พ.ศ. 2555 - 2556 มีการสํารวจและจัดเก็บขอมูลเฉพาะในเขตชนบท (เขต อบต. และ เทศบาลตําบลที่ยกฐานะจาก อบต.) 1.2 จํานวนประชากร (ย$อนหลัง 4 ป) ป ชาย หญิง รวม คน ร$อยละ คน ร$อยละ คน ร$อยละ 2555 703,865 48.93 734,776 51.07 1,438,641 21.11 2556 703,223 48.80 737,781 51.20 1,441,004 21.15 2557 961,943 48.66 1,014,904 51.34 1,976,847 29.01 2558 955,148 48.78 1,002,853 51.22 1,958,001 28.73 รวม 3,324,179 48.78 3,490,314 51.22 6,814,493 100 จังหวัดนครราชสีมา มีจํานวนประชากรเพศหญิงสูงกว4าประชากรเพศชาย คิดเป?นรอยละ 5 ของประชากรชายรวมยอนหลัง 4 ป บทสรุปสําหรับผู$บริหาร 1
  • 7. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 1.3 ช4วงอายุ จากผลการสํารวจขอมูล พบว4า ประชากรส4วนมากมีช4วงอายุระหว4าง 46 – 50 ปเต็ม จํานวน 172,099 คน คิดเป?นรอยละ 8.79 รองลงมา มีช4วงอายุระหว4าง 41 – 45 ปเต็ม จํานวน 170,444 คน คิดเป?นรอยละ 8.71 และมีช4วงอายุระหว4าง 36 – 40 ปเต็ม จํานวน 160,027 คน คิดเป?นรอยละ 8.17 ตามลําดับ 1.4 ระดับการศึกษา จากผลการสํารวจขอมูล พบว4า ประชากรส4วนมากจบการศึกษาชั้นประถมศึกษา (ป.4, ป.7, ป.6) จํานวน 910,717 คน คิดเป?นรอยละ 46.51 รองลงมา จบชั้นมัธยมศึกษาตอนตน (มศ.1-3, ม.1-3) จํานวน 326,954 คน คิดเป?นรอยละ 16.70 และจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (มศ.4-5, ม.4-6, ปวช.) จํานวน 283,373 คน คิดเป?นรอยละ 14.47 ตามลําดับ มีเพียงรอยละ 7.70 ที่จบการศึกษาระดับ ปริญญาตรีขึ้นไป 1.5 อาชีพ จากผลการสํารวจขอมูล พบว4า ประชากรส4วนมากประกอบอาชีพรับจางทั่วไป จํานวน 598,693 คน คิดเป?นรอยละ 30.58 รองลงมาประกอบอาชีพ เกษตรกรรม – ทํานา จํานวน 407,100 คน คิดเป?นรอยละ 20.79 และกําลังศึกษา จํานวน 382,289 คน คิดเป?นรอยละ 19.52 ตามลําดับ 1.6 ศาสนา จากผลการสํารวจขอมูล พบว4า ประชากรส4วนมากนับถือศาสนาพุทธมากที่สุด จํานวน 1,952,467 คน คิดเป?นรอยละ 99.72 รองลงมานับถือศาสนาคริสตK จํานวน 4,516 คน คิดเป?นรอยละ 0.23 และนับถือศาสนาอิสลาม จํานวน 781 คน คิดเป?นรอยละ 0.04 ตามลําดับ 2. คุณภาพชีวิตของคนจังหวัดนครราชสีมา 2.1 คุณภาพชีวิตของคนจังหวัดนครราชสีมา จําแนกตามหมวดและตัวชี้วัด (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี 7 ตัวชี้วัดหมวดที่ 1 สุขภาพดี ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ>เรียงลําดับจากมากไปหาน$อย ได$แก4 1) เด็กแรกเกิดไดกินนมแม4อย4างเดียวอย4างนอย 6 เดือนแรกติดต4อกัน รอยละ 5.13 2) คนอายุ 35 ปขึ้นไป ไดรับการตรวจสุขภาพประจําปเพื่อคัดกรองความเสี่ยงต4อ โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง รอยละ 2.02 3) คนในครัวเรือนมีการใชยาเพื่อบําบัด บรรเทาอาการเจ็บปLวยเบื้องตน รอยละ 0.72 2
  • 8. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 4) ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และไดมาตรฐาน รอยละ 0.71 5) เด็กแรกเกิดมีน้ําหนักไม4นอยกว4า 2,500 กรัม รอยละ 0.68 6) คนอายุ 35 ปขึ้นไป ออกกําลังกายอย4างนอยสัปดาหKละ 3 วันๆ ละ 30 นาที รอยละ 0.21 7) เด็กแรกเกิดถึง 12 ป ไดรับการฉีดวัคซีนปNองกันโรคครบตามตารางเสริมสรางภูมิคุมกันโรค รอยละ 0.05 ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม4ผ4านเกณฑKเหล4านี้ เป?นหนาที่ของประชาชนและทุกภาคส4วนตองช4วยกันแกไขปPญหา โดยฉพาะเจาภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงการท4องเที่ยวและกีฬา รวมทั้ง องคKกรปกครองส4วนทองถิ่น ซึ่งเป?นหน4วยงานที่มีความสําคัญอย4างมากต4อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชน (คนไทยมีบานอาศัยและสภาพแวดลอมเหมาะสม) มี 8 ตัวชี้วัดหมวดที่ 2 มีบ$านอาศัย ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ>เรียงลําดับจากมากไปหาน$อย ได$แก4 1) ครัวเรือนไม4ถูกรบกวนจากมลพิษ รอยละ 0.63 2) ครัวเรือนมีการจัดบานเรือนเป?นระเบียบเรียบรอย สะอาด ถูกสุขลักษณะ รอยละ 0.37 3) ครัวเรือนมีการปNองกันอุบัติภัยอย4างถูกวิธี รอยละ 0.26 4) ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู4อาศัย และบานมีสภาพคงทนถาวร รอยละ 0.19 5) ครอบครัวมีความอบอุ4น รอยละ 0.18 6) ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยKสิน รอยละ 0.17 7) ครัวเรือนมีน้ําสะอาดสําหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดป รอยละ 0.15 8) ครัวเรือนมีน้ําใชเพียงพอตลอดป รอยละ 0.14 ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม4ผ4านเกณฑKเหล4านี้ เป?นหนาที่ของประชาชนและทุกภาคส4วนตองช4วยกันแกไขปPญหา โดยเฉพาะเจาภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยK กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม สํานักนายกรัฐมนตรี และสํานักงานตํารวจแห4งชาติ รวมทั้งองคKกรปกครองส4วนทองถิ่น ซึ่งเป?นหน4วยงานที่มีความสําคัญอย4างมากต4อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (คนไทยมีการศึกษาที่เหมาะสม) มี 5 ตัวชี้วัดหมวดที่ 3 ฝAกใฝBการศึกษา ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ>เรียงลําดับจากมากไปหาน$อย ได$แก4 1) เด็กจบการศึกษาบังคับ 9 ป ที่ไม4ไดเรียนต4อและยังไม4มีงานทํา ไดรับการฝSกอบรมดานอาชีพ รอยละ 16.13 2) เด็กจบชั้น ม.3 ไดเรียนต4อชั้น ม.4 หรือเทียบเท4า รอยละ 2.45 3) เด็กอายุ 3-5 ปเต็ม ไดรับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพรอมก4อนวัยเรียน รอยละ 0.22 3
