SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน Economic crisis
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาวปิยะนันท์ สาสุจิตร เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1 นางสาวปิยะนันท์ สาสุจิตร เลขที่ 20
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ทุกๆการเคลื่อนไหวของกราฟมักมีผลต่อเราเสมอ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Economic crisis
ประเภทโครงงาน ศึกษาเรียนรู้
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวปิยะนันท์ สาสุจิตร
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
จากสถานะการณ์ของภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันนี้จึงเกิดสาเหตุต่างๆที่อาจจะวิกฤตเศรษฐกิจอีกครั้งได้โดยมี
ข้อมูลสนับสนุนดังนี้
1.ปัจจัยเสี่ยงและสาเหตุที่จะส่งผลให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจคือ
ในปลายปี 2018 เศรษฐกิจเริ่มมีการชะลอตัว สุกิจกล่าวว่าในปี 2020 จะยังไม่ถึงขั้นวิกฤตเศรษฐกิจ แต่จะ
เป็นการชะลอลดลงเรื่อยๆ จากปี 2019 ที่เศรษฐกิจโลกชะลอตัวเกินกว่าที่คาดคิด โดยเหตุผลหลักคือ การเข้าสู่
ปลายวัฏจักรของการเติบโต (Late Cycle) คือเกิดภาวะชะลอตัวตามวัฏจักร แต่ถูกซ้าเติมจากสงครามการค้า ซึ่ง
ส่งผลให้ความเชื่อมั่นต่อผู้ประกอบการและผู้บริโภคตกต่า ในปี 2020 โลกยังคงมีความเสี่ยงอีกมากมายที่ต้อง
เผชิญหน้า ซึ่งล้วนเป็นผลพวงมาจากสิ่งที่เกิดขึ้นในปีที่ผ่านมา ทั้งสงครามการค้าที่ยังไม่มีทีท่าว่าจะยุติซึ่งเริ่มมีมาตั้งแต่
ปี 2018 และอาจลุกลามกลายเป็นสงครามค่าเงิน สงครามเทคโนโลยี ความไม่แน่นอนของ Brexit ขณะเดียวกันก็ยังมี
เรื่องการเมือง คือจุดเปลี่ยนเมื่อการเลือกตั้งสหรัฐฯ ใกล้เข้ามา
เริ่มต้นตั้งแต่การที่อัตราการเติบโตของ GDP ทั่วโลกปรับตัวขึ้นไปสูงสุดในปี 2017 ที่ 3.8% หลังจากนั้นการ
ขยายตัวก็เริ่มชะลอตัวลงเหลือ 3.6% ในปี 2018 (ข้อมูลจาก IMF) ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องปกติเช่นกันของภาวะเศรษฐกิจที่
จะมีการชะลอตัว หลังจากมีการขยายตัวในระดับสูงต่อเนื่องมาเกือบ 10 ปี นับตั้งแต่เกิดวิกฤตการเงินสหรัฐฯ ในช่วง
ปี 2007-2009 ทั้งนี้โดยเฉลี่ยวัฏจักรการเติบโตขึ้น-ลงของเศรษฐกิจ 1 รอบใช้เวลาประมาณ 7 ปี
3
อย่างไรก็ตาม ต้องยอมรับว่าการชะลอตัวของเศรษฐกิจทั่วโลกในปี 2019 นั้นรุนแรงกว่าที่คาดการณ์ไว้ของสานักวิจัย
หลายๆ แห่ง ส่งผลให้ IMF รวมถึงธนาคารกลางของแต่ละประเทศ รวมถึงไทย ได้มีการทยอยปรับลดการคาดการณ์
การเติบโตของเศรษฐกิจในระดับโลกและระดับประเทศลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปลายปี 2018 ถึงปัจจุบัน
2. ปัจจัยกดดันที่ทาให้เกิดการปรับลดอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจ
สงครามการค้าระหว่างสหรัฐฯ-จีน ที่เริ่มต้นมาตั้งแต่ปี 2018 ต้องยอมรับอีกครั้งว่า ‘รุนแรงเกินคาด’ เช่นกัน
จากจุดเริ่มต้นที่ทั้ง 2 ประเทศขึ้นอัตราภาษีสินค้านาเข้ากัน 5 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่ในความเป็นจริงมูลค่าการ
