SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
Journal of Energy and Environment Technology ISSN 2392-5701
http://jeet.siamtechu.net Research Article
JEET 2014; 1(1): 11-19.
การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ
ที่ติดตั้งกับบ้านจาลองสภาวะอากาศแบบร้อนชื้นของกรุงเทพมหานคร
Study of a Solar Cells Chimney Wall with House Model
Under Hot Humid Climate of Bangkok
ปรีดา จันทวงษ์1*
โยธิน อึ่งกูล2
วราวุธ ทรัพย์ถาวร3
ชิตพล ไมตรีจิตร3
และ ธนาทร แสงอาทิตย์3
Preeda Chantawong1
Yothin Ungkoon2
Warawut Suptawon3
Chitphon Maiteejit3
and Tanathorn Sangartid3
1
อาจารย์, 3
นักศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมเครื่องต้นกาลัง วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
2
อาจารย์ สาขาการจัดการอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
1
Lecturer, 3
Student, Department of Power Engineering Technology, College of Industrial Technology,
King Mongkut’s University of Technology North Bangkok
2
Lecturer, Division of Industrial and Technology Management, Department of Applied Science,
Faculty of Science and Technology, Bansomdejchaopray Rajbhat University
*
Corresponding author, E-mail: cpreeda@yahoo.com
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้ได้ศึกษาทดลองสมรรถนะของปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ (SCCW) ที่ติดตั้ง
กับบ้านจาลองภายใต้สภาวะอากาศแบบร้อนชื้นของประเทศไทย สาหรับช่วยลดความร้อนและเพิ่มอัตราการไหลเวียนของ
อากาศภายในบ้าน มีลักษณะโครงสร้างของปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ประกอบด้วยผนังโซล่าร์เซลล์ ช่องว่างอากาศ พัดลม
ไฟฟ้ากระแสตรงติดตั้งตรงกลางระหว่างช่องว่างอากาศใช้ควบคุมอัตราการไหลของอากาศ ในระบบและผนังชั้นในเป็น
คอนกรีตมวลเบาแบบอบไอน้า ปล่องมีขนาดความสูง 1.50 m และความกว้าง 0.70 m ผนังโซล่าร์เซลล์และผนังคอนกรีต
มวลเบาชั้นในมีความหนาประมาณ 0.03 m ปล่องผนังโซล่าร์เซลล์มีขนาดช่องว่างอากาศ 0.04 m ช่องเปิดด้านล่างอยู่
ภายในบ้านเพื่อเพิ่มการระบายอากาศมีขนาด 0.24 x 0.12 m2 ผนังโซล่าร์เซลล์ ด้านบน มีช่องเปิดขนาด 0.24 x 0.12 m2
ใช้ระบายอากาศร้อนสู่สิ่งแวดล้อม ปล่องผนังโซล่าร์เซลล์กับผนังทั่วไปติดตั้งอยู่บนผนังทางด้านทิศใต้ของบ้านจาลองขนาด
เล็กที่มีปริมาตรเท่ากับ 4.05 m3 มีความหนา 10 cm สร้างด้วย ผนังมวลเบาแบบอบไอน้า ผลการเปรียบเทียบสมรรถนะ
ของห้องที่ติดตั้งปล่องผนังโซล่าร์เซลล์กับผนังคอนกรีตมวลเบาชั้นเดียวติดตั้งกับบ้านจาลองที่มีขนาดเท่ากัน ผลการศึกษา
ทดลอง พบว่าบ้านที่ติดตั้งปล่องผนัง SCCW มีอุณหภูมิภายในห้องต่ากว่าอุณหภูมิของบ้านผนังคอนกรีตมวลเบาชั้นเดียว
และการเปลี่ยนแปลงอัตราการไหลเวียนของปล่องผนัง SCCW ขึ้นกับพลังงานแสงอาทิตย์ที่เพิ่มขึ้น ทาให้อัตราการถ่ายเท
ความร้อนผ่านผนังเข้าสู่บ้าน ทางด้านทิศใต้ลดลง และช่วยระบายอากาศภายในห้องให้มีการไหลเวียนของอากาศภายใน
บ้านดีขึ้น
คาสาคั: ปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ (SCCW), อุณหภูมิอากาศภายใน,
สภาวะอากาศแบบร้อนชื้นของประเทศไทย
การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ฯ ปรีดา จันทวงษ์ และคณะ
http://jeet.siamtechu.net
JEET 2014; 1(1)
12
Abstract
This paper reports experimental performance of a Solar Cells Chimney Wall (SCCW) with house model
under hot humid climate of Thailand for reducing heat gain and increasing ventilation rate inside houses. The
SCCW is composed of a Solar Cells panel, air gap and an inner wall made from autoclaved aerated concrete pane.
Its dimensions were 1.50 m height and 0.70 m width. The thickness of the external PV panel and internal concrete
wall was about 0.03 m. The SCCW gap was 0.04 m; the size of opening located at the bottom (room side), for
increasing ventilation was installed in 0.24 x 0.12 m2, On the top of Solar Cells panel for insect protection was
installed in 0.24 x 0.12 m2 opening to exhaust hot air to ambient. The SCCW was integrated into the south façade
of a small house 4.05 m3 volume made from autoclaved aerated concrete the thickness 10 cm. Comparison
between SCCW and simple concrete wall (SW) using another small house model of the same dimensions was also
studied. The experimental results revealed that indoor temperature of SCCW room was lower than that of the single
concrete wall room. SCCW induced ventilation rate varied following the intensity of solar radiation. This ventilation
reduced heat gain admitted through the south wall considerably.
Keywords: Solar Cells Chimney Wall (SCCW), Indoor Air Temperature, Hot Humid Climate of Thailand
1. บทนา
การถ่ายเทความร้อนถ่ายเทจากหลังคาและผนังเข้าสู่ภายในบ้านหรืออาคารที่พักอาศัย ส่งผลทาให้อุณหภูมิอากาศ
ภายในสูงขึ้น และมีผลกระทบต่อสภาวะความสบายของผู้พักอาศัย [1-2] จึงได้มีการศึกษาออกแบบผนัง และหลังคาของ
บ้านเพื่อลดภาระความร้อนเข้าภายในบ้าน เนื่องจากประเทศไทยอยู่ในเขตร้อนชื้น และ มีค่าความเข้มแสงของรังสีอาทิตย์
ประมาณ 18.2 MJ/m2.day [8] การนาพลังงานแสงอาทิตย์มาประยุกต์ใช้ เป็นอีกแนวทางหนึ่ง เพื่อทาให้เกิดการพาความ
ร้อนแบบธรรมชาติที่ผนังของอาคาร ช่วยลดภาระความร้อนเข้าสู่ภายในบ้านพักอาศัย เกิดการระบายอากาศภายในอาคาร
จะสามารถลด การใช้ระบบปรับอากาศเชิงกล ฉะนั้นการระบายอากาศ ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้ผู้อยู่อาศัยรู้สึกสบาย สาหรับ
ในต่างประเทศได้นามาประยุกต์ใช้ทาความร้อนแบบธรรมชาติ ด้วยผนัง Trombe Walls หรือ ผนังสองชั้น เพื่อให้ความ
อบอุ่นภายในที่พักอาศัย [3-4] และภายในประเทศไทยได้ทาการศึกษา การระบายอากาศแบบธรรมชาติด้วยพลังงานรังสี
อาทิตย์ [5-8] ผนัง Trombe Walls โดยทั่วไป จะมีโครงสร้างที่แตกต่างกันที่วัสดุผนัง Trombe Walls มีอยู่ด้วยกันสามแบบ
แบบแรก ผนังชั้นนอกเป็นผนังก่ออิฐฉาบปูนทาสีดาด้านนอก ผนังชั้นในเป็นแผ่นยิบซั่ม แบบที่สอง ผนังชั้นนอกเป็นกระจก
ใส และผนังชั้นในผนังก่ออิฐฉาบปูนหรือมวลเบาทาสีดาด้านนอก และแบบที่สาม ผนังชั้นนอกเป็นแผงโซล่าร์เซลล์ และผนัง
ชั้นในผนังก่ออิฐฉาบปูนหรือคอนกรีตมวลเบาทาสีดาด้านนอกผนัง Trombe Walls มีช่องว่างอากาศระหว่างผนังทั้งสองชั้น
และมีช่องเปิดด้านล่างอยู่ภายในบ้าน ช่องเปิดด้านบนอยู่ภายนอก ผลการศึกษาและทดสอบโดยติดตั้งผนัง Trombe Wall
ด้านทิศใต้กับบ้านจาลอง เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ ผลการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ และอัตราการไหลเวียนของอากาศ
ภายในบ้าน ระหว่างบ้านจาลองที่ติดตั้งผนัง Trombe Walls กับบ้านปกติทั่วไปที่สภาวะอากาศปกติโดยไม่เปิดเครื่องปรับ
อากาศ
สาหรับงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทาการศึกษาทดลองเปรียบเทียบสมรรถนะในการระบายอากาศ และการ
ป้องกันความร้อนเข้าสู่ภายในบ้านจาลองของผนังด้านทิศใต้ระหว่างบ้านจาลองที่ติดตั้งปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศ
(Solar Cells Chimney Wall: SCCW) และบ้านจาลองที่ติดตั้งผนังทั่วไปเป็นผนังชั้นเดียว (Simple Concrete Wall: SW)
และได้ทาการศึกษาวิจัยพัฒนาต่อเนื่องมาจากงานวิจัยของนายปรีดา จันทวงษ์ [6-8] จะทาการทดสอบที่บ้านจาลองทั้งสอง
หลัง มีขนาดเท่ากัน และมีปริมาตรเท่ากับ 4.05 m3 (รูปที่ 1) โดยทาการศึกษาทดสอบภายใต้สภาวะอากาศปกติสองกรณี
คือ กรณีแรกทดสอบโดยปิดเครื่องปรับอากาศ จากผลทดลองภายใน วันที่ 15 มกราคม 2553 เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลง
การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ฯ ปรีดา จันทวงษ์ และคณะ
http://jeet.siamtechu.net
JEET 2014; 1(1)
13
ของอุณหภูมิต่างๆ เช่น อุณหภูมิบนผนังปล่อง SCCW และผนังบ้านทั่วไป อุณหภูมิอากาศภายในบ้าน อุณหภูมิอากาศ
ภายในปล่องผนัง SCCW และอุณหภูมิสิ่งแวดล้อม ความร้อนไหลผ่านผนัง ความเร็วลมภายในภายนอกของบ้านทดสอบทั้ง
สองหลัง ความเร็วลมของปล่อง SCCW และความเข้มแสงของรังสีอาทิตย์ กรณีที่สองทดสอบโดยเปิดเครื่องปรับอากาศ