  • 9. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 4) คนอายุ 15 – 60 ปเต็ม อ4าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย4างง4ายได รอยละ 0.12 5) เด็กอายุ 6 – 14 ป ไดรับการศึกษาภาคบังคับ 9 ป รอยละ 0.10 ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม4ผ4านเกณฑKเหล4านี้ เป?นหนาที่ของประชาชนและทุกภาคส4วนตองช4วยกันแกไขปPญหา โดยเฉพาะเจาภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงมหาดไทย รวมทั้งองคKกรปกครอง ส4วนทองถิ่น ซึ่งเป?นหน4วยงานที่มีความสําคัญอย4างมากต4อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (คนไทยมีงานทําและมีรายได) มี 4 ตัวชี้วัดหมวดที่ 4 รายได$ก$าวหน$า ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ>เรียงลําดับจากมากไปหาน$อย ได$แก4 1) คนอายุมากกว4า 60 ปเต็มขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได รอยละ 5.17 2) คนอายุ 15 – 60 ปเต็ม มีอาชีพและมีรายได รอยละ 1.88 3) ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน รอยละ 1.65 4) คนในครัวเรือนมีรายไดเฉลี่ยไม4นอยกว4าคนละ 30,000 บาทต4อป รอยละ 0.27 ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม4ผ4านเกณฑKเหล4านี้ เป?นหนาที่ของประชาชนและทุกภาคส4วนตองช4วยกันแกไขปPญหา โดยเฉพาะเจาภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงแรงงาน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษยK กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพาณิชยK กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและ สหกรณK รวมทั้งองคKกรปกครองส4วนทองถิ่น ซึ่งเป?นหน4วยงานที่มีความสําคัญอย4างมากต4อการพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชน (คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) มี 6 ตัวชี้วัดหมวดที่ 5 ปลูกฝAงค4านิยมไทย ตัวชี้วัดที่คนในจังหวัดนครราชสีมาตกเกณฑ>เรียงลําดับจากมากไปหาน$อย ได$แก4 1) คนในครัวเรือนไม4สูบบุหรี่ รอยละ 6.78 2) คนในครัวเรือนไม4ดื่มสุรา (ยกเวนการดื่มเป?นครั้งคราวฯ) รอยละ 5.46 3) คนในครัวเรือนมีส4วนร4วมทํากิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชนKของชุมชน รอยละ 1.04 4) คนอายุ 6 ปขึ้นไป ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย4างนอยสัปดาหKละ 1 ครั้ง รอยละ 0.52 5) คนพิการ ไดรับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู4บาน/ชุมชน หรือภาครัฐ รอยละ 0.30 6) คนสูงอายุ ไดรับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู4บาน/ชุมชน หรือภาครัฐ รอยละ 0.04 ซึ่งตัวชี้วัดที่ไม4ผ4านเกณฑKเหล4านี้ เป?นหนาที่ของประชาชนและทุกภาคส4วนตองช4วยกันแกไขปPญหา โดยเฉพาะเจาภาพตัวชี้วัดหลัก คือ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงวัฒนธรรม สํานักงาน พระพุทธศาสนาแห4งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยK กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งองคKกรปกครองส4วนทองถิ่น ซึ่งเป?น หน4วยงานที่มีความสําคัญอย4างมากต4อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน 4
  • 10. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 2.2 รายได$เฉลี่ยต4อคนต4อป (ย$อนหลัง 4 ป) ป จํานวน จํานวนคน รายได$เฉลี่ยครัวเรือน รายได$เฉลี่ยบุคคล ครัวเรือน (บาท/ป) (บาท/ป) 2555 393,605 1,438,641 224,064 61,303 2556 398,635 1,441,004 235,330 65,101 2557 666,055 1,976,847 231,663 78,054 2558 669,011 1,958,001 237,660 81,204 รวม 2,127,306 6,814,493 928,717 285,662 จากการสํารวจขอมูลดานรายไดของประชาชน ปรากฏว4ามีแนวโนมที่สูงขึ้นอย4างต4อเนื่อง โดย ในป 2558 พบว4า มีแหล4งที่มาของรายไดเฉลี่ยครัวเรือนจากการประกอบอาชีพหลัก จํานวน 175,513 บาทต4อป อาชีพรอง จํานวน 30,276 บาทต4อป รายไดอื่น จํานวน 17,880 บาทต4อป และรายไดครัวเรือน เฉลี่ยครัวเรือนจากการปลูก เลี้ยง หาเอง จํานวน 13,992 บาทต4อป 2.3 รายจ4ายเฉลี่ยต4อคนต4อป (ย$อนหลัง 4 ป) ป จํานวน จํานวนคน รายจ4ายเฉลี่ยครัวเรือน รายจ4ายเฉลี่ยบุคคล ครัวเรือน (บาท/ป) (บาท/ป) 2555 393,605 1,438,641 134,789 36,878 2556 398,635 1,441,004 142,366 39,384 2557 666,055 1,976,847 142,141 47,891 2558 669,011 1,958,001 144,457 49,358 รวม 2,127,306 6,814,493 563,753 173,511 จากการสํารวจขอมูลดานรายจ4ายของประชาชน ปรากฏว4ามีแนวโนมที่สูงขึ้นอย4างต4อเนื่อง โดย ในป 2558 พบว4า มีแหล4งที่มาของรายจ4ายเฉลี่ยครัวเรือนจากภาระตนทุนการผลิต จํานวน 32,321 บาทต4อป อุปโภคบริโภคที่จําเป?น จํานวน 70,352 บาทต4อป อุปโภคบริโภคที่ไม4จําเป?น จํานวน 20,836 บาทต4อป และรายจ4ายเฉลี่ยครัวเรือนในการชําระหนี้สิน จํานวน 20,949 บาทต4อป 5
  • 11. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 2.4 ระดับความสุขเฉลี่ย (ย$อนหลัง 4 ป) ป ระดับความสุขของคนในครัวเรือนและหมู4บ$าน/ชุมชน 2555 7.82 2556 7.90 2557 8.02 2558 8.13 ความสุข หมายถึง การรูสึกดี มีความสุขกับชีวิต และอยากใหความรูสึกนั้นคงอยู4ไม4หายไป ซึ่งพิจารณาไดจากสิ่งที่ครัวเรือน และชุมชน มีอยู4 เป?นอยู4 และแทนค4าระดับความสุขดวยตัวเลข ระหว4าง 0 – 10 พบว4า ระดับความสุขของประชาชนในจังหวัดนครราชสีมามีแนวโนมสูงขึ้น 2.5 อําเภอที่มีรายได$เฉลี่ยต4อคนต4อป สูงสุด 10 ลําดับแรก ที่ อําเภอ จํานวน จํานวนคน รายได$เฉลี่ย ครัวเรือน (บาท/คน/ป) 1 เมืองนครราชสีมา 108,422 280,093 114,979 2 ปากช4อง 49,105 136,776 92,137 3 ปPกธงชัย 38,045 104,942 86,019 4 เทพารักษK 5,902 16,773 86,017 5 สีคิ้ว 30,515 95,065 85,484 6 บัวใหญ4 23,715 57,126 83,529 7 โชคชัย 23,689 66,018 81,077 8 สูงเนิน 23,856 84,240 78,800 9 จักราช 18,549 58,820 77,403 10 วังน้ําเขียว 10,315 32,255 77,082 6
  • 12. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 2.6 อําเภอที่มีรายได$เฉลี่ยต4อคนต4อป ต่ําสุด 10 ลําดับแรก ที่ อําเภอ จํานวน จํานวนคน รายได$เฉลี่ย ครัวเรือน (บาท/คน/ป) 1 ขามสะแกแสง 12,242 32,830 62,637 2 พระทองคํา 10,672 30,346 63,312 3 เมืองยาง 7,259 20,921 63,749 4 บานเหลื่อม 5,348 16,218 64,221 5 โนนสูง 32,831 103,699 64,483 6 โนนไทย 17,327 55,472 64,859 7 คง 18,842 54,159 66,502 8 หวยแถลง 18,380 54,172 66,609 9 เฉลิมพระเกียรติ 8,116 28,734 66,777 10 ลําทะเมนชัย 8,055 23,830 68,212 2.7 อําเภอที่มีรายจ4ายเฉลี่ยต4อคนต4อป สูงสุด 10 ลําดับแรก ที่ อําเภอ จํานวน จํานวนคน รายจ4ายเฉลี่ย ครัวเรือน (บาท/คน/ป) 1 เมืองนครราชสีมา 108,422 280,093 73,561 2 ปากช4อง 49,105 136,776 54,558 3 เทพารักษK 5,902 16,773 53,386 4 พิมาย 33,708 98,834 51,482 5 วังน้ําเขียว 10,315 32,255 51,217 6 ปPกธงชัย 38,045 104,942 50,149 7 ขามทะเลสอ 7,347 24,081 49,687 8 สีคิ้ว 30,515 95,065 49,081 9 โชคชัย 23,689 66,018 48,852 10 บัวใหญ4 23,715 57,126 47,380 7