เก็บภาษีสินค้านาเข้า โดยเฉพาะจากทางสหรัฐฯ เก็บภาษีนาเข้าจากจีนเพิ่มขึ้นไปเกือบ 5 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ
ปัจจัยดังกล่าวถือว่ามีแรงกดดันอย่างมากต่อการค้าระหว่างประเทศสะท้อนไปที่มูลค่าการส่งออกของประเทศที่พึ่งพา
การส่งออกให้ลดลงอย่างมากในปี 2019 เช่น จีน เกาหลีใต้ รวมถึงประเทศไทยด้วย ที่มูลค่าการส่งออกสินค้าปรับ
ลดลงจากปี 2018 ส่งผลลุกลามไปถึงกิจกรรมในภาคการผลิตสินค้าให้ตกต่าอย่างมาก ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการที่
ผู้ผลิตสินค้าไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่าจะสั่งซื้อวัตถุดิบหรือสินค้าในปริมาณเท่าไรจึงจะเหมาะสมกับความต้องการของ
ผู้บริโภค
ทั้งนี้นักเศรษฐศาสตร์เริ่มออกมาเตือนแล้วว่าอาจจะลุกลามถึงภาคบริการซึ่งแม้ไม่ได้รับผลกระทบโดยตรง
แต่หากภาพรวมเศรษฐกิจแย่ลงมากก็คงหลีกเลี่ยงผลกระทบไม่ได้ อาทิ ธุรกิจเชิงท่องเที่ยวที่เริ่มเห็นการชะลอตัวลง
อย่างช้าๆ ยังไม่รวมถึงปัจจัยอื่นๆ เช่น Brexit ข้อพิพาทระหว่างสหรัฐฯ กับอิหร่าน และการที่สหรัฐฯ ขึ้นภาษีนาเข้า
สินค้าจากยุโรป เป็นต้น
ภาพรวมของสถานการณ์ที่กล่าวมาข้างต้นถือว่าส่งผลกระทบอย่างมากจนทาให้เกิดวิกฤตความเชื่อมั่น
(Confidence Crisis) ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่น่ากลัวที่สุดต่อภาคธุรกิจทาให้กิจกรรมการค้า การลงทุนชะลอตัว ตลาด
การเงินผันผวนสูง และกระทบต่อการลงทุนในตลาดทุนเช่นกัน
นโยบายการเงินผ่อนคลายถูกนากลับมาใช้เป็นครั้งแรกหลังจากเกิดวิกฤตการเงินในสหรัฐฯ และยุโรป เพื่อ
เป็นการช่วยพยุงเศรษฐกิจไม่ให้ตกต่า หลังจากได้รับผลกระทบอย่างมากจากจากการทาสงครามการค้าระหว่าง
สหรัฐฯ-จีน ทั้งนี้ธนาคารกลางสหรัฐฯ (Federal Reserve) ได้มีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยไปแล้ว 2 ครั้ง รวม 0.50%
พร้อมประกาศว่าจะอัดฉีดเงินเข้าสู่ระบบเพิ่มเติม ทางด้านธนาคารกลางยุโรป (ECB) ได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก
สาหรับธนาคารพาณิชย์จากระดับ -0.40% เป็น -0.50% พร้อมกับการกลับมาดาเนินนโยบาย QE อีกครั้งในเดือน
พฤศจิกายน 2019 วงเงินซื้อสินทรัพย์ 2 หมื่นล้านยูโรต่อเดือน
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.ข้อมูลเรื่องวิกฤตเศรษฐกิจในสมัยต่างๆ
2.แนวทางการหารายได้เมื่อวิกฤตมาถึง
3.แนวทางการรอดพ้นจากวิกฤตเศรษฐกิจ
4.แนวโน้มความเสี่ยงองวิกฤตที่จะเกิดขึ้นเร็วๆนี้
4
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ให้ความรู้แก่บุคคลทั่วไป
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
มหันตภัยทางเศรษฐกิจที่ต้องเจออย่างน้อยสักครั้งหนึ่งในชีวิต เพราะวัฏจักรเศรษฐกิจเหมือนคลื่นน้าที่มี
ขึ้นย่อมมีลง บางช่วงเศรษฐกิจรุ่งเรืองถึงขีดสุด และบางช่วงเศรษฐกิจตกต่าจนน่าใจหาย
โดยปกติเศรษฐกิจวนครบรอบผ่านช่วงตั้งไข่ รุ่งเรือง ถดถอย ย่าแย่ กินระยะเวลาประมาณ 1-2 ทศวรรษ