จากผลทดลองภายในวันที่ 16 มกราคม 2553 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปริมาณการใช้ไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศ จากบ้าน
ทดสอบทั้งสองหลัง
รูปที่ 1 บ้านทดสอบทั้งสองหลัง
2.1 ทฤษฎีของปล่องผนัง SCCW
หลักการของปล่อง SCCW [6-8] ทางานโดยอาศัยอิทธิพลของแรงลอยตัวของอากาศ โดยเมื่ออากาศภายในปล่อง
ได้รับความร้อนที่ผ่านเข้ามา โดยการนาความร้อนจากโครงสร้างด้านนอก เมื่ออากาศภายในช่องว่าง มีอุณหภูมิสูงขึ้น จะ
เกิดแรงลอยตัวไหลออก จากทางช่องเปิดด้านนอก และเหนี่ยวนาอากาศจากภายในบ้านเข้ามาทางช่องเปิดด้านในบ้าน
รวมทั้งเป็นการเหนี่ยวนาอากาศแวดล้อม จากภายนอกให้เข้ามาภายในบ้าน ทาให้เกิดการระบายอากาศแบบธรรมชาติ
ส่งผลต่อสภาวะความสบายของผู้พักอาศัย (ดังแสดงในรูปที่ 2)
รูปที่ 2 หลักการทางานของปล่องผนัง SCCW [6-8]
2.2 อุปกรณ์และวิธีการทดลอง
บ้านจาลองสร้าง ณ บริเวณชั้นดาดฟ้าอาคาร 63 วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม
เกล้าพระนครเหนือ กรุงเทพมหานคร บ้านจาลองทั้งสองหลัง ดังแสดงในรูปที่ 1 มีขนาดเท่ากัน และ มีปริมาตรเท่ากับ
การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ฯ ปรีดา จันทวงษ์ และคณะ
http://jeet.siamtechu.net
JEET 2014; 1(1)
14
4.05m3 การทดสอบบ้านจาลองภายใต้สภาวะอากาศปกติ บ้านทดสอบหลังแรกเป็นบ้านจาลองที่ติดตั้งด้วยผนังทั่วไปหรือ
ผนังมวลเบาทาสีขาวด้านนอกมีความหนา 0.10 m ติดตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ของบ้าน และบ้านทดสอบหลังที่สองเป็นบ้าน
จาลองที่ติดตั้งด้วยปล่องผนัง SCCW เป็น ผนังสองชั้นมีขนาดพื้นที่รับรังสีอาทิตย์ประมาณ 1.05 m2 ติดตั้งบนผนังของบ้าน
จาลองด้านทิศใต้ทามุม 90 องศา เพื่อเทียบกับผนังทั่วไปด้านทิศใต้ ปล่องผนัง SCCW มีขนาดความสูง 1.50 m และความ
กว้าง 0.70m และ ผนังชั้นใน เป็นผนังคอนกรีตมวลเบามีความหนา 0.03 m ปล่องผนัง SCCW มีช่องว่างอากาศระหว่าง
ผนังทั้งสองชั้น มีขนาดระยะห่างเท่ากับ 0.04 m ช่องเปิดด้านล่างอยู่ภายในบ้านมีพื้นที่ขนาด 0.24 x 0.12m2 และบนผนังโซ
ล่าร์เซลล์ด้านบน มีช่องเปิดใช้ระบายอากาศร้อนสู่สิ่งแวดล้อมมีขนาด 0.24 x 0.12m2 จะทาการทดลองในลักษณะ
เช่นเดียวกันกับงานวิจัยของนายปรีดา จันทวงษ์[6-8] การติดตั้งจุดวัดค่าอุณหภูมิโดยใช้สายเทอร์โมคัปเปิลชนิด K (ค่า
ความคาดเคลื่อน  0.5) วัดอุณหภูมิตามจุดต่างๆ ดังนี้ของบ้านจาลองที่ติดตั้งผนังทั่วไปด้านทิศใต้บ้านจานวน 6 จุด (C1,
C2, C3, C4, C5, C6) และ ผนังชั้นนอก ช่องว่างอากาศ ผนังชั้นในทั้งภายใน และภายนอกบนผนังด้านทิศใต้ของบ้าน
จาลองที่ติดตั้งปล่องผนัง SCCW จานวน15 จุด (G1, G2, G3, G4, G5, G6, f1, f2, f3, C1, C2, C3, C4, C5, C6) อุณหภูมิ
อากาศภายในบ้านและ ตรงบานเกล็ดของประตูบ้านด้านทิศตะวันออกของบ้านทดสอบทั้งสองหลังจานวน 4 จุด (Tr, Tair
grill) และ อุณหภูมิสิ่งแวดล้อมจานวน 1 จุด (Tamb) เครื่องมือวัดความร้อนไหลผ่านผนัง ยี่ห้อ EKO Heat Flow Meter รุ่น
MF-180 ช่วงการวัดประมาณ 30C ถึง 120C (ค่าความคาดเคลื่อน  2 %) ผนังทางด้านทิศใต้ของบ้านทดสอบทั้งสอง
หลัง จานวน 2 จุด (Heat flux) วัดค่าความเข้มแสงของรังสีอาทิตย์ ทาการวัดด้วยไพราโนมิเตอร์ ยี่ห้อ EKO pyranometer
รุ่น MS – 601 (ช่วงการวัด 1 ถึง 1400 W/m2 ค่าความคาดเคลื่อน  5 %) ค่าอุณหภูมิ ค่าความร้อนไหลผ่านผนัง และ
ความเข้มแสงของรังสีอาทิตย์ จะถูกบันทึกในเครื่องบันทึกข้อมูล (Data recorder) ยี่ห้อ Hioki รุ่น 8422-51 (ค่าความคาด
เคลื่อน  0.8%) ค่าความเร็วลมภายใน และภายนอกบ้านจานวน 2 จุด โดยใช้เครื่องวัด Hot wire anemometer (รุ่น Testo
454 ช่วงการวัด 0 ถึง 50 m/s ความคาดเคลื่อน  5 %) วัดค่าปริมาณการใช้ไฟฟ้าจากเครื่องปรับอากาศ สาหรับกรณีที่
ทดสอบโดยเปิดเครื่องปรับอากาศ ทาการเก็บข้อมูล ได้แก่ อุณหภูมิบนผนัง อุณหภูมิช่องว่างอากาศ อุณหภูมิภายในห้อง
ตรงบานเกล็ดของประตู และอุณหภูมิบรรยากาศแวดล้อม ความเร็วลมภายในและภายนอกบ้าน ความร้อนผ่านผนังด้านทิศ
ใต้ของบ้านจาลอง ค่าความเร็วลมของปล่องผนัง SCCW และ ตาแหน่งติดตั้งเครื่องมือวัด ดังรูปที่ 3 ทาการเก็บบันทึก
ข้อมูลทุก 10 นาที (ตลอด 24 ชั้วโมง)
รูปที่ 3 การติดตั้งเครื่องมือวัดที่ตาแหน่งต่างๆของบ้านทดสอบทั้งสองหลัง
3. ผลการทดลอง
จากรูปที่ 4 แสดงผลการเปลี่ยนแปลงของค่าความเข้มแสงของรังสีอาทิตย์สูงประมาณ 850 W/m2 และอุณหภูมิ
การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ฯ ปรีดา จันทวงษ์ และคณะ
http://jeet.siamtechu.net
JEET 2014; 1(1)
15
สิ่งแวดล้อมอยู่ในช่วง 22  33 C การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของบ้านจาลองที่ติดตั้งผนังทั่วไป (Home 1) อุณหภูมิเฉลี่ย
บนผนัง (TC) อุณหภูมิอากาศภายในบ้านจาลอง (SW=Tr) อุณหภูมิอากาศ ที่ทางเข้าห้อง (Tair grill) และอุณหภูมิอากาศ
ของภายในบ้านที่ติดตั้งปล่องผนัง SCCW (Home 2) อุณหภูมิเฉลี่ยบนผนังชั้นนอก (TG) อุณหภูมิเฉลี่ยบนผนังชั้นใน (TC)
อุณหภูมิอากาศภายในห้อง (SCCW = Tr) อุณหภูมิอากาศที่ทางเข้าบ้าน (Tair grill) อุณหภูมิของอากาศภายในช่องว่าง
ปล่องผนัง SCCW (Tin, Tmiddle, Tout) และ อุณหภูมิสิ่งแวดล้อม (Tamb)
รูปที่ 4 ผลการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมและค่าความเข้มของรังสีอาทิตย์
(วันที่15 มกราคม 2553)
รูปที่ 5 การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิบนผนังของบ้านที่ติดตั้งผนังทั่วไป (Home 1: SW)
(วันที่15 มกราคม 2553)
จากรูปที่ 5-6 ผลการทดลองของบ้านจาลองทั้งสองหลัง พบว่า จากช่วงเวลากลางคืน อุณหภูมิบนผนังของบ้าน
จาลองที่ติดตั้งผนังชั้นเดียว (Home 1: SW) มีค่าใกล้เคียงกัน อุณหภูมิเฉลี่ยบนผนังของบ้านจาลองที่ติดตั้งปล่องผนัง
SCCW (Home 2) และอุณหภูมิสิ่งแวดล้อม จากช่วงเวลากลางวัน จะพบว่า ผนังชั้นนอกมีอุณหภูมิสูงกว่า ผนังชั้นในของ
ปล่องผนัง SCCW ประมาณ118C และบนผนังชั้นเดียว และอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมประมาณ 215C เนื่องจาก บนผนัง
ด้านนอกของปล่องผนัง SCCW เป็นแผงโซล่าร์เซลล์ มีสีดาจะสามารถดูดกลืนความร้อนได้ดีกว่าสีขาว
Time
Solarradiation
(W/m2
)
Temperature
0
50
100
150
200
250
300
350
400
450
500
550
600
650
700
750
800
850
0:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10 :00 12 :00 14 :00 16 :00 18 :00 20 :00 22 :00 0:00
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
Solar radiation
Tamb
Temperature
Time (hr)
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
0:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10 :00 12 :00 14 :00 16 :00 18 :00 20 :00 22 :00 0:00
TC
Tair grill
Tamb
การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ฯ ปรีดา จันทวงษ์ และคณะ
http://jeet.siamtechu.net
JEET 2014; 1(1)
16
รูปที่ 6 การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิบนผนังของบ้านที่ติดตั้งปล่องผนัง SCCW (Home 2)
(วันที่15 มกราคม 2553)
รูปที่ 7 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศภายในปล่องผนัง SCCW (วันที่19 มกราคม 2553)
รูปที่ 8 ผลเปรียบเทียบอุณหภูมิอากาศภายในห้องของบ้านจาลองที่ติดตั้ง SW กับ SCCW
(วันที่15 มกราคม 2553)
Temperature
(C)
Time (hr)
17
19
21
23
25
27
29
31
33
35
37
39
41
43
45
47
49
51
0:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10 :00 12 :00 14 :00 16 :00 18 :00 20 :00 22 :00 0:00
TG TC
Tair grill Tamb
Temperature
Time (hr)
(hr)
17
19
21
23
25
27
29
31
33
35
37
39
0:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10 :00 12 :00 14 :00 16 :00 18 :00 20 :00 22 :00 0:00
Tout
Tmiddle
Tin
Tamb
Temperature
Time (hr)
15
17
19
21
23
25
27
29
31
33
35
0:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10 :00 12 :00 14 :00 16 :00 18 :00 20 :00 22 :00 0:00
SCCW
SW
Tamb
การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ฯ ปรีดา จันทวงษ์ และคณะ
http://jeet.siamtechu.net
JEET 2014; 1(1)
17
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศภายในปล่องผนัง SCCW (รูปที่ 7) ผลการทดสอบตลอด 24 ชั่วโมง จะพบว่า
อุณหภูมิอากาศภายในปล่องผนัง SCCW มีค่าอุณหภูมิใกล้เคียงกับอุณหภูมิสิ่งแวดล้อม เนื่องจากปล่องผนัง SCCW มีการ
ระบายอากาศที่เกิดจาก การเหนี่ยวนาอากาศภายในสู่สิ่งแวดล้อมได้เร็วขึ้น ส่งผลให้อากาศภายในมีอุณหภูมิภายในบ้านต่า