  • 13. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 2.8 อําเภอที่มีรายจ4ายเฉลี่ยต4อคนต4อป ต่ําสุด 10 ลําดับแรก ที่ อําเภอ จํานวน จํานวนคน รายจ4ายเฉลี่ย ครัวเรือน (บาท/คน/ป) 1 ขามสะแกแสง 12,242 32,830 32,685 2 เมืองยาง 7,259 20,921 36,313 3 เฉลิมพระเกียรติ 8,116 28,734 36,841 4 หวยแถลง 18,380 54,172 37,164 5 ชุมพวง 21,771 67,687 38,085 6 โนนไทย 17,327 55,472 39,116 7 พระทองคํา 10,672 30,346 39,842 8 ประทาย 18,337 53,725 40,447 9 โนนสูง 32,831 103,699 40,973 10 คง 18,842 54,159 41,125 2.9 จํานวนครัวเรือนตกเกณฑ>รายได$เฉลี่ยคนละ 30,000 บาท (ย$อนหลัง 4 ป) ป ครัวเรือนทั้งหมด ไม4ผ4านเกณฑ> ครัวเรือน ร$อยละ 2555 393,605 5,129 1.30 2556 398,635 2,135 0.54 2557 666,055 2,092 0.31 2558 669,011 1,808 0.27 รวม 2,127,306 11,164 0.52 จากผลการสํารวจขอมูล พบว4า ในป 2558 จังหวัดนครราชสีมามีครัวเรือนที่ตกเกณฑKรายได เฉลี่ยนอยกว4าคนละ 30,000 บาทต4อป จํานวน 29 อําเภอ 1,808 ครัวเรือน และไม4มีครัวเรือนตกเกณฑK รายไดจํานวน 3 อําเภอ ไดแก4 อําเภอครบุรี อําเภอจักราช และอําเภอโนนแดง 8
  • 14. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 2.10 จํานวนครัวเรือนตกเกณฑ>รายได$เฉลี่ยคนละ 30,000 บาท สูงสุด 10 ลําดับแรก ที่ อําเภอ ครัวเรือนทั้งหมด ไม4ผ4านเกณฑ> ครัวเรือน ร$อยละ 1 เมืองนครราชสีมา 108,422 456 0.42 2 โนนไทย 17,327 150 0.87 3 โนนสูง 32,831 126 0.38 4 ปPกธงชัย 38,045 119 0.31 5 ด4านขุนทด 31,680 112 0.35 6 หวยแถลง 18,380 110 0.60 7 ประทาย 18,337 108 0.59 8 สูงเนิน 23,856 73 0.31 9 ชุมพวง 21,771 63 0.29 10 ปากช4อง 49,105 58 0.12 รวม 359,754 1,375 0.38 2.11 จํานวนครัวเรือนตกเกณฑ>รายได$เฉลี่ยคนละ 30,000 บาท ต่ําสุด 10 ลําดับแรก ที่ อําเภอ ครัวเรือนทั้งหมด ไม4ผ4านเกณฑ> ครัวเรือน ร$อยละ 1 แกงสนามนาง 8,542 4 0.05 2 วังน้ําเขียว 10,315 7 0.07 3 บัวลาย 6,094 9 0.15 4 เทพารักษK 5,902 11 0.19 5 พิมาย 33,708 13 0.04 6 เฉลิมพระเกียรติ 8,116 14 0.17 7 พระทองคํา 10,672 16 0.15 8 คง 18,842 19 0.10 9 โชคชัย 23,689 20 0.08 10 สีคิ้ว 30,515 21 0.07 รวม 156,395 134 0.09 9
  • 15. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 2.12 ปAญหาที่ควรได$รับการแก$ไขของคนไทยในชนบท 10 ลําดับแรก 1. เด็กที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ป ที่ไมไดเรียนตอและยังไมมีงานทําไดรับการฝ&กอบรม ดานอาชีพ จํานวน 101 คน คิดเป,นรอยละ 16.13 จากทั้งหมด 626 คน 2. คนในครัวเรือนไมสูบบุหรี่ จํานวน 132,669 คน คิดเป,นรอยละ 6.78 จากทั้งหมด 1,958,001 คน 3. คนในครัวเรือนไมดื่มสุรา (ยกเวนการดื่มเป,นครั้งคราวฯ) จํานวน 106,935 คน คิดเป,น รอยละ 5.46 จากทั้งหมด 1,958,001 คน 4. คนอายุมากกวา 60 ปเต็มขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได จํานวน 14,285 คน คิดเป,นรอยละ 5.17 จากทั้งหมด 276,410 คน 5. เด็กแรกเกิดไดกินนมแมอยางเดียวอยางนอย 6 เดือนแรกติดตอกัน จํานวน 505 คน คิดเป,น รอยละ 5.13 จากทั้งหมด 9,836 คน 6. เด็กที่จบชั้น ม.3 ไดเรียนตอชั้น ม.4 หรือเทียบเทา จํานวน 626 คน คิดเป,นรอยละ 2.45 จากทั้งหมด 25,597 คน 7. คนอายุ 35 ปขึ้นไป ไดรับการตรวจสุขภาพประจําป เพื่อคัดกรองความเสี่ยงตอ โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จํานวน 23,034 คน คิดเป,นรอยละ 2.02 จากทั้งหมด 1,139,940 คน 8. คนอายุ 15 – 60 ปเต็ม มีอาชีพและมีรายได จํานวน 22,251 คน คิดเป,นรอยละ 1.88 จากทั้งหมด 1,181,103 คน 9. ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน จํานวน 11,013 ครัวเรือน คิดเป,นรอยละ 1.65 จากทั้งหมด 669,011 ครัวเรือน 10. คนในครัวเรือนมีสวนรวมทํากิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชนDของหมูบาน/ชุมชน หรือ ทองถิ่น จํานวน 6,965 ครัวเรือน คิดเป,นรอยละ 1.04 จากทั้งหมด 669,011 ครัวเรือน 10
  • 16. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 แนวคิดเรื่อง จปฐ. เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หลักการและแนวคิดเรื่อง จปฐ. นี้ ในเบื้องตน คือ การวาดภาพสังคมที่พึงประสงคKของคนไทย โดยคิดว4าในฐานะที่ประชาชนทุกคนที่เกิดเป?นคนไทยนั้น ขั้นต่ําของชีวิตเขาน4าจะมีอะไรบาง? นั่นคือ การที่จะทําใหคนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขั้นต่ําเขาควรจะมีอะไรบาง จึงไดขอสรุปว4า การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทย จะตองผ4านเกณฑKความจําเป?นพื้นฐาน (จปฐ.) ทุกตัวชี้วัด ความหมายของคุณภาพชีวิต และ จปฐ. ความหมายของคําว4า “คุณภาพชีวิต” คือ 1. คุณภาพชีวิต หมายถึง การดํารงชีวิตของมนุษยKในระดับที่เหมาะสมตามความจําเป?น พื้นฐานในสังคมหนึ่ง ๆ ในช4วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ 2. คุณภาพชีวิตของประชาชนจะดี หมายถึง ครอบครัวนั้น ๆ หรือชุมชนนั้น ๆ ไดบรรลุ เกณฑKความจําเป?นพื้นฐาน (จปฐ.) ครบถวนทุกประการ ความหมายของคําว4า “ความจําเปHนพื้นฐาน”(จปฐ.) คือ 1. ความตองการพื้นฐานสําหรับประชาชนดํารงชีวิต 2. สิ่งจําเป?นต4อการครองชีพพื้นฐาน 3. ความตองการขั้นต่ําที่ชาวบานควรมี 4. ความตองการต่ําที่สุดที่สามารถดํารงชีวิตอยู4ไดอย4างปกติสุขพอสมควร ข$อมูลความจําเปHนพื้นฐาน (จปฐ.) จปฐ. เป?นขอมูลที่แสดงถึงลักษณะของสังคมไทยที่พึงประสงคKตามเกณฑKมาตรฐานขั้นต่ําของเครื่องชี้ วัดว4า อย4างนอยคนไทยควรจะมีระดับความเป?นอยู4ไม4ต่ํากว4าเกณฑKระดับไหนในช4วงระยะเวลาหนึ่ง และทําใหประชาชนสามารถทราบดวยตนเองว4า ในขณะนี้คุณภาพชีวิตของตนเอง และครอบครัวรวม ไปถึงหมู4บานหมู4บานอยู4ในระดับใด มีปPญหาที่จะตองแกไขในเรื่องใดบางเป?นการส4งเสริมใหประชาชน เขามามีส4วนร4วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม อันเป?นนโยบายสําคัญในการพัฒนาชนบท ของประเทศ แนวความคิดเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส4วนที่ 1 11