แต่ไม่มีใครสามารถคาดการณ์ได้อย่างแม่นยาว่าจะเกิดขึ้นเมื่อใด แม้กระทั่งนักเศรษฐศาสตร์ผู้มีความรู้ความ
ชานาญด้านเศรษฐกิจมากที่สุด ก็ไม่อาจหยุดยั้งวิกฤตเศรษฐกิจได้ ทุกประเทศในโลกไม่ว่าพัฒนาแล้วแค่ไหน ไม่
ว่าอยู่ในทวีปใด ล้วนต้องเคยเจอมาแล้วทั้งสิ้น ดังนั้น เราจึงควรเตรียมความพร้อมอยู่เสมอเพื่อให้ผ่านวิกฤตนั้น
ไปได้
เหตุการณ์แรก เกิดในปีพ.ศ. 2540 ซึ่งถูกเรียกกันว่า “วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย” หรือที่คนไทย
เรียกว่า “วิกฤตต้มยากุ้ง” เกิดจากภาครัฐเปิดเสรีด้านการเงินให้ต่างประเทศเข้ามามากเกินไป ทั้งการลงทุนที่
แท้จริงและการเก็งกาไรเพื่อความฝันที่จะเป็นเสือเศรษฐกิจตัวที่ 5 ของเอเชีย โดยไม่ได้คานึงถึงความเสี่ยงจนเกิด
ปัญหาฟองสบู่แตกในภาคอสังหาริมทรัพย์และปัญหาการอนุมัติสินเชื่อหละหลวมในภาคสถาบันการเงิน ประกอบ
กับปัญหาการต่อสู้ค่าเงินจนเงินทุนสารองระหว่างประเทศแทบไม่เหลือ ตอนหลังต้องยอมแพ้ประกาศลอยตัว
ค่าเงินบาท ทาให้หนี้สินกู้ยืมมาจากต่างประเทศเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว ธุรกิจปิดกิจการคนตกงานเป็นจานวนมาก นัก
ธุรกิจที่ร่ารวยเป็นพันล้านกลับกลายเป็นหนี้สินล้นตัว บางคนคิดสั้นฆ่าตัวตาย บางคนยอมรับและสู้ไม่ถอยและ ทาทุก
อย่างเพื่อให้รอดมาได้
ปี พ.ศ. 2550 “วิกฤตสินเชื่อซับไพรม์” ที่ประเทศสหรัฐอเมริกากระเทือนไปทั่วโลก หรือที่คนไทยเรียกว่า
“วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์” เกิดจากสถาบันการเงินขาดการรัดกุมในการปล่อยสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์กลุ่มลูกค้าด้อย
คุณภาพ (Subprime) และพัฒนาเครื่องมือทางการเงินเพื่อให้ซื้อขายสินเชื่อประเภทนี้ได้สะดวก ทาให้เติบโต
อย่างรวดเร็ว จนเป็นฟองสบู่ขนาดมหึมา ต่อมาภายหลังดอกเบี้ยปรับตัวสูงขึ้น แต่ราคาบ้านปรับตัวลดลง ลูกหนี้
ผ่อนจ่ายไม่ไหวเกิดหนี้เสียขึ้นมากจนเกินควบคุม สถาบันการเงินชั้นนาของสหรัฐอเมริกาบางแห่งปิดตัว บางแห่ง
เพิ่มทุน บางแห่งตัดขายกิจการเพื่อความอยู่รอด ซึ่งเป็นเครื่องพิสูจน์ได้ว่าประเทศพัฒนาแล้วและมีนัก
เศรษฐศาสตร์เก่ง ๆ มากมายก็หนีไม่พ้นวิกฤต
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
ให้แนวทางต่อบุคคลทั่วไปให้สามารถรับมือกับวิกฤตเศรษฐกิจและใช้ชีวิตอย่างมีความสุขได้
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.อินเทอร์เน็ต
3.เว็บไซต์ต่างๆ
งบประมาณ
-
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ได้สรุปเรื่องราวของวิกฤตเศรษฐกิจให้สามารถอ่านและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันของเราได้
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
สังคมศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1. https://www.finnomena.com/macroview/top-5-global-econ-crisis/
2. https://www.krungsri.com/bank/th/plearn-plearn
3. http://www.forbesthailand.com/investment-outlook-detail.php?did=1386
4. https://thestandard.co/podcast/thesecretsauce-executive-espresso7/