กว่า บ้านจาลองที่ติดตั้งผนังทั่วไปประมาณ 0 – 4C (รูปที่ 8) และ จากช่วงเวลากลางคืน บ้านที่ติดตั้งผนังทั่วไป (Home1)
มีการสะสมความร้อนไว้ภายในห้อง เนื่องจากไม่สามารถระบายออกสู่ภายนอกได้ อีกทั้งอุณหภูมิอากาศภายในช่องว่าง
ปล่องของระบบ SCCW มีค่าใกล้เคียงกับอุณหภูมิภายในห้อง และอุณหภูมิอากาศสิ่งแวดล้อมตลอดทั้งวัน ซึ่งจะแสดงให้
เห็นถึงสมรรถนะของการระบายอากาศของระบบปล่องผนัง SCCW ทาให้เกิดการไหลเวียนอากาศภายในห้องได้ดีกว่าบ้าน
ที่ติดตั้งผนังทั่วไป
ความเร็วลมของปล่องผนัง SCCW จากช่วงเวลา 06:00 –18:00น (รูปที่ 9) จะมีค่าความเข้มของรังสีอาทิตย์ สูง
ประมาณ 0 850 W/m2 ปล่องผนัง SCCW มีความเร็วลมในการระบาย จากภายในสู่ภายนอกสูงประมาณ 0.2 –0.8 m/s ที่
ความเร็วลมภายนอกบ้านสูงประมาณ 0.2-3.0 m/s และความเร็วลมภายในห้องของบ้านที่ติดตั้งปล่องผนัง SCCW มีค่าสูง
กว่าบ้านที่ติดตั้งผนังทั่วไป (SW) ประมาณ 0.02-0.05 m/s ดังนั้นความเร็วลมใน การระบายอากาศของปล่องผนังโซล่าร์
เซลล์ขึ้นกับพลังงานแสงอาทิตย์ที่เพิ่มขึ้น ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ปล่อง SCCW สามารถลดความร้อนเข้าสู่ตัวบ้านได้ดีกว่า
ส่งผลให้ค่าการถ่ายเทความร้อนผ่านผนังของปล่องผนัง SCCW จะมีค่าต่ากว่า ผนังทั่วไปหรือผนังชั้นเดียวมาก (จากรูปที่
10) แสดงให้เห็นได้ว่าปล่องผนัง SCCW สามารถลดภาระ ความร้อนเข้าสู่ภายในบ้านได้ร้อยละ 21.72 จากผนังด้านทิศใต้
ของบ้านทดสอบ เมื่อเปรียบเทียบกับผนังทั่วไป
รูปที่ 9 ความเร็วลมของอากาศภายในปล่องผนัง SCCW (วันที่15 มกราคม 2553)
ผลการเปรียบเทียบการประหยัดพลังงานไฟฟ้า จากการใช้เครื่องปรับอากาศระหว่างบ้านจาลองที่ติดตั้งผนังทั่วไป
(SW) กับปล่องผนัง SCCW ที่ทาการทดสอบในสภาวะอากาศปกติ กรณีเปิดเครื่องปรับอากาศ พบว่า ปล่องผนัง SCCW
จะสามารถประหยัดพลังงานได้มากกว่าร้อยละ 84.11 (รูปที่ 11) จากบ้านจาลองที่ติดตั้งผนังทั่วไป (SW) เนื่องจากบ้านที่
ติดตั้งผนังทั่วไปจะมีการสะสมความร้อนภายใน ส่งผลทาให้เครื่องปรับอากาศทางานหนักมาก และไม่มีการระบายความร้อน
ออกสู่ภายนอก แต่สาหรับบ้านที่ติดตั้งปล่องผนัง SCCW เป็นระบบที่มีการระบายอากาศแบบธรรมชาติด้วยพลังงาน
แสงอาทิตย์ ส่งผลให้อุณหภูมิภายในบ้านลดลง ช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าจากการใช้เครื่องปรับอากาศ ดังนั้นผลจากการ
ทดลองนี้จะแสดงให้เห็นว่า ปล่องผนัง SCCW สามารถใช้งานได้จริง และเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการใช้งาน
Solarradiation
Airvelocity
Time (hr)
0
50
100
150
200
250
300
350
400
450
500
550
600
650
700
750
800
850
6:00 7:00 8:00 9:00 10 :00 11 :00 12 :00 13 :00 14 :00 15 :00 16 :00 17 :00 18 :00
0.0
0.2
0.4
0.6
0.8
1.0
1.2
1.4
1.6
1.8
2.0
2.2
2.4
2.6
2.8
3.0Solar radiation
Vamb
V (SCCW)
SCCW
SW
การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ฯ ปรีดา จันทวงษ์ และคณะ
http://jeet.siamtechu.net
JEET 2014; 1(1)
18
รูปที่ 10 ผลเปรียบเทียบค่าการถ่ายเทความร้อนผ่านผนังของบ้านจาลองที่ติดตั้ง SW กับ SCCW
(วันที่15 มกราคม 2553)
4. สรุป
ผลการศึกษาทดสอบเพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะการป้องกันความร้อนที่เข้าสู่ภายในบ้านจาลอง ระหว่างผนังทั่วไป
กับปล่องผนัง SCCW จะพบว่า อุณหภูมิอากาศภายในบ้าน และค่าความร้อนไหลผ่านผนังของบ้านจาลองที่ติดตั้งด้วยผนัง
ทั่วไป จะมีค่าสูงกว่าบ้านที่ติดตั้งด้วยปล่องผนัง SCCW ดังนั้นปล่องผนัง SCCW จะช่วยลดภาระความร้อนที่ถ่ายเทเข้าสู่
ภายในบ้านพักอาศัย และทาให้เกิดการไหลเวียนของอากาศภายในห้องดีขึ้น ส่งผลให้เกิดสภาวะความสบายต่อผู้พักอาศัย
และช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าจากการระบายอากาศของเครื่องปรับอากาศ
รูปที่ 11 การเปรียบเทียบปริมาณการใช้ไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศระหว่างบ้านจาลองที่ติดตั้ง SW กับ SCCW
(วันที่ 16 มกราคม 2553)
5. กิตติกรรมประกาศ
งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุน เพื่อ การส่งเสริมงานวิจัยในลักษณะนักวิจัยทั่วไปประจาปี 2552 จากศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Time
(hr)
Solarradiation
(W/m2
)
Heatflux
(W/m2
)
0
50
100
150
200
250
300
350
400
450
500
550
600
650
700
750
800
850
0:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10 :00 12 :00 14 :00 16 :00 18 :00 20 :00 22 :00 0:00
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19Solar radiation
SCCW
SW
Electricalconsumption
(kW-hr)
Solarradiation
(W/m2
)
Time
(hr)
0
50
100
150
200
250
300
350
400
450
500
550
600
650
700
750
800
850
9:00 10 :00 11 :00 12 :00 13 :00 14 :00 15 :00 16 :00 17 :00 18 :00
0.000
0.060
0.120
0.180
0.240
0.300
0.360
0.420
0.480
0.540
0.600
0.660
0.720
0.780Solar radiation
SCCW
SW
Time(hr)
Solarradiation(W/m2
)
Temperature(C)
0
50
100
150
200
250
300
350
400
450
500
550
600
650
700
750
800
850
0:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10 :00 12 :00 14 :00 16 :00 18 :00 20 :00 22 :00 0:00
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
Solar radiation
Tamb
e(C)
39
41
43
45
47
49
51
TG TC
Tair grill Tamb
emperature(C)
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36 TC
Tair grill
Tamb
Temperature(C)
17
19
21
23
25
27
29
31
33
35
37
39
Tout
Tmiddle
Tin
Tamb
Temperature(C)
15
17
19
21
23
25
27
29
31
33
35
SCCW
SW
Tamb
Time(hr)
Solarradiation(W/m2
)
Heatflux(W/m2
)
0
50
100
150
200
250
300
350
400
450
500
550
600
650
700
750
800
850
0:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10 :00 12 :00 14 :00 16 :00 18 :00 20 :00 22 :00 0:00
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19Solar radiation
SCCW
SW
Solarradiation(W/m2
)
Airvelocity(m/s)
Time (hr)
0
50
100
150
200
250
300
350
400
450
500
550
600
650
700
750
800
850
6:00 7:00 8:00 9:00 10 :00 11 :00 12 :00 13 :00 14 :00 15 :00 16 :00 17 :00 18 :00
0.0
0.2
0.4
0.6
0.8
1.0
1.2
1.4
1.6
1.8
2.0
2.2
2.4
2.6
2.8
3.0Solar radiation
Vamb
V (SCCW)
SCCW
SW
การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ฯ ปรีดา จันทวงษ์ และคณะ
http://jeet.siamtechu.net
JEET 2014; 1(1)
19
6. เอกสารอ้างอิง
[1] Khedari, J., et al, 2001, Thailand climatic zones. Journal of Renewable Energy, Vol. 25, pp.267-280.
[2] กานต์ สุขสงญาติ และคณะ. “การศึกษาเปรียบเทียบเชิงเศรษฐศาสตร์ระหว่างบ้านที่ใช้ผนังอิฐมอญกับผนังมวลเบาด้าน
การถ่ายเทความร้อนและคุณสมบัติทางความร้อน”, วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ปีที่ 17, ฉบับที่ 2,
พฤษภาคม – สิงหวาคม 2550. หน้าที่ 11-20.
[3] Zalewski, L., et al, 1997. Experimental thermal study of a solar wall of composite type. Journal of Energy and
Building, Vol. 25, pp. 7-18.
[4] Jie, J., et al, 2007. PV – Trombe wall Design for Buildings in Composite Climates, Journal of Solar Energy
Engineering, November 2007 Vol. 129, pp. 431- 437.
[5] Khedari, J., et al, 1998. The Modified Trombe wall: A simple ventilation means and an efficient insulating
material. The International Journal of Ambient Energy, Vol. 19, No. 2, pp.104-110.
[6] ปรีดา จันทวงษ์ การศึกษาทดสอบสมรรถนะทางความร้อนของปล่องผนังคอนกรีตมวลเบาระบายอากาศพลังงาน
แสงอาทิตย์ภายใต้สภาวะอากาศแบบรร้อนชื้นของกรุงเทพมหานคร วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่
10 ฉบับที่ 1 เล่มที่ 18 มกราคม– มิถุนายน 2552. หน้าที่ 1-14.
[7] ปรีดา จันทวงษ์ การศึกษาสมรรถนะทางความร้อนของปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติภายใต้
ภูมิอากาศแบบรรอนชื้นของกรุงเทพมหานคร วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
[8] ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2552. หน้าที่ 200-208.
[9] ปรีดา จันทวงษ์ การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติร่วมกับพัดลมกระแสตรงภายใต้สภาวะ
อากาศของกรุงเทพมหานคร วิศวสารลาดกระบัง ฉบับที่ 26 เล่มที่ 3 กันยายน 2552 หน้าที่ 37-42.