  • 17. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 หลักการของข$อมูลความจําเปHนพื้นฐาน (จปฐ.) แนวคิดและความเปHนมาของข$อมูลความจําเปHนพื้นฐาน (จปฐ.) ขอมูล จปฐ. ที่มีการจัดเก็บโดยประชาชนดวยความสนับสนุนของคณะทํางาน สนับสนุนการปฏิบัติการพัฒนาชนบทระดับตําบล (คปต.) และผูแทนขององคKการบริหารส4วนตําบล (อบต.) หรือเทศบาลนั้น จะทําใหทราบว4าแต4ละครัวเรือนมีปPญหาอะไร หมู4บานมีปPญหาอะไร และเมื่อ ทราบแลว ส4วนใดที่ไม4สามารถดําเนินการเองไดก็ใหขอรับการสนับสนุนบางส4วน หรือทั้งหมด จาก โครงการขององคKกรปกครองส4วนทองถิ่น (อปท.) เช4น องคKการบริหารส4วนตําบล เทศบาล หรือ องคKการบริหารส4วนจังหวัด (อบจ.) ส4วนราชการในภูมิภาค (อําเภอ,จังหวัด) ส4วนราชการส4วนกลาง (กรม,กระทรวง) หรือในระดับรัฐบาล ต4อไป ป พ.ศ.2525 แนวความคิดเรื่อง จปฐ. เกิดขึ้นครั้งแรกโดยสํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติ ไดกําหนดรูปแบบลักษณะของสังคมไทยและคนไทยที่พึง ประสงคKในอนาคต โดยกําหนดเป?นเครื่องชี้วัดความจําเป?นพื้นฐาน (จปฐ.) ของคนไทยซึ่งไดขอสรุปว4า “การ มีคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทยจะตองผ4านเกณฑKความจําเป?นขั้นพื้นฐาน (จปฐ) ทุกตัวชี้วัด” ป พ.ศ.2528 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบอนุมัติเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2528 ใหมีการ ดําเนินการโครงการปรณรงคKคุณภาพชีวิตและประกาศใชเป?น “ปรณรงคKคุณภาพชีวิตของประชาชน ในชาติ (ปรช.)” (20 สิงหาคม 2528 - 31 ธันวาคม 2530) โดยใชเครื่องชี้วัดความจําเป?นพื้นฐาน 8 หมวด 32 ตัวชี้วัด เป?นเครื่องมือที่ใชวัดคุณภาพชีวิตของคนไทยว4าอย4างนอยคนไทยควรมีคุณภาพ ชีวิตในเรื่องอะไรบาง และควรมีระดับไหนในช4วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ ป พ.ศ.2531 คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห4งชาติ (กชช.) มีมติใหสํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติ มอบโครงการปรณรงคKใหกระทรวงมหาดไทยโดย กรมการพัฒนาชุมชน เป?นหน4วยงานรับผิดชอบดําเนินงานต4อภายใตชื่องานว4า “งานพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชนในชนบท (พชช.)” ป พ.ศ.2532 คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห4งชาติ (กชช.) มีมติเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2532 ใหกรมการพัฒนาชุมชน จัดเก็บขอมูล จปฐ. เป?นประจําทุกป ตั้งแต4ป 2533 จนถึง 12 เปนเครื่องมือกระบวนการเรียนรูของประชาชนเพื่อทราบสภาพความเปนอยูของตนเอง และชุมชน สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการพัฒนา ใชขอมูล จปฐ.เปนแนวทางในการคัดเลือกโครงการสอดคลองกับสภาพป+ญหาของชุมชน
  • 18. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 ปPจจุบันโดยมีการปรับปรุงเครื่องชี้วัดขอมูล จปฐ. ทุก 5 ป เพื่อใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห4งชาติ ป พ.ศ.2535 มีการปรับปรุงเครื่องชี้วัด จปฐ. เพื่อใชจัดเก็บขอมูลในช4วงแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-2539) เป?น 9 หมวด 37 ตัวชี้วัด ป พ.ศ.2540 มีการปรับปรุงเครื่องชี้วัดขอมูล จปฐ. เพื่อใชจัดเก็บขอมูลในช4วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) เป?น 8 หมวด 39 ตัวชี้วัด ป พ.ศ.2544 มีการปรับปรุงเครื่องชี้วัดขอมูล จปฐ. เพื่อใชจัดเก็บขอมูลในช4วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) เป?น 6 หมวด 37 ตัวชี้วัด ป พ.ศ.2544 คณะกรรมการอํานวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) มีมติเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธK 2544 ใหกรมการพัฒนาชุมชนรับผิดชอบประสานการจัดเก็บ ขอมูล จปฐ. ในเขตเมืองดวย โดยใหใชเครื่องชี้วัดเหมือนเขตชนบท (มติเมื่อ 31 พฤษภาคม 2545) ป พ.ศ.2549 ไดมีการศึกษาปรับปรุงเครื่องชี้วัดขอมูล จปฐ. เพื่อใชจัดเก็บขอมูล ในช4วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) โดยสรุปตัวชี้วัดตาม ความจําเป?นพื้นฐาน (จปฐ.) ที่จะนํามาใชในการจัดเก็บขอมูลช4วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห4งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) มีจํานวน 6 หมวด 42 ตัวชี้วัด ป พ.ศ.2555 กระทรวงมหาดไทยมอบหมายใหกรมการพัฒนาชุมชนในฐานะฝLาย เลขานุการของคณะอํานวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) เป?นหน4วยงานในการ บริหารการจัดเก็บขอมูล จปฐ. ใหมีการทบทวนและปรับปรุงเครื่องชี้วัด จปฐ. ขึ้นใหม4ทุก 5 ป เพื่อให สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) มีทั้งหมด 5 หมวด 30 ตัวชี้วัด จากผลการศึกษาในป พ.ศ. 2554 สามารถสรุปไดว4า “ตัวชี้วัดความจําเป?นพื้นฐาน จปฐ.” ที่จะนํามาใชในการจัดเก็บขอมูล จปฐ. ในช4วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) มีจํานวน 5 หมวด 30 ตัวชี้วัด หมวดที่ 1 สุขภาพดี มี 7 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 มีบานอาศัย มี 8 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 ฝPกใฝLการศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 รายไดกาวหนา มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 ปลูกฝPงค4านิยมไทย มี 6 ตัวชี้วัด ป พ.ศ.2557 กระทรวงมหาดไทยไดกําหนดเป?นนโยบายของกระทรวงมหาดไทย ในการส4งเสริมและใชประโยชนKจากขอมูล จปฐ. เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนอย4างจริงจัง โดยเฉพาะองคKกรปกครองส4วนทองถิ่น รวมถึงการจัดเก็บขอมูลสําหรับใชประเมินผลตัวชี้วัดของ 13