More Related Content

Similar to 2562 final-project no.20-610

2562 final-project 18
2562 final-project 182562 final-project 18
2562 final-project 18ssuser3c19d3
 
2562 final-project ntthawat saipanya
2562 final-project ntthawat saipanya2562 final-project ntthawat saipanya
2562 final-project ntthawat saipanyassuserd582b31
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์nuttanansaiutpu
 
2562 final-project 30-peerawat.com
2562 final-project  30-peerawat.com2562 final-project  30-peerawat.com
2562 final-project 30-peerawat.comMotherYukker
 
2562 final-project-cpr
2562 final-project-cpr2562 final-project-cpr
2562 final-project-cprssuser04955f
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์น้องเกน ไม่เล่นยา
 
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะChanin Monkai
 
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทยการเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทยFigo Surakiart
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1NichareeRD
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1NichareeRD
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1NichareeRD
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1NichareeRD
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์isaka123
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์isaka123
 

Similar to 2562 final-project no.20-610 (20)

2562 final-project 18
2562 final-project 182562 final-project 18
2562 final-project 18
 
2562 final-project ntthawat saipanya
2562 final-project ntthawat saipanya2562 final-project ntthawat saipanya
2562 final-project ntthawat saipanya
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
 
2562 final-project 30-peerawat.com
2562 final-project  30-peerawat.com2562 final-project  30-peerawat.com
2562 final-project 30-peerawat.com
 
Work6
Work6Work6
Work6
 
Yuu
YuuYuu
Yuu
 
2561 project 1909
2561 project 19092561 project 1909
2561 project 1909
 
2562 final-project-cpr
2562 final-project-cpr2562 final-project-cpr
2562 final-project-cpr
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
 
2561 project-chaiyapat
2561 project-chaiyapat2561 project-chaiyapat
2561 project-chaiyapat
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทยการเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from pleng.mu

กิจกรรมที่3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 โครงงานคอมพิวเตอร์pleng.mu
 
กิจกรรมที่ 2 Presentation (แก้)
กิจกรรมที่ 2 Presentation (แก้)กิจกรรมที่ 2 Presentation (แก้)
กิจกรรมที่ 2 Presentation (แก้)pleng.mu
 
2562 final-project 03-610
2562 final-project 03-6102562 final-project 03-610
2562 final-project 03-610pleng.mu
 
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์pleng.mu
 
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์pleng.mu
 
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์pleng.mu
 
2562 final-project no.38
2562 final-project no.382562 final-project no.38
2562 final-project no.38pleng.mu
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project pleng.mu
 

More from pleng.mu (9)

กิจกรรมที่3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 2 Presentation (แก้)
กิจกรรมที่ 2 Presentation (แก้)กิจกรรมที่ 2 Presentation (แก้)
กิจกรรมที่ 2 Presentation (แก้)
 
2562 final-project 03-610
2562 final-project 03-6102562 final-project 03-610
2562 final-project 03-610
 
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project no.38
2562 final-project no.382562 final-project no.38
2562 final-project no.38
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Project1
Project1Project1
Project1
 