More Related Content

Viewers also liked

PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245981 ( M...
PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245981 ( M...PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245981 ( M...
PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245981 ( M...PT.Jeklindo Persada Consulting 085262245981
 
URUS IJIN DOKUMEN PERUSAHAAN JABODETABEK (PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245...
URUS IJIN DOKUMEN PERUSAHAAN JABODETABEK (PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245...URUS IJIN DOKUMEN PERUSAHAAN JABODETABEK (PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245...
URUS IJIN DOKUMEN PERUSAHAAN JABODETABEK (PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245...PT.Jeklindo Persada Consulting 085262245981
 
Custom Catalogue: Catalogue Automation Tool
Custom Catalogue: Catalogue Automation ToolCustom Catalogue: Catalogue Automation Tool
Custom Catalogue: Catalogue Automation ToolPindar Creative
 
Accidente cerebro vascular isquémico
Accidente cerebro vascular isquémicoAccidente cerebro vascular isquémico
Accidente cerebro vascular isquémicoAndrea Yáñez
 
How to effectively manage a restaurant
How to effectively manage a restaurantHow to effectively manage a restaurant
How to effectively manage a restaurantFrederick Otto
 
Newsletter 30 10-2015(36-20) (1)
Newsletter 30 10-2015(36-20) (1)Newsletter 30 10-2015(36-20) (1)
Newsletter 30 10-2015(36-20) (1)cacds_ukraine
 
Buletin cacds 19 (3)
Buletin cacds 19 (3)Buletin cacds 19 (3)
Buletin cacds 19 (3)cacds_ukraine
 
PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245981 ( M...
PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245981 ( M...PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245981 ( M...
PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245981 ( M...PT.Jeklindo Persada Consulting 085262245981
 
Newsletter 01 12-2015(38-22) (1)
Newsletter 01 12-2015(38-22) (1)Newsletter 01 12-2015(38-22) (1)
Newsletter 01 12-2015(38-22) (1)cacds_ukraine
 
The 10 Most Ugliest People on the Internet
The 10 Most Ugliest People on the InternetThe 10 Most Ugliest People on the Internet
The 10 Most Ugliest People on the InternetLeatitia Voges
 
Using ELK Explore Defect Data
Using ELK Explore Defect DataUsing ELK Explore Defect Data
Using ELK Explore Defect Dataatf117
 
КОНФЛІКТ В УКРАЇНІ І ЕВОЛЮЦІЯ МІЖНАРОДНОГО ПРАВОПОРЯДКУ
КОНФЛІКТ В УКРАЇНІ І ЕВОЛЮЦІЯ МІЖНАРОДНОГО ПРАВОПОРЯДКУКОНФЛІКТ В УКРАЇНІ І ЕВОЛЮЦІЯ МІЖНАРОДНОГО ПРАВОПОРЯДКУ
КОНФЛІКТ В УКРАЇНІ І ЕВОЛЮЦІЯ МІЖНАРОДНОГО ПРАВОПОРЯДКУcacds_ukraine
 
Bulletin cacds 15_10-2015(35-19)
Bulletin cacds 15_10-2015(35-19)Bulletin cacds 15_10-2015(35-19)
Bulletin cacds 15_10-2015(35-19)cacds_ukraine
 

Viewers also liked (19)

05_เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาพความดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลา Vol.1 No.1
05_เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาพความดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลา Vol.1 No.105_เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาพความดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลา Vol.1 No.1
05_เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาพความดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลา Vol.1 No.1
 
Buletin cacds
Buletin cacdsBuletin cacds
Buletin cacds
 
PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN ( 085262245981)
PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN ( 085262245981)PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN ( 085262245981)
PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN ( 085262245981)
 
PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245981 ( M...
PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245981 ( M...PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245981 ( M...
PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245981 ( M...
 
URUS IJIN DOKUMEN PERUSAHAAN JABODETABEK (PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245...
URUS IJIN DOKUMEN PERUSAHAAN JABODETABEK (PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245...URUS IJIN DOKUMEN PERUSAHAAN JABODETABEK (PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245...
URUS IJIN DOKUMEN PERUSAHAAN JABODETABEK (PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245...
 
PT.JEKLINDO PERSADA JASA PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN ( 085262245981)
PT.JEKLINDO PERSADA JASA PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN ( 085262245981)PT.JEKLINDO PERSADA JASA PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN ( 085262245981)
PT.JEKLINDO PERSADA JASA PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN ( 085262245981)
 
Custom Catalogue: Catalogue Automation Tool
Custom Catalogue: Catalogue Automation ToolCustom Catalogue: Catalogue Automation Tool
Custom Catalogue: Catalogue Automation Tool
 
Accidente cerebro vascular isquémico
Accidente cerebro vascular isquémicoAccidente cerebro vascular isquémico
Accidente cerebro vascular isquémico
 
How to effectively manage a restaurant
How to effectively manage a restaurantHow to effectively manage a restaurant
How to effectively manage a restaurant
 
Newsletter 30 10-2015(36-20) (1)
Newsletter 30 10-2015(36-20) (1)Newsletter 30 10-2015(36-20) (1)
Newsletter 30 10-2015(36-20) (1)
 
Buletin cacds 19 (3)
Buletin cacds 19 (3)Buletin cacds 19 (3)
Buletin cacds 19 (3)
 
PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245981 ( M...
PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245981 ( M...PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245981 ( M...
PENGURUSAN IZIN DOKUMEN PERUSAHAAN PT. JEKLINDO CONSULTING - 085262245981 ( M...
 