  • 19. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 กระทรวงมหาดไทย ตัวชี้วัดที่ 1.1.6 รายไดครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น ซึ่งไดมอบหมายให กรมการพัฒนาชุมชนรับผิดชอบดําเนินการจัดเก็บขอมูล จปฐ. ในเขตชนบท และกรมส4งเสริมการ- ปกครองทองถิ่นรับผิดชอบดําเนินการจัดเก็บขอมูลพื้นฐาน ในเขตเมือง ต4อเนื่องมาจนถึงปปPจจุบันโดยมี รายละเอียดของแต4ละตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 : สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี 7 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข$อมูลความจําเปHนพื้นฐาน (จปฐ.) ป 2555 - 2559 หน4วย 1 เด็กแรกเกิดมีน้ําหนักไม4นอยกว4า 2,500 กรัม คน 2 เด็กแรกเกิดถึง 12 ป ไดรับการฉีกวัคซีนปNองกันโรคครบตามตาราง เสริมสรางภูมิคุมกันโรค คน 3 เด็กแรกเกิดไดกินนมแม4อย4างเตียวอย4างนอย 6 เดือนแรกติดต4อกัน คน 4 ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัยและไดมาตรฐาน ครัวเรือน 5 คนในครัวเรือนมีการใชยาเพื่อบําบัด บรรเทาอาการเจ็บปLวยเบื้องตนอย4าง เหมาะสม คน 6 คนอายุ 35 ปขึ้นไป ไดรับการตรวจสุขภาพประจําปเพื่อคัดกรองความเสี่ยง ต4อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง คน 7 คนอายุ 6 ปขึ้นไป ออกกําลังกายอย4างนอยสัปดาหKละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที คน หมวดที่ 2 : มีบ$านอาศัย (คนไทยมีบ$านอาศัยและสภาพแวดล$อมเหมาะสม) มี 8 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข$อมูลความจําเปHนพื้นฐาน (จปฐ.) ป 2555 - 2559 หน4วย 8 ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู4อาศัย และบานมีสภาพคงทนถาวร ครัวเรือน 9 ครัวเรือนมีน้ําสะอาดสําหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดป ครัวเรือน 10 ครัวเรือนมีน้ําใชเพียงพอตลอดป ครัวเรือน 11 ครัวเรือนมีการจัดบานเรือนเป?นระเบียบเรียบรอย สะอาด และถูก สุขลักษณะ ครัวเรือน 12 ครัวเรือนไม4ถูกรบกวนจากมลพิษ ครัวเรือน 13 ครัวเรือนมีการปNองกันอุบัติภัยอย4างถูกวิธี ครัวเรือน 14 ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยKสิน ครัวเรือน 15 ครอบครัวมีความอบอุ4น ครัวเรือน 14
  • 20. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 หมวดที่ 3 : ฝAกใฝBการศึกษา (คนไทยมีการด$านการศึกษาที่เหมาะสม) มี 5 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข$อมูลความจําเปHนพื้นฐาน (จปฐ.) ป 2555 - 2559 หน4วย 16 เด็กอายุ 3-5 ปเต็ม ไดรับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพรอมก4อนวัยเรียน คน 17 เด็กอายุ 6-14 ป ไดรับการศึกษาภาคบังคับ 9 ป คน 18 เด็กจบชั้น ม.3 ไดเรียนต4อชั้น ม.4 หรือเทียบเท4า คน 19 เด็กที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ป ที่ไม4ไดเรียนต4อและยังไม4มีงานทําไดรับ การฝSกอบรมดานอาชีพ คน 20 คนอายุ 15-60 ปเต็ม อ4าน เขียน ภาษาไทยและคิดเลขอย4างง4ายได คน หมวดที่ 4 : รายได$ก$าวหน$า (คนไทยมีงานทําและมีรายได$)มี 4 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข$อมูลความจําเปHนพื้นฐาน (จปฐ.) ป 2555 - 2559 หน4วย 21 คนอายุ 15-60 ปเต็ม มีอาชีพและมีรายได คน 22 คนอายุมกกว4า 60 ปเต็มขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได คน 23 คนในครัวเรือนมีรายไดเฉลี่ยไม4นอยกว4าคนละ 30,000 บาทต4อป ครัวเรือน 24 ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน ครัวเรือน หมวดที่ 5 : ปลูกฝAงค4านิยมไทย (คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) มี 6 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดข$อมูลความจําเปHนพื้นฐาน (จปฐ.) ป 2555 - 2559 หน4วย 25 คนในครัวเรือนไม4ดื่มสุรา (ยกเวนการดื่มเป?นครั้งคราว เฉลี่ยไม4เกินเดือนละ 1 ครั้งฯ) คน 26 คนในครัวเรือนไม4สูบบุหรี่ คน 27 คนอายุ 6 ปขึ้นไป ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย4างนอยสัปดาหKละ 1 ครั้ง คน 28 คนสูงอายุไดรับการดูแลจากคนในครัวเรือนหมู4บานชุมชนหรือภาครัฐ คน 29 คนพิการไดรับการดูแลจากคนในครัวเรือนหมู4บานชุมชนหรือภาครัฐ คน 30 คนในครัวเรือนมีส4วนร4วมทํากิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชนKของหมู4บาน ชุมชนหรือทองถิ่น ครัวเรือน 15
  • 21. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 ขั้นตอนการนํา จปฐ. ไปใช$ในการพัฒนา 2. รูปGญหา 3. วิเคราะหDปGญหา (หาสาเหตุแนวทางแกไข) 4. จัดลําดับภูมิปGญญาและวางแผน 5. ดําเนินการตามแผน 7. สอนชุมชนอื่น ๆ 6. ประเมินผล สํารวจ จปฐ. ซ้ํา 1. สํารวจ ขอมูล 1. สํารวจขอมูล 2. รูปGญหา 3.วิเคราะหDปGญหา 4. จัดลําดับภูมปGญญาและวางแผน 5.ดําเนิน การตามแผน 6.ประเมินผล 7. สอนชุมชนอื่นๆ 16
  • 22. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 สรุปสถานการณ>การใช$ จปฐ. สรุปขั้นตอนทั้ง 7 ขั้นตอนของการนําขอมูล จปฐ. มาใชในกระบวนการพัฒนาชุมชนจะเห็น ไดว4าสถานะของการใช จปฐ. มีอยู4 4 สถานะดวยกัน ดังนี้ เงื่อนไขแห4งความสําเร็จของ จปฐ. การที่จะนํา จปฐ. มาใช เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนใหเป?นผลสําเร็จไดนั้น องคKกรปกครองส4วนทองถิ่น/เจาหนาที่/ขาราชการ/ประชาชนและองคKกรเอกชน จะตองมีบทบาท ดังต4อไปนี้ 1. บทบาทของเจาหนาที่ของรัฐ การที่จะใหเกิดการใช จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยดังที่กล4าวมาแลวนั้น บทบาทหนาที่ของขาราชการทุกระดับจะตองมีบทบาทดังนี้ คือ 1) มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการใช จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเป?นอย4างดี 2) สามารถเชื่อมแนวความคิด จปฐ. เขากับการพัฒนาชุมชนที่มีอยู4เดิมอย4างดี 3) จะตองมีความเขาใจว4า จปฐ. นี้ไม4ใช4ของขาราชการกระทรวงใดกระทรวงหนึ่งแต4เป?น ของประชาชน แต4เป?นภาพรวมที่ตองการใหชาวบานบรรลุเปNาหมายตามเกณฑK จปฐ. นี้ทุกขอ ดังนั้นจึง มีความจําเป?นที่จะตองร4วมกันพัฒนาสนับสนุนชาวบานทุกเรื่องตาม จปฐ. 4) ขาราชการที่มีความรู และสามารถถ4ายทอดความรูนี้ไปใหวิทยากรระดับล4างไดและ ระดับล4างสุดจะตองถ4ายทอดความรูเรื่อง จปฐ. ใหแก4ชาวบานไดจนกระทั่งชาวบานสามารถปฏิบัติได ตามแนวคิด จปฐ. 17 Goal สภาพปัจจุบัน บรรลุ จปฐ. ปี 2558 MBO 1. เปนเปาหมาย 2. เปนตัวชี้วัด 3. เปนขอมูล สามารถใช้ประกอบการวางแผน 4. เปนกระบวนการ การเก็บข้อมูล/วิเคราะห์/หาแนวทางแก้ไข/วางแผน/ เป็นเป้ าหมายที/สามารถวัดได้ชัดเจน