2562 final-project no.20-610

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน Economic crisis ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาวปิยะนันท์ สาสุจิตร เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 นางสาวปิยะนันท์ สาสุจิตร เลขที่ 20 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ทุกๆการเคลื่อนไหวของกราฟมักมีผลต่อเราเสมอ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Economic crisis ประเภทโครงงาน ศึกษาเรียนรู้ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวปิยะนันท์ สาสุจิตร ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) จากสถานะการณ์ของภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันนี้จึงเกิดสาเหตุต่างๆที่อาจจะวิกฤตเศรษฐกิจอีกครั้งได้โดยมี ข้อมูลสนับสนุนดังนี้ 1.ปัจจัยเสี่ยงและสาเหตุที่จะส่งผลให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจคือ ในปลายปี 2018 เศรษฐกิจเริ่มมีการชะลอตัว สุกิจกล่าวว่าในปี 2020 จะยังไม่ถึงขั้นวิกฤตเศรษฐกิจ แต่จะ เป็นการชะลอลดลงเรื่อยๆ จากปี 2019 ที่เศรษฐกิจโลกชะลอตัวเกินกว่าที่คาดคิด โดยเหตุผลหลักคือ การเข้าสู่ ปลายวัฏจักรของการเติบโต (Late Cycle) คือเกิดภาวะชะลอตัวตามวัฏจักร แต่ถูกซ้าเติมจากสงครามการค้า ซึ่ง ส่งผลให้ความเชื่อมั่นต่อผู้ประกอบการและผู้บริโภคตกต่า ในปี 2020 โลกยังคงมีความเสี่ยงอีกมากมายที่ต้อง เผชิญหน้า ซึ่งล้วนเป็นผลพวงมาจากสิ่งที่เกิดขึ้นในปีที่ผ่านมา ทั้งสงครามการค้าที่ยังไม่มีทีท่าว่าจะยุติซึ่งเริ่มมีมาตั้งแต่ ปี 2018 และอาจลุกลามกลายเป็นสงครามค่าเงิน สงครามเทคโนโลยี ความไม่แน่นอนของ Brexit ขณะเดียวกันก็ยังมี เรื่องการเมือง คือจุดเปลี่ยนเมื่อการเลือกตั้งสหรัฐฯ ใกล้เข้ามา เริ่มต้นตั้งแต่การที่อัตราการเติบโตของ GDP ทั่วโลกปรับตัวขึ้นไปสูงสุดในปี 2017 ที่ 3.8% หลังจากนั้นการ ขยายตัวก็เริ่มชะลอตัวลงเหลือ 3.6% ในปี 2018 (ข้อมูลจาก IMF) ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องปกติเช่นกันของภาวะเศรษฐกิจที่ จะมีการชะลอตัว หลังจากมีการขยายตัวในระดับสูงต่อเนื่องมาเกือบ 10 ปี นับตั้งแต่เกิดวิกฤตการเงินสหรัฐฯ ในช่วง ปี 2007-2009 ทั้งนี้โดยเฉลี่ยวัฏจักรการเติบโตขึ้น-ลงของเศรษฐกิจ 1 รอบใช้เวลาประมาณ 7 ปี
  • 3. 3 อย่างไรก็ตาม ต้องยอมรับว่าการชะลอตัวของเศรษฐกิจทั่วโลกในปี 2019 นั้นรุนแรงกว่าที่คาดการณ์ไว้ของสานักวิจัย หลายๆ แห่ง ส่งผลให้ IMF รวมถึงธนาคารกลางของแต่ละประเทศ รวมถึงไทย ได้มีการทยอยปรับลดการคาดการณ์ การเติบโตของเศรษฐกิจในระดับโลกและระดับประเทศลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปลายปี 2018 ถึงปัจจุบัน 2. ปัจจัยกดดันที่ทาให้เกิดการปรับลดอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจ สงครามการค้าระหว่างสหรัฐฯ-จีน ที่เริ่มต้นมาตั้งแต่ปี 2018 ต้องยอมรับอีกครั้งว่า ‘รุนแรงเกินคาด’ เช่นกัน จากจุดเริ่มต้นที่ทั้ง 2 ประเทศขึ้นอัตราภาษีสินค้านาเข้ากัน 5 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่ในความเป็นจริงมูลค่าการ เก็บภาษีสินค้านาเข้า โดยเฉพาะจากทางสหรัฐฯ เก็บภาษีนาเข้าจากจีนเพิ่มขึ้นไปเกือบ 5 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ ปัจจัยดังกล่าวถือว่ามีแรงกดดันอย่างมากต่อการค้าระหว่างประเทศสะท้อนไปที่มูลค่าการส่งออกของประเทศที่พึ่งพา การส่งออกให้ลดลงอย่างมากในปี 