PERUSAHAAN JASA CONSULTING PT. JEKLINDO PERSADA ( 085262245981 )
PERUSAHAAN JASA CONSULTING PT. JEKLINDO PERSADA ( 085262245981 )PERUSAHAAN JASA CONSULTING PT. JEKLINDO PERSADA ( 085262245981 )
PERUSAHAAN JASA CONSULTING PT. JEKLINDO PERSADA ( 085262245981 )
 
Newsletter 01 12-2015(38-22) (1)
Newsletter 01 12-2015(38-22) (1)Newsletter 01 12-2015(38-22) (1)
Newsletter 01 12-2015(38-22) (1)
 
The 10 Most Ugliest People on the Internet
The 10 Most Ugliest People on the InternetThe 10 Most Ugliest People on the Internet
The 10 Most Ugliest People on the Internet
 
Using ELK Explore Defect Data
Using ELK Explore Defect DataUsing ELK Explore Defect Data
Using ELK Explore Defect Data
 
КОНФЛІКТ В УКРАЇНІ І ЕВОЛЮЦІЯ МІЖНАРОДНОГО ПРАВОПОРЯДКУ
КОНФЛІКТ В УКРАЇНІ І ЕВОЛЮЦІЯ МІЖНАРОДНОГО ПРАВОПОРЯДКУКОНФЛІКТ В УКРАЇНІ І ЕВОЛЮЦІЯ МІЖНАРОДНОГО ПРАВОПОРЯДКУ
КОНФЛІКТ В УКРАЇНІ І ЕВОЛЮЦІЯ МІЖНАРОДНОГО ПРАВОПОРЯДКУ
 
PENGURUSAN IJIN PERUSAHAAN ( PT.JEKLINDO PERSADA ) HUB: 085262245981
PENGURUSAN IJIN PERUSAHAAN ( PT.JEKLINDO PERSADA ) HUB: 085262245981PENGURUSAN IJIN PERUSAHAAN ( PT.JEKLINDO PERSADA ) HUB: 085262245981
PENGURUSAN IJIN PERUSAHAAN ( PT.JEKLINDO PERSADA ) HUB: 085262245981
 
Bulletin cacds 15_10-2015(35-19)
Bulletin cacds 15_10-2015(35-19)Bulletin cacds 15_10-2015(35-19)
Bulletin cacds 15_10-2015(35-19)
 

More from วารสารวิชาการ เทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อม

More from วารสารวิชาการ เทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อม (16)

บทบรรณาธิการ
บทบรรณาธิการบทบรรณาธิการ
บทบรรณาธิการ
 
แนวทางเชิงประจักษ์สำหรับการประมาณค่าความหนาแน่นและความหนืดของกรดไขมันเอทิลเอส...
แนวทางเชิงประจักษ์สำหรับการประมาณค่าความหนาแน่นและความหนืดของกรดไขมันเอทิลเอส...แนวทางเชิงประจักษ์สำหรับการประมาณค่าความหนาแน่นและความหนืดของกรดไขมันเอทิลเอส...
แนวทางเชิงประจักษ์สำหรับการประมาณค่าความหนาแน่นและความหนืดของกรดไขมันเอทิลเอส...
 
การกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์โดยสารละลาย Fe-EDTA
การกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์โดยสารละลาย Fe-EDTAการกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์โดยสารละลาย Fe-EDTA
การกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์โดยสารละลาย Fe-EDTA
 
เศษยางอีวีเอพื้นรองเท้านำกลับมาใช้ใหม่ผสมยางอีพีดีเอ็ม
เศษยางอีวีเอพื้นรองเท้านำกลับมาใช้ใหม่ผสมยางอีพีดีเอ็ม เศษยางอีวีเอพื้นรองเท้านำกลับมาใช้ใหม่ผสมยางอีพีดีเอ็ม
เศษยางอีวีเอพื้นรองเท้านำกลับมาใช้ใหม่ผสมยางอีพีดีเอ็ม
 
อิทธิพลขององค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศระดับจุลภาค
อิทธิพลขององค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศระดับจุลภาคอิทธิพลขององค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศระดับจุลภาค
อิทธิพลขององค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศระดับจุลภาค
 
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
 
11 วารสาร jeet_ปกหลัง_นอก
11 วารสาร jeet_ปกหลัง_นอก11 วารสาร jeet_ปกหลัง_นอก
11 วารสาร jeet_ปกหลัง_นอก
 
Cover JEET Vol 1 No.2July–December [2014]
Cover JEET Vol 1 No.2July–December [2014]Cover JEET Vol 1 No.2July–December [2014]
Cover JEET Vol 1 No.2July–December [2014]
 
บทบรรณาธิการ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2
บทบรรณาธิการ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2บทบรรณาธิการ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2
บทบรรณาธิการ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2
 
01_การศึกษาลักษณะเฉพาะของขั้วแคโทดลิเธียมไอรอนฟลูออโรฟอสเฟตที่ใช้ในแบตเตอรี่ล...
01_การศึกษาลักษณะเฉพาะของขั้วแคโทดลิเธียมไอรอนฟลูออโรฟอสเฟตที่ใช้ในแบตเตอรี่ล...01_การศึกษาลักษณะเฉพาะของขั้วแคโทดลิเธียมไอรอนฟลูออโรฟอสเฟตที่ใช้ในแบตเตอรี่ล...
01_การศึกษาลักษณะเฉพาะของขั้วแคโทดลิเธียมไอรอนฟลูออโรฟอสเฟตที่ใช้ในแบตเตอรี่ล...
 
02_การศึกษารูปแบบการไหลและการกระจายอุณหภูมิอากาศในโรงเรือนเพาะปลูก
02_การศึกษารูปแบบการไหลและการกระจายอุณหภูมิอากาศในโรงเรือนเพาะปลูก02_การศึกษารูปแบบการไหลและการกระจายอุณหภูมิอากาศในโรงเรือนเพาะปลูก
02_การศึกษารูปแบบการไหลและการกระจายอุณหภูมิอากาศในโรงเรือนเพาะปลูก
 
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
 
05_การเพิ่มประสิทธิภาพการเผาไหม้โดยใช้วัสดุพรุน
05_การเพิ่มประสิทธิภาพการเผาไหม้โดยใช้วัสดุพรุน05_การเพิ่มประสิทธิภาพการเผาไหม้โดยใช้วัสดุพรุน
05_การเพิ่มประสิทธิภาพการเผาไหม้โดยใช้วัสดุพรุน
 
08_Small Scale Biomass Gasification Power Plant Management Vol.1 No.1
08_Small Scale Biomass Gasification Power Plant Management Vol.1 No.108_Small Scale Biomass Gasification Power Plant Management Vol.1 No.1
08_Small Scale Biomass Gasification Power Plant Management Vol.1 No.1
 
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.106_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
 
00_บทบรรณาธิการ Vol.1 No.1
00_บทบรรณาธิการ Vol.1 No.100_บทบรรณาธิการ Vol.1 No.1
00_บทบรรณาธิการ Vol.1 No.1
 

02_การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ ที่ติดตั้งกับบ้านจำลองสภาวะอากาศแ