  • 23. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 5) เมื่อชาวบานทําแผนระดับชุมชนแลว เป?นหนาที่ของขาราชการทุกกระทรวงที่จะตอง ใหการสนับสนุน กระตุนอย4างต4อเนื่อง เพื่อใหชาวบานเกิดการปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแผน ที่วางไว 6) ขาราชการควรจะตองมีการออกนิเทศงาน ติดตาม ช4วยแกไขปPญหาอุปสรรคใหกับ ชาวบานอย4างต4อเนื่องสม่ําเสมอ 7) ขาราชการควรมีการประชุมร4วมกันทุกกระทรวงเป?นประจํา และมีการฟ]นฟูความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการนํา จปฐ. ไปใชพัฒนาคุณภาพชีวิต 2. บทบาทขององคกรประชาชน องคKกรประชาชนในระดับหมู4บานซึ่งอาจจะเป?นกรรมการชุมชน กลุ4มสตรี กลุ4มเยาวชน อสม. ฯลฯ ซึ่งจะมีบทบาทในการนํา จปฐ. ไปใชเป?นเครื่องชี้วัดการพัฒนานั้นจะตองมีบทบาทโดย ละเอียด ดังนี้ 1) มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการใช จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสามารถ นําไปปฎิบัติในหมู4บานตนเองได 2) จะตองถ4ายทอดความรู ความเขาใจนี้ไปยังชาวบานอื่น ๆ หรือชุมชนใกลเคียงได 3) นําผลสํารวจ จปฐ. มาวางแผนพัฒนาชุมชนแลวปฏิบัติตามแผนที่วางไวไดอย4างจริงจัง 4) มีการระดมทรัพยากรในทองถิ่นตนเองมาใช ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งเรื่อง กําลังคน เงิน วัสดุอุปกรณKต4าง ๆ 5) มีการติดตามนิเทศ ช4วยเหลือกันเองเพื่อแกไขปPญหาอุปสรรคต4าง ๆ ภายในชุมชน หรือชุมชนใกลเคียง ถาเกินกําลังที่จะแกไขกันไดเอง ใหติดต4อประสานงานกับองคKกรปกครองส4วน ทองถิ่น หรือส4วนราชการอื่น ๆ 6) มีการฟ]นฟูความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการใช จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเป?น ประจํา 7) ประเมินผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตในชุมชนโดยการสํารวจ จปฐ. ซ้ําทุกป เพื่อทําให ทราบว4าระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตดีขึ้นหรือไม4อย4างไร 3. บทบาทองคกรเอกชน (NGO) การพัฒนาคุณภาพชีวิต นอกจากในส4วนของขาราชการและประชาชน จะประสาน ช4วยเหลือกันแลว ยังมีองคKกรเอกชน (NGO) อีกจํานวนมาก ที่จะเขามามีบทบาทช4วยเหลือการพัฒนา คุณภาพชีวิตได ดังนี้ 1) ช4วยเรื่องเงินทุน เมื่อชาวบานขาดเงินทุนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต องคKกรเอกชน อาจจะช4วยหาเงินช4วยเหลือจากแหล4งต4าง ๆ ได 2) ช4วยเรื่องกําลังคน มีองคKกรเอกชนจํานวนมากที่ไดส4งนักพัฒนา หรืออาสาสมัคร เขาไป ช4วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ทําใหชาวบานมีกําลังคนเพิ่มขึ้น เพื่อช4วยคิด ช4วยทําการ พัฒนาคุณภาพชีวิต 18
  • 24. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 3) ช4วยเรื่องความรูวิชาการต4าง ๆ มีองคKกรเอกชนจํานวนมากที่มีบทบาทเกี่ยวกับ การให ความรูความเขาใจประชาชน องคKกรเอกชนเหล4านี้จึงสามารถช4วยไดอย4างมาก 4) การประชาสัมพันธK แนวความคิดเรื่อง จปฐ. จําเป?นตองมีการสื่อความหมายถ4ายทอด แนวความคิดเป?นเอกภาพและความมีพลังในการทํางานพัฒนาคุณภาพชีวิต องคKกรเอกชนทั้งหลายที่มี บทบาทดานการสื่อสารประชาสัมพันธK จึงจําเป?นตองช4วยในเรื่องเหล4านี้อย4างมาก ทั้งวิทยุ โทรทัศนK หนังสือพิมพK วารสาร เอกสาร ฯลฯ กระบวนการจัดเก็บข$อมูล ป 2558 จังหวัดนครราชสีมา กําหนดสัปดาหKการจัดเก็บขอมูล จปฐ. และขอมูลพื้นฐาน ระหว4างวันที่ 8 - 17 ธันวาคม 2557 เพื่อเป?นการกระตุนใหประชาชน และหน4วยงานต4างๆ ไดเห็น ความสําคัญของการจัดเก็บ และใชประโยชนKจากขอมูล และประชาสัมพันธKผ4านช4องทางต4างๆ เช4น สถานีวิทยุ, จอ LED, เว็บไซตK, หอกระจายข4าว และช4องทางอื่นๆ สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา ร4วมกับองคKกรปกครองส4วนทองถิ่น (อปท.) ดําเนินการจัดเก็บขอมูล จปฐ. และขอมูลพื้นฐาน ระหว4างเดือนธันวาคม – กุมภาพันธK 2558 โดย กรมการพัฒนาชุมชนจัดประชุมชี้แจงผูรับผิดชอบระดับจังหวัดเมื่อวันที่ 8-12 พฤศจิกายน 2557 หลังจากรับนโยบายมาแลวสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมาไดประสานการดําเนินงานกับ ทุกอําเภอ โดยมีกระบวนการดังนี้ สัปดาหKที่ 1 เตรียมความพรอมในการจัดเก็บขอมูล สัปดาหKที่ 2 ประชาสัมพันธKการจัดเก็บขอมูล จปฐ./พื้นฐาน สัปดาหKที่ 3 ดําเนินการจัดเก็บขอมูล จปฐ./พื้นฐาน สัปดาหKที่ 4 - 5 ตรวจสอบความถูกตอง และดําเนินการบันทึกขอมูล สัปดาหKที่ 6 ประมวลผล และตรวจสอบความถูกตองระดับตําบล สัปดาหKที่ 7 ประมวลผล และตรวจสอบความถูกตองระดับอําเภอ สัปดาหKที่ 8 ประมวลผล และตรวจสอบความถูกตองระดับจังหวัด สัปดาหKที่ 9 การนําขอมูลไปใชประโยชนK ผูใหขอมูล ไดแก4 หัวหนาครัวเรือน ผูอยู4อาศัยในหมู4บาน/ชุมชน เป?นระยะเวลา ไม4นอยกว4า 6 เดือนในรอบป ผูจัดเก็บขอมูล ไดแก4 อาสาสมัครที่เขารับการอบรมการสํารวจขอมูล พื้นที่จัดเก็บขอมูล จัดเก็บขอมูลในพื้นที่เขตชนบท และเขตเมือง 19