  • 1. Journal of Energy and Environment Technology ISSN 2392-5701 http://jeet.siamtechu.net Research Article JEET 2014; 1(1): 11-19. การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ ที่ติดตั้งกับบ้านจาลองสภาวะอากาศแบบร้อนชื้นของกรุงเทพมหานคร Study of a Solar Cells Chimney Wall with House Model Under Hot Humid Climate of Bangkok ปรีดา จันทวงษ์1* โยธิน อึ่งกูล2 วราวุธ ทรัพย์ถาวร3 ชิตพล ไมตรีจิตร3 และ ธนาทร แสงอาทิตย์3 Preeda Chantawong1 Yothin Ungkoon2 Warawut Suptawon3 Chitphon Maiteejit3 and Tanathorn Sangartid3 1 อาจารย์, 3 นักศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมเครื่องต้นกาลัง วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2 อาจารย์ สาขาการจัดการอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 1 Lecturer, 3 Student, Department of Power Engineering Technology, College of Industrial Technology, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok 2 Lecturer, Division of Industrial and Technology Management, Department of Applied Science, Faculty of Science and Technology, Bansomdejchaopray Rajbhat University * Corresponding author, E-mail: cpreeda@yahoo.com บทคัดย่อ บทความวิจัยนี้ได้ศึกษาทดลองสมรรถนะของปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ (SCCW) ที่ติดตั้ง กับบ้านจาลองภายใต้สภาวะอากาศแบบร้อนชื้นของประเทศไทย สาหรับช่วยลดความร้อนและเพิ่มอัตราการไหลเวียนของ อากาศภายในบ้าน มีลักษณะโครงสร้างของปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ประกอบด้วยผนังโซล่าร์เซลล์ ช่องว่างอากาศ พัดลม ไฟฟ้ากระแสตรงติดตั้งตรงกลางระหว่างช่องว่างอากาศใช้ควบคุมอัตราการไหลของอากาศ ในระบบและผนังชั้นในเป็น คอนกรีตมวลเบาแบบอบไอน้า ปล่องมีขนาดความสูง 1.50 m และความกว้าง 0.70 m ผนังโซล่าร์เซลล์และผนังคอนกรีต มวลเบาชั้นในมีความหนาประมาณ 0.03 m ปล่องผนังโซล่าร์เซลล์มีขนาดช่องว่างอากาศ 0.04 m ช่องเปิดด้านล่างอยู่ ภายในบ้านเพื่อเพิ่มการระบายอากาศมีขนาด 0.24 x 0.12 m2 ผนังโซล่าร์เซลล์ ด้านบน มีช่องเปิดขนาด 0.24 x 0.12 m2 ใช้ระบายอากาศร้อนสู่สิ่งแวดล้อม ปล่องผนังโซล่าร์เซลล์กับผนังทั่วไปติดตั้งอยู่บนผนังทางด้านทิศใต้ของบ้านจาลองขนาด เล็กที่มีปริมาตรเท่ากับ 4.05 m3 มีความหนา 10 cm สร้างด้วย ผนังมวลเบาแบบอบไอน้า ผลการเปรียบเทียบสมรรถนะ ของห้องที่ติดตั้งปล่องผนังโซล่าร์เซลล์กับผนังคอนกรีตมวลเบาชั้นเดียวติดตั้งกับบ้านจาลองที่มีขนาดเท่ากัน ผลการศึกษา ทดลอง พบว่าบ้านที่ติดตั้งปล่องผนัง SCCW มีอุณหภูมิภายในห้องต่ากว่าอุณหภูมิของบ้านผนังคอนกรีตมวลเบาชั้นเดียว และการเปลี่ยนแปลงอัตราการไหลเวียนของปล่องผนัง SCCW ขึ้นกับพลังงานแสงอาทิตย์ที่เพิ่มขึ้น ทาให้อัตราการถ่ายเท ความร้อนผ่านผนังเข้าสู่บ้าน ทางด้านทิศใต้ลดลง และช่วยระบายอากาศภายในห้องให้มีการไหลเวียนของอากาศภายใน บ้านดีขึ้น คาสาคั: ปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติ (SCCW), อุณหภูมิอากาศภายใน, สภาวะอากาศแบบร้อนชื้นของประเทศไทย
  • 2. การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ฯ ปรีดา จันทวงษ์ และคณะ http://jeet.siamtechu.net JEET 2014; 1(1) 12 Abstract This paper reports experimental performance of a Solar Cells Chimney Wall (SCCW) with house model under hot humid climate of Thailand for reducing heat gain and increasing ventilation rate inside houses. The SCCW is composed of a Solar Cells panel, air gap and an inner wall made from autoclaved aerated concrete pane. Its dimensions were 1.50 m height and 0.70 m width. The thickness of the external PV panel and internal concrete wall was about 0.03 m. The SCCW gap was 0.04 m; the size of opening located at the bottom (room side), for increasing ventilation was installed in 0.24 x 0.12 m2, On the top of Solar Cells panel for insect protection was installed in 0.24 x 0.12 m2 opening to exhaust hot air to ambient. The SCCW was integrated into the south façade of a small house 4.05 m3 volume made from autoclaved aerated concrete the thickness 10 cm. Comparison between SCCW and simple concrete wall (SW) using another small house model of the same dimensions was also studied. The experimental results revealed that indoor temperature of SCCW room was lower than that of the single concrete wall room. SCCW induced ventilation rate varied following the intensity of solar radiation. This ventilation reduced heat gain admitted through the south wall considerably. Keywords: Solar Cells Chimney Wall (SCCW), Indoor Air Temperature, Hot Humid Climate of Thailand 1. บทนา การถ่ายเทความร้อนถ่ายเทจากหลังคาและผนังเข้าสู่ภายในบ้านหรืออาคารที่พักอาศัย ส่งผลทาให้อุณหภูมิอากาศ ภายในสูงขึ้น และมีผลกระทบต่อสภาวะความสบายของผู้พักอาศัย [1-2] จึงได้มีการศึกษาออกแบบผนัง และหลังคาของ บ้านเพื่อลดภาระความร้อนเข้าภายในบ้าน เนื่องจากประเทศไทยอยู่ในเขตร้อนชื้น และ มีค่าความเข้มแสงของรังสีอาทิตย์ ประมาณ 18.2 MJ/m2.day [8] การนาพลังงานแสงอาทิตย์มาประยุกต์ใช้ เป็นอีกแนวทางหนึ่ง เพื่อทาให้เกิดการพาความ ร้อนแบบธรรมชาติที่ผนังของอาคาร ช่วยลดภาระความร้อนเข้าสู่ภายในบ้านพักอาศัย เกิดการระบายอากาศภายในอาคาร จะสามารถลด การใช้ระบบปรับอากาศเชิงกล ฉะนั้นการระบายอากาศ ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้ผู้อยู่อาศัยรู้สึกสบาย สาหรับ ในต่างประเทศได้นามาประยุกต์ใช้ทาความร้อนแบบธรรมชาติ ด้วยผนัง Trombe Walls หรือ ผนังสองชั้น เพื่อให้ความ อบอุ่นภายในที่พักอาศัย [3-4] และภายในประเทศไทยได้ทาการศึกษา การระบายอากาศแบบธรรมชาติด้วยพลังงานรังสี อาทิตย์ [5-8] ผนัง Trombe Walls โดยทั่วไป จะมีโครงสร้างที่แตกต่างกันที่วัสดุผนัง Trombe Walls มีอยู่ด้วยกันสามแบบ แบบแรก ผนังชั้นนอกเป็นผนังก่ออิฐฉาบปูนทาสีดาด้านนอก ผนังชั้นในเป็นแผ่นยิบซั่ม แบบที่สอง ผนังชั้นนอกเป็นกระจก ใส และผนังชั้นในผนังก่ออิฐฉาบปูนหรือมวลเบาทาสีดาด้านนอก และแบบที่สาม ผนังชั้นนอกเป็นแผงโซล่าร์เซลล์ และผนัง ชั้นในผนังก่ออิฐฉาบปูนหรือคอนกรีตมวลเบาทาสีดาด้านนอกผนัง Trombe Walls มีช่องว่างอากาศระหว่างผนังทั้งสองชั้น และมีช่องเปิดด้านล่างอยู่ภายในบ้าน ช่องเปิดด้านบนอยู่ภายนอก ผลการศึกษาและทดสอบโดยติดตั้งผนัง Trombe Wall ด้านทิศใต้กับบ้านจาลอง เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ ผลการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ และอัตราการไหลเวียนของอากาศ ภายในบ้าน ระหว่างบ้านจาลองที่ติดตั้งผนัง Trombe Walls กับบ้านปกติทั่วไปที่สภาวะอากาศปกติโดยไม่เปิดเครื่องปรับ อากาศ สาหรับงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทาการศึกษาทดลองเปรียบเทียบสมรรถนะในการระบายอากาศ และการ ป้องกันความร้อนเข้าสู่ภายในบ้านจาลองของผนังด้านทิศใต้ระหว่างบ้านจาลองที่ติดตั้งปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศ (Solar Cells Chimney Wall: SCCW) และบ้านจาลองที่ติดตั้งผนังทั่วไปเป็นผนังชั้นเดียว (Simple Concrete Wall: SW) และได้ทาการศึกษาวิจัยพัฒนาต่อเนื่องมาจากงานวิจัยของนายปรีดา จันทวงษ์ [6-8] จะทาการทดสอบที่บ้านจาลองทั้งสอง หลัง มีขนาดเท่ากัน และมีปริมาตรเท่ากับ 4.05 m3 (รูปที่ 1) โดยทาการศึกษาทดสอบภายใต้สภาวะอากาศปกติสองกรณี คือ กรณีแรกทดสอบโดยปิดเครื่องปรับอากาศ จากผลทดลองภายใน วันที่ 15 มกราคม 2553 เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลง
  • 3. การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ฯ ปรีดา จันทวงษ์ และคณะ http://jeet.siamtechu.net JEET 2014; 1(1) 13 ของอุณหภูมิต่างๆ เช่น อุณหภูมิบนผนังปล่อง SCCW และผนังบ้านทั่วไป อุณหภูมิอากาศภายในบ้าน อุณหภูมิอากาศ ภายในปล่องผนัง SCCW และอุณหภูมิสิ่งแวดล้อม ความร้อนไหลผ่านผนัง ความเร็วลมภายในภายนอกของบ้านทดสอบทั้ง สองหลัง ความเร็วลมของปล่อง SCCW และความเข้มแสงของรังสีอาทิตย์ กรณีที่สองทดสอบโดยเปิดเครื่องปรับอากาศ จากผลทดลองภายในวันที่ 16 มกราคม 2553 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปริมาณการใช้ไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศ จากบ้าน ทดสอบทั้งสองหลัง รูปที่ 1 บ้านทดสอบทั้งสองหลัง 2.1 ทฤษฎีของปล่องผนัง SCCW หลักการของปล่อง SCCW [6-8] ทางานโดยอาศัยอิทธิพลของแรงลอยตัวของอากาศ โดยเมื่ออากาศภายในปล่อง ได้รับความร้อนที่ผ่านเข้ามา โดยการนาความร้อนจากโครงสร้างด้านนอก เมื่ออากาศภายในช่องว่าง มีอุณหภูมิสูงขึ้น จะ เกิดแรงลอยตัวไหลออก จากทางช่องเปิดด้านนอก และเหนี่ยวนาอากาศจากภายในบ้านเข้ามาทางช่องเปิดด้านในบ้าน รวมทั้งเป็นการเหนี่ยวนาอากาศแวดล้อม จากภายนอกให้เข้ามาภายในบ้าน ทาให้เกิดการระบายอากาศแบบธรรมชาติ ส่งผลต่อสภาวะความสบายของผู้พักอาศัย (ดังแสดงในรูปที่ 2) รูปที่ 2 หลักการทางานของปล่องผนัง SCCW [6-8] 2.2 อุปกรณ์และวิธีการทดลอง บ้านจาลองสร้าง ณ บริเวณชั้นดาดฟ้าอาคาร 63 วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้าพระนครเหนือ กรุงเทพมหานคร บ้านจาลองทั้งสองหลัง ดังแสดงในรูปที่ 1 มีขนาดเท่ากัน และ มีปริมาตรเท่ากับ
  • 4. การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ฯ ปรีดา จันทวงษ์ และคณะ http://jeet.siamtechu.net JEET 2014; 1(1) 14 4.05m3 การทดสอบบ้านจาลองภายใต้สภาวะอากาศปกติ บ้านทดสอบหลังแรกเป็นบ้านจาลองที่ติดตั้งด้วยผนังทั่วไปหรือ ผนังมวลเบาทาสีขาวด้านนอกมีความหนา 0.10 m ติดตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ของบ้าน และบ้านทดสอบหลังที่สองเป็นบ้าน จาลองที่ติดตั้งด้วยปล่องผนัง SCCW เป็น ผนังสองชั้นมีขนาดพื้นที่รับรังสีอาทิตย์ประมาณ 1.05 m2 ติดตั้งบนผนังของบ้าน จาลองด้านทิศใต้ทามุม 90 องศา เพื่อเทียบกับผนังทั่วไปด้านทิศใต้ ปล่องผนัง SCCW มีขนาดความสูง 1.50 m และความ กว้าง 0.70m และ ผนังชั้นใน เป็นผนังคอนกรีตมวลเบามีความหนา 0.03 m ปล่องผนัง SCCW มีช่องว่างอากาศระหว่าง ผนังทั้งสองชั้น มีขนาดระยะห่างเท่ากับ 0.04 m ช่องเปิดด้านล่างอยู่ภายในบ้านมีพื้นที่ขนาด 0.24 x 0.12m2 และบนผนังโซ ล่าร์เซลล์ด้านบน มีช่องเปิดใช้ระบายอากาศร้อนสู่สิ่งแวดล้อมมีขนาด 0.24 x 0.12m2 จะทาการทดลองในลักษณะ เช่นเดียวกันกับงานวิจัยของนายปรีดา จันทวงษ์[6-8] การติดตั้งจุดวัดค่าอุณหภูมิโดยใช้สายเทอร์โมคัปเปิลชนิด K (ค่า ความคาดเคลื่อน  0.5) วัดอุณหภูมิตามจุดต่างๆ ดังนี้ของบ้านจาลองที่ติดตั้งผนังทั่วไปด้านทิศใต้บ้านจานวน 6 จุด (C1, C2, C3, C4, C5, C6) และ ผนังชั้นนอก ช่องว่างอากาศ ผนังชั้นในทั้งภายใน และภายนอกบนผนังด้านทิศใต้ของบ้าน จาลองที่ติดตั้งปล่องผนัง SCCW จานวน15 จุด (G1, G2, G3, G4, G5, G6, f1, f2, f3, C1, C2, C3, C4, C5, C6) อุณหภูมิ อากาศภายในบ้านและ ตรงบานเกล็ดของประตูบ้านด้านทิศตะวันออกของบ้านทดสอบทั้งสองหลังจานวน 4 จุด (Tr, Tair grill) และ อุณหภูมิสิ่งแวดล้อมจานวน 1 จุด (Tamb) เครื่องมือวัดความร้อนไหลผ่านผนัง ยี่ห้อ EKO Heat Flow Meter รุ่น MF-180 ช่วงการวัดประมาณ 30C ถึง 120C (ค่าความคาดเคลื่อน  2 %) ผนังทางด้านทิศใต้ของบ้านทดสอบทั้งสอง หลัง จานวน 2 จุด (Heat flux) วัดค่าความเข้มแสงของรังสีอาทิตย์ ทาการวัดด้วยไพราโนมิเตอร์ ยี่ห้อ EKO pyranometer รุ่น MS – 601 (ช่วงการวัด 1 ถึง 1400 W/m2 ค่าความคาดเคลื่อน  5 %) ค่าอุณหภูมิ ค่าความร้อนไหลผ่านผนัง และ ความเข้มแสงของรังสีอาทิตย์ จะถูกบันทึกในเครื่องบันทึกข้อมูล (Data recorder) ยี่ห้อ Hioki รุ่น 8422-51 (ค่าความคาด เคลื่อน  0.8%) ค่าความเร็วลมภายใน และภายนอกบ้านจานวน 2 จุด โดยใช้เครื่องวัด Hot wire anemometer (รุ่น Testo 454 ช่วงการวัด 0 ถึง 50 m/s ความคาดเคลื่อน  5 %) วัดค่าปริมาณการใช้ไฟฟ้าจากเครื่องปรับอากาศ สาหรับกรณีที่ ทดสอบโดยเปิดเครื่องปรับอากาศ ทาการเก็บข้อมูล ได้แก่ อุณหภูมิบนผนัง อุณหภูมิช่องว่างอากาศ อุณหภูมิภายในห้อง ตรงบานเกล็ดของประตู และอุณหภูมิบรรยากาศแวดล้อม ความเร็วลมภายในและภายนอกบ้าน ความร้อนผ่านผนังด้านทิศ ใต้ของบ้านจาลอง ค่าความเร็วลมของปล่องผนัง SCCW และ ตาแหน่งติดตั้งเครื่องมือวัด ดังรูปที่ 3 ทาการเก็บบันทึก ข้อมูลทุก 10 นาที (ตลอด 24 ชั้วโมง) รูปที่ 3 การติดตั้งเครื่องมือวัดที่ตาแหน่งต่างๆของบ้านทดสอบทั้งสองหลัง 3. ผลการทดลอง จากรูปที่ 4 แสดงผลการเปลี่ยนแปลงของค่าความเข้มแสงของรังสีอาทิตย์สูงประมาณ 850 W/m2 และอุณหภูมิ
  • 5. การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ฯ ปรีดา จันทวงษ์ และคณะ http://jeet.siamtechu.net JEET 2014; 1(1) 15 สิ่งแวดล้อมอยู่ในช่วง 22  33 C การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของบ้านจาลองที่ติดตั้งผนังทั่วไป (Home 1) อุณหภูมิเฉลี่ย บนผนัง (TC) อุณหภูมิอากาศภายในบ้านจาลอง (SW=Tr) อุณหภูมิอากาศ ที่ทางเข้าห้อง (Tair grill) และอุณหภูมิอากาศ ของภายในบ้านที่ติดตั้งปล่องผนัง SCCW (Home 2) อุณหภูมิเฉลี่ยบนผนังชั้นนอก (TG) อุณหภูมิเฉลี่ยบนผนังชั้นใน (TC) อุณหภูมิอากาศภายในห้อง (SCCW = Tr) อุณหภูมิอากาศที่ทางเข้าบ้าน (Tair grill) อุณหภูมิของอากาศภายในช่องว่าง ปล่องผนัง SCCW (Tin, Tmiddle, Tout) และ อุณหภูมิสิ่งแวดล้อม (Tamb) รูปที่ 4 ผลการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมและค่าความเข้มของรังสีอาทิตย์ (วันที่15 มกราคม 2553) รูปที่ 5 การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิบนผนังของบ้านที่ติดตั้งผนังทั่วไป (Home 1: SW) (วันที่15 มกราคม 2553) จากรูปที่ 5-6 ผลการทดลองของบ้านจาลองทั้งสองหลัง พบว่า จากช่วงเวลากลางคืน อุณหภูมิบนผนังของบ้าน จาลองที่ติดตั้งผนังชั้นเดียว (Home 1: SW) มีค่าใกล้เคียงกัน อุณหภูมิเฉลี่ยบนผนังของบ้านจาลองที่ติดตั้งปล่องผนัง SCCW (Home 2) และอุณหภูมิสิ่งแวดล้อม จากช่วงเวลากลางวัน จะพบว่า ผนังชั้นนอกมีอุณหภูมิสูงกว่า ผนังชั้นในของ ปล่องผนัง SCCW ประมาณ118C และบนผนังชั้นเดียว และอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมประมาณ 215C เนื่องจาก บนผนัง ด้านนอกของปล่องผนัง SCCW เป็นแผงโซล่าร์เซลล์ มีสีดาจะสามารถดูดกลืนความร้อนได้ดีกว่าสีขาว Time Solarradiation (W/m2 ) Temperature 0 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 550 600 650 700 750 800 850 0:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10 :00 12 :00 14 :00 16 :00 18 :00 20 :00 22 :00 0:00 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 Solar radiation Tamb Temperature Time (hr) 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 0:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10 :00 12 :00 14 :00 16 :00 18 :00 20 :00 22 :00 0:00 TC Tair grill Tamb
  • 6. การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ฯ ปรีดา จันทวงษ์ และคณะ http://jeet.siamtechu.net JEET 2014; 1(1) 16 รูปที่ 6 การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิบนผนังของบ้านที่ติดตั้งปล่องผนัง SCCW (Home 2) (วันที่15 มกราคม 2553) รูปที่ 7 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศภายในปล่องผนัง SCCW (วันที่19 มกราคม 2553) รูปที่ 8 ผลเปรียบเทียบอุณหภูมิอากาศภายในห้องของบ้านจาลองที่ติดตั้ง SW กับ SCCW (วันที่15 มกราคม 2553) Temperature (C) Time (hr) 17 19 21 23 25 27 29 31 33 35 37 39 41 43 45 47 49 51 0:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10 :00 12 :00 14 :00 16 :00 18 :00 20 :00 22 :00 0:00 TG TC Tair grill Tamb Temperature Time (hr) (hr) 17 19 21 23 25 27 29 31 33 35 37 39 0:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10 :00 12 :00 14 :00 16 :00 18 :00 20 :00 22 :00 0:00 Tout Tmiddle Tin Tamb Temperature Time (hr) 15 17 19 21 23 25 27 29 31 33 35 0:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10 :00 12 :00 14 :00 16 :00 18 :00 20 :00 22 :00 0:00 SCCW SW Tamb