  • 25. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 เนื้อหาในส4วนนี้ คือ ผลการจัดเก็บขอมูลพื้นฐานการพัฒนาชนบท ป 2558 ของจังหวัด นครราชสีมา ซึ่งเป?นปที่สองของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห4งชาติฉบับที่ 11 ที่กระทรวงมหาดไทย ไดกําหนดใหมีการสํารวจและจัดเก็บขอมูล จปฐ. จากทุกครัวเรือนในเขตชนบท (เขต อบต. และเทศบาล ตําบลที่ยกฐานะจาก อบต.) และจัดเก็บขอมูลพื้นฐานในเขตเมือง (เมืองพัทยา เทศบาลนคร เทศบาล เมือง และเทศบาลตําบลที่ยกฐานะจากสุขาภิบาล) จากผูที่อาศัยอยู4จริงไม4นอยกว4า 180 วัน (ทั้งที่มี เลขที่บาน และไม4มีเลขที่บาน) ณ วันที่ทําการสํารวจขอมูลระหว4างเดือนธันวาคม – กุมภาพันธK นับ ยอนหลังไป 12 เดือน จํานวนทั้งสิ้น 669,011 ครัวเรือน จาก 4,238 หมู4บาน 333 ตําบล 32 อําเภอ เพื่อนําไปประมวลผลขอมูลเป?นภาพรวมในระดับจังหวัด และระดับประเทศต4อไป 1. จํานวนครัวเรือน มีจํานวน 669,011 ครัวเรือน ป ครัวเรือน จํานวน ร$อยละ 2555 393,605 18.50 2556 398,635 18.74 2557 666,055 31.31 2558 669,011 31.45 รวม 2,127,306 100 ป 2558 มีครัวเรือนที่ไดทําการสํารวจขอมูลมากที่สุด จํานวน 669,011 ครัวเรือน คิดเป?น รอยละ 31.45 รองลงมาคือ ป 2557 จํานวน 666,055 ครัวเรือน คิดเป?นรอยละ 31.31 และป 2556 จํานวน 398,635 ครัวเรือน คิดเป?นรอยละ 18.74 18.50 18.74 31.31 31.45 - 5.00 10.00 15.00 20.00 25.00 30.00 35.00 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ร้อยละ แผนภูมิเปรียบเทียบร้อยละของจํานวนครัวเรือนรายปี 20 ข$อมูลทั่วไปของประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ส4วนที่ 2
  • 26. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 2. จํานวนประชากร มีจํานวน 1,958,001 คน ป ชาย หญิง รวม คน ร$อยละ คน ร$อยละ คน ร$อยละ 2555 703,865 48.93 734,776 51.07 1,438,641 21.11 2556 703,223 48.80 737,781 51.20 1,441,004 21.15 2557 961,943 48.66 1,014,904 51.34 1,976,847 29.01 2558 955,148 48.78 1,002,853 51.22 1,958,001 28.73 รวม 3,324,179 48.78 3,490,314 51.22 6,814,493 100 จังหวัดนครราชสีมามีจํานวนประชากรรวมยอนหลัง 4 ป เป?นเพศหญิงรอยละ 51.22 และ เพศชาย รอยละ 48.78 จากผลการวิเคราะหKขอมูลประชากรในจังหวัดรวมยอนหลัง 4 ป พบว4า จํานวนประชากรเพศหญิงมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น มากกว4าเพศชาย อําเภอที่มีประชากรมากที่สุด 3 ลําดับแรก ได$แก4 1. อําเภอเมืองนครราชสีมา จํานวนประชากร 280,093 คน จํานวน 108,422 ครัวเรือน 2. อําเภอปากช4อง จํานวนประชากร 136,776 คน จํานวน 49,105 ครัวเรือน 3. อําเภอปPกธงชัย จํานวนประชากร 104,942 คน จํานวน 38,045 ครัวเรือน อําเภอที่มีประชากรน$อยที่สุด 3 ลําดับแรก ได$แก4 1. อําเภอเทพารักษK จํานวนประชากร 16,218 คน จํานวน 5,348 ครัวเรือน 2. อําเภอเทพารักษK จํานวนประชากร 16,773 คน จํานวน 5,902 ครัวเรือน 3. อําเภอสีดา จํานวนประชากร 18,351 คน จํานวน 5,348 ครัวเรือน 48.93 48.8 48.66 48.78 51.07 51.2 51.34 51.22 47.00 47.50 48.00 48.50 49.00 49.50 50.00 50.50 51.00 51.50 52.00 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ร้อยละ แผนภูมิแสดงอัตราส่วนของประชากร ชาย หญิง 21
  • 27. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 3. ช4วงอายุของประชากร 3.1 ช4วงอายุของประชากร จําแนกตามช4วงอายุ แบบ 10 ช4วง ช4วงอายุ เพศชาย เพศหญิง รวม คน ร$อยละ คน ร$อยละ คน ร$อยละ นอยกว4า 1 ปเต็ม 3,717 0.39 3,765 0.38 7,482 0.38 1 ปเต็ม - 2 ป 14,148 1.48 13,329 1.33 27,477 1.40 3 ปเต็ม - 5 ป 29,242 3.06 27,352 2.73 56,594 2.89 6 ปเต็ม - 11 ป 70,279 7.36 66,280 6.61 136,559 6.97 12 ปเต็ม - 14 ป 37,070 3.88 35,948 3.58 73,018 3.73 15 ปเต็ม - 17 ป 39,172 4.10 37,727 3.76 76,899 3.93 18 ปเต็ม - 25 ป 103,853 10.87 101,600 10.13 205,453 10.49 26 ปเต็ม - 49 ป 357,862 37.47 374,478 37.34 732,340 37.40 50 ปเต็ม - 60 ปเต็ม 155,020 16.23 169,435 16.90 324,455 16.57 มากกว4า 60 ปเต็ม ขึ้นไป 144,785 15.16 172,939 17.24 317,724 16.23 รวม 955,148 100 1,002,853 100 1,958,001 100 ประชากรส4วนมากมีช4วงอายุ 26 – 49 ป รอยละ 37.40 แยกเป?นเพศชาย รอยละ 37.47 เพศหญิง รอยละ 37.34 รองลงมา มีช4วงอายุ 50 ปเต็ม – 60 ปเต็ม รอยละ 16.57 อายุ 60 ปเต็มขึ้นไป รอยละ 16.23 อายุ 18 ปเต็ม – 25 ป รอยละ 10.49 และอายุ 6 ปเต็ม – 11 ป รอยละ 6.97 สรุปไดว4า ประชากรส4วนใหญ4ของจังหวัดนครราชสีมา มากกว4า รอยละ 70.20 มีอายุตั้งแต4 26 ปเต็มขึ้นไป 0 5 10 15 20 25 30 35 40 ร้อยละ แผนภูมิร้อยละของประชากรตามช่วงอายุ ชาย หญิง 22
  • 28. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 3.2 ช4วงอายุของประชากร จําแนกตามช4วงอายุ แบบ 20 ช4วง ช4วงอายุ เพศชาย เพศหญิง รวม คน ร$อยละ คน ร$อยละ คน ร$อยละ 101 ปขึ้นไป 72 0.01 137 0.01 209 0.01 96 – 100 ป 295 0.03 625 0.06 920 0.05 91 – 95 ป 1,357 0.14 2,396 0.24 3,753 0.19 86 – 90 ป 4,883 0.51 7,737 0.77 12,620 0.64 81 – 85 ป 10,455 1.09 14,398 1.44 24,843 1.27 76 – 80 ป 18,896 1.98 24,197 2.41 43,093 2.20 71 – 75 ป 24,602 2.58 28,932 2.88 53,534 2.73 66 – 70 ป 35,537 3.72 39,980 3.99 75,517 3.86 61 – 65 ป 48,698 5.10 54,537 5.44 103,235 5.27 56 – 60 ป 63,365 6.63 69,606 6.94 132,971 6.79 51 – 55 ป 74,884 7.84 81,502 8.13 156,386 7.99 46 – 50 ป 82,484 8.64 89,615 8.94 172,099 8.79 41 – 45 ป 82,188 8.60 88,256 8.80 170,444 8.71 36 – 40 ป 78,361 8.20 81,666 8.14 160,027 8.17 31 – 35 ป 69,694 7.30 71,490 7.13 141,184 7.21 26 – 30 ป 61,906 6.48 61,778 6.16 123,684 6.32 21 – 25 ป 63,060 6.60 62,269 6.21 125,329 6.40 16 – 20 ป 67,077 7.02 64,873 6.47 131,950 6.74 11 – 15 ป 62,404 6.53 59,602 5.94 122,006 6.23 6 – 10 ป 57,833 6.05 54,811 5.47 112,644 5.75 1 – 5 ป 43,390 4.54 40,681 4.06 84,071 4.29 นอยกว4า 1 ป 3,717 0.39 3,765 0.38 7,482 0.38 รวม 955,148 100 1,002,853 100 1,958,001 100 23