  • 7. การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ฯ ปรีดา จันทวงษ์ และคณะ http://jeet.siamtechu.net JEET 2014; 1(1) 17 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศภายในปล่องผนัง SCCW (รูปที่ 7) ผลการทดสอบตลอด 24 ชั่วโมง จะพบว่า อุณหภูมิอากาศภายในปล่องผนัง SCCW มีค่าอุณหภูมิใกล้เคียงกับอุณหภูมิสิ่งแวดล้อม เนื่องจากปล่องผนัง SCCW มีการ ระบายอากาศที่เกิดจาก การเหนี่ยวนาอากาศภายในสู่สิ่งแวดล้อมได้เร็วขึ้น ส่งผลให้อากาศภายในมีอุณหภูมิภายในบ้านต่า กว่า บ้านจาลองที่ติดตั้งผนังทั่วไปประมาณ 0 – 4C (รูปที่ 8) และ จากช่วงเวลากลางคืน บ้านที่ติดตั้งผนังทั่วไป (Home1) มีการสะสมความร้อนไว้ภายในห้อง เนื่องจากไม่สามารถระบายออกสู่ภายนอกได้ อีกทั้งอุณหภูมิอากาศภายในช่องว่าง ปล่องของระบบ SCCW มีค่าใกล้เคียงกับอุณหภูมิภายในห้อง และอุณหภูมิอากาศสิ่งแวดล้อมตลอดทั้งวัน ซึ่งจะแสดงให้ เห็นถึงสมรรถนะของการระบายอากาศของระบบปล่องผนัง SCCW ทาให้เกิดการไหลเวียนอากาศภายในห้องได้ดีกว่าบ้าน ที่ติดตั้งผนังทั่วไป ความเร็วลมของปล่องผนัง SCCW จากช่วงเวลา 06:00 –18:00น (รูปที่ 9) จะมีค่าความเข้มของรังสีอาทิตย์ สูง ประมาณ 0 850 W/m2 ปล่องผนัง SCCW มีความเร็วลมในการระบาย จากภายในสู่ภายนอกสูงประมาณ 0.2 –0.8 m/s ที่ ความเร็วลมภายนอกบ้านสูงประมาณ 0.2-3.0 m/s และความเร็วลมภายในห้องของบ้านที่ติดตั้งปล่องผนัง SCCW มีค่าสูง กว่าบ้านที่ติดตั้งผนังทั่วไป (SW) ประมาณ 0.02-0.05 m/s ดังนั้นความเร็วลมใน การระบายอากาศของปล่องผนังโซล่าร์ เซลล์ขึ้นกับพลังงานแสงอาทิตย์ที่เพิ่มขึ้น ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ปล่อง SCCW สามารถลดความร้อนเข้าสู่ตัวบ้านได้ดีกว่า ส่งผลให้ค่าการถ่ายเทความร้อนผ่านผนังของปล่องผนัง SCCW จะมีค่าต่ากว่า ผนังทั่วไปหรือผนังชั้นเดียวมาก (จากรูปที่ 10) แสดงให้เห็นได้ว่าปล่องผนัง SCCW สามารถลดภาระ ความร้อนเข้าสู่ภายในบ้านได้ร้อยละ 21.72 จากผนังด้านทิศใต้ ของบ้านทดสอบ เมื่อเปรียบเทียบกับผนังทั่วไป รูปที่ 9 ความเร็วลมของอากาศภายในปล่องผนัง SCCW (วันที่15 มกราคม 2553) ผลการเปรียบเทียบการประหยัดพลังงานไฟฟ้า จากการใช้เครื่องปรับอากาศระหว่างบ้านจาลองที่ติดตั้งผนังทั่วไป (SW) กับปล่องผนัง SCCW ที่ทาการทดสอบในสภาวะอากาศปกติ กรณีเปิดเครื่องปรับอากาศ พบว่า ปล่องผนัง SCCW จะสามารถประหยัดพลังงานได้มากกว่าร้อยละ 84.11 (รูปที่ 11) จากบ้านจาลองที่ติดตั้งผนังทั่วไป (SW) เนื่องจากบ้านที่ ติดตั้งผนังทั่วไปจะมีการสะสมความร้อนภายใน ส่งผลทาให้เครื่องปรับอากาศทางานหนักมาก และไม่มีการระบายความร้อน ออกสู่ภายนอก แต่สาหรับบ้านที่ติดตั้งปล่องผนัง SCCW เป็นระบบที่มีการระบายอากาศแบบธรรมชาติด้วยพลังงาน แสงอาทิตย์ ส่งผลให้อุณหภูมิภายในบ้านลดลง ช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าจากการใช้เครื่องปรับอากาศ ดังนั้นผลจากการ ทดลองนี้จะแสดงให้เห็นว่า ปล่องผนัง SCCW สามารถใช้งานได้จริง และเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการใช้งาน Solarradiation Airvelocity Time (hr) 0 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 550 600 650 700 750 800 850 6:00 7:00 8:00 9:00 10 :00 11 :00 12 :00 13 :00 14 :00 15 :00 16 :00 17 :00 18 :00 0.0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 1.2 1.4 1.6 1.8 2.0 2.2 2.4 2.6 2.8 3.0Solar radiation Vamb V (SCCW) SCCW SW
  • 8. การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ฯ ปรีดา จันทวงษ์ และคณะ http://jeet.siamtechu.net JEET 2014; 1(1) 18 รูปที่ 10 ผลเปรียบเทียบค่าการถ่ายเทความร้อนผ่านผนังของบ้านจาลองที่ติดตั้ง SW กับ SCCW (วันที่15 มกราคม 2553) 4. สรุป ผลการศึกษาทดสอบเพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะการป้องกันความร้อนที่เข้าสู่ภายในบ้านจาลอง ระหว่างผนังทั่วไป กับปล่องผนัง SCCW จะพบว่า อุณหภูมิอากาศภายในบ้าน และค่าความร้อนไหลผ่านผนังของบ้านจาลองที่ติดตั้งด้วยผนัง ทั่วไป จะมีค่าสูงกว่าบ้านที่ติดตั้งด้วยปล่องผนัง SCCW ดังนั้นปล่องผนัง SCCW จะช่วยลดภาระความร้อนที่ถ่ายเทเข้าสู่ ภายในบ้านพักอาศัย และทาให้เกิดการไหลเวียนของอากาศภายในห้องดีขึ้น ส่งผลให้เกิดสภาวะความสบายต่อผู้พักอาศัย และช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าจากการระบายอากาศของเครื่องปรับอากาศ รูปที่ 11 การเปรียบเทียบปริมาณการใช้ไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศระหว่างบ้านจาลองที่ติดตั้ง SW กับ SCCW (วันที่ 16 มกราคม 2553) 5. กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุน เพื่อ การส่งเสริมงานวิจัยในลักษณะนักวิจัยทั่วไปประจาปี 2552 จากศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ Time (hr) Solarradiation (W/m2 ) Heatflux (W/m2 ) 0 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 550 600 650 700 750 800 850 0:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10 :00 12 :00 14 :00 16 :00 18 :00 20 :00 22 :00 0:00 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19Solar radiation SCCW SW Electricalconsumption (kW-hr) Solarradiation (W/m2 ) Time (hr) 0 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 550 600 650 700 750 800 850 9:00 10 :00 11 :00 12 :00 13 :00 14 :00 15 :00 16 :00 17 :00 18 :00 0.000 0.060 0.120 0.180 0.240 0.300 0.360 0.420 0.480 0.540 0.600 0.660 0.720 0.780Solar radiation SCCW SW Time(hr) Solarradiation(W/m2 ) Temperature(C) 0 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 550 600 650 700 750 800 850 0:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10 :00 12 :00 14 :00 16 :00 18 :00 20 :00 22 :00 0:00 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 Solar radiation Tamb e(C) 39 41 43 45 47 49 51 TG TC Tair grill Tamb emperature(C) 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 TC Tair grill Tamb Temperature(C) 17 19 21 23 25 27 29 31 33 35 37 39 Tout Tmiddle Tin Tamb Temperature(C) 15 17 19 21 23 25 27 29 31 33 35 SCCW SW Tamb Time(hr) Solarradiation(W/m2 ) Heatflux(W/m2 ) 0 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 550 600 650 700 750 800 850 0:00 2:00 4:00 6:00 8:00 10 :00 12 :00 14 :00 16 :00 18 :00 20 :00 22 :00 0:00 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19Solar radiation SCCW SW Solarradiation(W/m2 ) Airvelocity(m/s) Time (hr) 0 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 550 600 650 700 750 800 850 6:00 7:00 8:00 9:00 10 :00 11 :00 12 :00 13 :00 14 :00 15 :00 16 :00 17 :00 18 :00 0.0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 1.2 1.4 1.6 1.8 2.0 2.2 2.4 2.6 2.8 3.0Solar radiation Vamb V (SCCW) SCCW SW
  • 9. การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ฯ ปรีดา จันทวงษ์ และคณะ http://jeet.siamtechu.net JEET 2014; 1(1) 19 6. เอกสารอ้างอิง [1] Khedari, J., et al, 2001, Thailand climatic zones. Journal of Renewable Energy, Vol. 25, pp.267-280. [2] กานต์ สุขสงญาติ และคณะ. “การศึกษาเปรียบเทียบเชิงเศรษฐศาสตร์ระหว่างบ้านที่ใช้ผนังอิฐมอญกับผนังมวลเบาด้าน การถ่ายเทความร้อนและคุณสมบัติทางความร้อน”, วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ปีที่ 17, ฉบับที่ 2, พฤษภาคม – สิงหวาคม 2550. หน้าที่ 11-20. [3] Zalewski, L., et al, 1997. Experimental thermal study of a solar wall of composite type. Journal of Energy and Building, Vol. 25, pp. 7-18. [4] Jie, J., et al, 2007. PV – Trombe wall Design for Buildings in Composite Climates, Journal of Solar Energy Engineering, November 2007 Vol. 129, pp. 431- 437. [5] Khedari, J., et al, 1998. The Modified Trombe wall: A simple ventilation means and an efficient insulating material. The International Journal of Ambient Energy, Vol. 19, No. 2, pp.104-110. [6] ปรีดา จันทวงษ์ การศึกษาทดสอบสมรรถนะทางความร้อนของปล่องผนังคอนกรีตมวลเบาระบายอากาศพลังงาน แสงอาทิตย์ภายใต้สภาวะอากาศแบบรร้อนชื้นของกรุงเทพมหานคร วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เล่มที่ 18 มกราคม– มิถุนายน 2552. หน้าที่ 1-14. [7] ปรีดา จันทวงษ์ การศึกษาสมรรถนะทางความร้อนของปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติภายใต้ ภูมิอากาศแบบรรอนชื้นของกรุงเทพมหานคร วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ [8] ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2552. หน้าที่ 200-208. [9] ปรีดา จันทวงษ์ การศึกษาปล่องผนังโซล่าร์เซลล์ระบายอากาศแบบธรรมชาติร่วมกับพัดลมกระแสตรงภายใต้สภาวะ อากาศของกรุงเทพมหานคร วิศวสารลาดกระบัง ฉบับที่ 26 เล่มที่ 3 กันยายน 2552 หน้าที่ 37-42.