  • 29. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 4. ประชากร จําแนกตามระดับการศึกษา ระดับการศึกษา เพศ รวม (คน) ร$อยละ ชาย (คน) ร$อยละ หญิง (คน) ร$อยละ ไม4เคยศึกษา 30,944 3.24 37,026 3.69 67,970 3.47 อนุบาล/ศูนยKเด็กเล็ก 32,552 3.41 30,780 3.07 63,332 3.23 ต่ํากว4าชั้นประถมศึกษา 40,699 4.26 44,132 4.40 84,831 4.33 จบชั้นประถมศึกษา (ป. 4, ป. 7, ป. 6) 440,293 46.1 470,424 46.91 910,717 46.51 มัธยมศึกษาตอนตน (มศ. 1-3, ม. 1-3) 171,589 17.96 155,365 15.49 326,954 16.70 มัธยมศึกษาตอนปลาย (มศ. 4-5, ม. 4-6, ปวช.) 139,994 14.66 143,379 14.30 283,373 14.47 อนุปริญญา หรือเทียบเท4า 37,202 3.89 33,042 3.29 70,244 3.59 ปริญญาตรี หรือเทียบเท4า 57,564 6.03 83,707 8.35 141,271 7.22 สูงกว4าปริญญาตรี 4,311 0.45 4,998 0.50 9,309 0.48 รวม 955,148 100 1,002,853 100 1,958,001 100 ประชากรส4วนมาก รอยละ 46.51 จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา (ป.4, ป.7, ป.6) รองลงมา รอยละ 16.70 จบชั้นมัธยมศึกษาตอนตน (มศ.1-3, ม.1-3) และรอยละ 14.47 จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (มศ.4- 5, ม.4-6, ปวช.) ตามลําดับ มีเพียงรอยละ 7.70 ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ซึ่งหาก พิจารณาเปรียบเทียบระดับการศึกษาระหว4างชายและหญิง จะพบว4าในระดับปริญญาตรีขึ้นไป ผูหญิง มีโอกาสทางการศึกษามากกว4าผูชาย 3.47 3.23 4.33 46.51 16.7 14.47 3.59 7.22 0.48 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 ร้อยละ แผนภูมิเปรียบเทียบระดับการศึกษา 24
  • 30. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 5. ประชากร จําแนกตามอาชีพ ประเภทอาชีพ เพศ รวม (คน) ร$อยละ ชาย (คน) ร$อยละ หญิง (คน) ร$อยละ เกษตรกรรม - ทํานา 198,685 20.8 208,415 20.78 407,100 20.79 เกษตรกรรม - ทําไร4 66,074 6.92 60,444 6.03 126,518 6.46 เกษตรกรรม - ทําสวน 3,160 0.33 3,150 0.31 6,310 0.32 เกษตรกรรม - ประมง 201 0.02 69 0.01 270 0.01 เกษตรกรรม - ปศุสัตวK 1,985 0.21 1,551 0.15 3,536 0.18 รับราชการ เจาหนาที่ของรัฐ 36,466 3.82 28,240 2.82 64,706 3.3 พนักงานรัฐวิสาหกิจ 3,151 0.33 2,987 0.3 6,138 0.31 พนักงานบริษัท 20,661 2.16 23,720 2.37 44,381 2.27 รับจางทั่วไป 309,974 32.45 288,719 28.79 598,693 30.58 คาขาย 39,176 4.1 66,651 6.65 105,827 5.4 ธุรกิจส4วนตัว 17,795 1.86 17,236 1.72 35,031 1.79 อาชีพอื่น (นอกเหนือที่กล4าวแลว) 19,323 2.02 33,054 3.3 52,377 2.68 กําลังศึกษา 188,038 19.69 194,251 19.37 382,289 19.52 ไม4มีอาชีพ 50,459 5.28 74,366 7.42 124,825 6.38 รวม 955,148 100 1,002,853 100 1,958,001 100 20.79 6.46 0.32 0.01 0.18 3.3 0.31 2.27 30.58 5.4 1.79 2.68 19.52 6.38 0 5 10 15 20 25 30 35 ร้อยละ แผนภูมิเปรียบเทียบการประกอบอาชีพ 25
  • 31. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 ประชากรส4วนมาก รอยละ 30.58 ประกอบอาชีพรับจางทั่วไป รองลงมา รอยละ 20.79 ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม-ทํานา และรอยละ 19.52 เป?นผูที่อยู4ในวัยกําลังศึกษา และไม4ไดประกอบอาชีพ ตามลําดับ ซึ่งมีเพียงรอยละ 6.38 ที่ไม4ไดประกอบอาชีพ 6. ประชากร จําแนกตามศาสนา ศาสนา เพศ รวม (คน) ร$อยละ ชาย (คน) ร$อยละ หญิง (คน) ร$อยละ พุทธ 952,447 99.72 1,000,020 99.72 1,952,467 99.72 คริสตK 2,195 0.23 2,321 0.23 4,516 0.23 อิสลาม 391 0.04 390 0.04 781 0.04 ซิกสK 14 - 16 - 30 - ฮินดู 15 - 11 - 26 - อื่นๆ 86 0.01 95 0.01 181 0.01 รวม 955,148 100 1,002,853 100 1,958,001 100 ประชากรส4วนมาก รอยละ 99.72 นับถือศาสนาพุทธ รองลงมา รอยละ 0.23 นับถือศาสนาคริสตK รอยละ 0.04 นับถือศาสนาอิสลาม ตามลําดับ 99.72 0.23 0.04 0.01 0 20 40 60 80 100 120 พุทธ คริสต์ อิสลาม ซิกส์ ฮินดู อื*นๆ ร้อยละ แผนภูมิเปรียบเทียบการนับถือศาสนา 26
  • 32. รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ประจําป 2558 หมวดที่ 1 : สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี 7 ตัวชี้วัด ตัวชี(วัด จํานวน ทั(งหมด ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ 1. เด็กแรกเกิดมีนํ0าหนักไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม 13,509 คน 13,417 99.32 92 0.68 2. เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได ้รับการฉีดวัคซีน ป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน โรค 252,089 คน 251,974 99.95 115 0.05 3. เด็กแรกเกิดได ้กินนมแม่อย่างเดียวอย่าง น้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน 9,836 คน 9,331 94.87 505 5.13 4. ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และได ้ 669,011 คร. 664,260 99.29 4,751 0.71 5. คนในครัวเรือนมีการใช ้ยาเพื*อบําบัด บรรเทา อาการเจ็บป่ วยเบื0องต ้นอย่างเหมาะสม 669,011 คร. 664,210 99.28 4,801 0.72 6. คนอายุ 35 ปีขึ0นไป ได ้รับการตรวจสุขภาพ ประจําปีเพื*อคัดกรองความเสี*ยงฯ 1,139,940 คน 1,116,906 97.98 23,034 2.02 7. คนอายุ 6 ปีขึ0นไป ออกกําลังกายอย่างน้อย สัปดาห์ละ 3 วันๆ ละ 30 นาที 1,866,448 คน 1,862,608 99.79 3,840 0.21 ผลการจัดเก็บข$อมูล ป 2558 หมวดที่ 1 สุขภาพดี จํานวน 7 ตัวชี้วัด พบว4า ตัวชี้วัดที่คนตกเกณฑ>มากที่สุด 3 ลําดับแรก คือ 1) เด็กแรกเกิดไดกินนมแม4อย4างเดียวอย4างนอย 6 เดือนแรกติดต4อกัน รอยละ 5.13 2) คนอายุ 35 ปขึ้นไป ไดรับการตรวจสุขภาพประจําปเพื่อคัดกรองความเสี่ยงต4อ โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง รอยละ 2.02 3) คนในครัวเรือนมีการใชยาเพื่อบําบัด บรรเทาอาการเจ็บปLวยเบื้องตน รอยละ 0.72 ตัวชี้วัดที่คนตกเกณฑ>น$อยที่สุด 3 ลําดับแรก คือ 1) เด็กแรกเกิดถึง 12 ป ไดรับการฉีดวัคซีนปNองกันโรคครบตามตารางเสริมสรางภูมิคุมกันโรค รอยละ 0.05 2) คนอายุ 6 ปขึ้นไป ออกกําลังกายอย4างนอยสัปดาหKละ 3 วันๆ ละ 30 นาที รอยละ 0.21 3) เด็กแรกเกิดมีน้ําหนักไม4นอยกว4า 2,500 กรัม รอยละ 0.68 27 รายงานคุณภาพชีวิตประชาชนจังหวัดนครราชสีมา ส4วนที่ 3 จําแนกรายหมวด และตัวชี้วัด