2019 เช่น จีน เกาหลีใต้ รวมถึงประเทศไทยด้วย ที่มูลค่าการส่งออกสินค้าปรับ ลดลงจากปี 2018 ส่งผลลุกลามไปถึงกิจกรรมในภาคการผลิตสินค้าให้ตกต่าอย่างมาก ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการที่ ผู้ผลิตสินค้าไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่าจะสั่งซื้อวัตถุดิบหรือสินค้าในปริมาณเท่าไรจึงจะเหมาะสมกับความต้องการของ ผู้บริโภค ทั้งนี้นักเศรษฐศาสตร์เริ่มออกมาเตือนแล้วว่าอาจจะลุกลามถึงภาคบริการซึ่งแม้ไม่ได้รับผลกระทบโดยตรง แต่หากภาพรวมเศรษฐกิจแย่ลงมากก็คงหลีกเลี่ยงผลกระทบไม่ได้ อาทิ ธุรกิจเชิงท่องเที่ยวที่เริ่มเห็นการชะลอตัวลง อย่างช้าๆ ยังไม่รวมถึงปัจจัยอื่นๆ เช่น Brexit ข้อพิพาทระหว่างสหรัฐฯ กับอิหร่าน และการที่สหรัฐฯ ขึ้นภาษีนาเข้า สินค้าจากยุโรป เป็นต้น ภาพรวมของสถานการณ์ที่กล่าวมาข้างต้นถือว่าส่งผลกระทบอย่างมากจนทาให้เกิดวิกฤตความเชื่อมั่น (Confidence Crisis) ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่น่ากลัวที่สุดต่อภาคธุรกิจทาให้กิจกรรมการค้า การลงทุนชะลอตัว ตลาด การเงินผันผวนสูง และกระทบต่อการลงทุนในตลาดทุนเช่นกัน นโยบายการเงินผ่อนคลายถูกนากลับมาใช้เป็นครั้งแรกหลังจากเกิดวิกฤตการเงินในสหรัฐฯ และยุโรป เพื่อ เป็นการช่วยพยุงเศรษฐกิจไม่ให้ตกต่า หลังจากได้รับผลกระทบอย่างมากจากจากการทาสงครามการค้าระหว่าง สหรัฐฯ-จีน ทั้งนี้ธนาคารกลางสหรัฐฯ (Federal Reserve) ได้มีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยไปแล้ว 2 ครั้ง รวม 0.50% พร้อมประกาศว่าจะอัดฉีดเงินเข้าสู่ระบบเพิ่มเติม ทางด้านธนาคารกลางยุโรป (ECB) ได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก สาหรับธนาคารพาณิชย์จากระดับ -0.40% เป็น -0.50% พร้อมกับการกลับมาดาเนินนโยบาย QE อีกครั้งในเดือน พฤศจิกายน 2019 วงเงินซื้อสินทรัพย์ 2 หมื่นล้านยูโรต่อเดือน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ข้อมูลเรื่องวิกฤตเศรษฐกิจในสมัยต่างๆ 2.แนวทางการหารายได้เมื่อวิกฤตมาถึง 3.แนวทางการรอดพ้นจากวิกฤตเศรษฐกิจ 4.แนวโน้มความเสี่ยงองวิกฤตที่จะเกิดขึ้นเร็วๆนี้
  • 4. 4 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ให้ความรู้แก่บุคคลทั่วไป หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) มหันตภัยทางเศรษฐกิจที่ต้องเจออย่างน้อยสักครั้งหนึ่งในชีวิต เพราะวัฏจักรเศรษฐกิจเหมือนคลื่นน้าที่มี ขึ้นย่อมมีลง บางช่วงเศรษฐกิจรุ่งเรืองถึงขีดสุด และบางช่วงเศรษฐกิจตกต่าจนน่าใจหาย โดยปกติเศรษฐกิจวนครบรอบผ่านช่วงตั้งไข่ รุ่งเรือง ถดถอย ย่าแย่ กินระยะเวลาประมาณ 1-2 ทศวรรษ แต่ไม่มีใครสามารถคาดการณ์ได้อย่างแม่นยาว่าจะเกิดขึ้นเมื่อใด แม้กระทั่งนักเศรษฐศาสตร์ผู้มีความรู้ความ ชานาญด้านเศรษฐกิจมากที่สุด ก็ไม่อาจหยุดยั้งวิกฤตเศรษฐกิจได้ ทุกประเทศในโลกไม่ว่าพัฒนาแล้วแค่ไหน ไม่ ว่าอยู่ในทวีปใด ล้วนต้องเคยเจอมาแล้วทั้งสิ้น ดังนั้น เราจึงควรเตรียมความพร้อมอยู่เสมอเพื่อให้ผ่านวิกฤตนั้น ไปได้ เหตุการณ์แรก เกิดในปีพ.ศ. 2540 ซึ่งถูกเรียกกันว่า “วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย” หรือที่คนไทย เรียกว่า “วิกฤตต้มยากุ้ง” เกิดจากภาครัฐเปิดเสรีด้านการเงินให้ต่างประเทศเข้ามามากเกินไป ทั้งการลงทุนที่ แท้จริงและการเก็งกาไรเพื่อความฝันที่จะเป็นเสือเศรษฐกิจตัวที่ 5 ของเอเชีย โดยไม่ได้คานึงถึงความเสี่ยงจนเกิด ปัญหาฟองสบู่แตกในภาคอสังหาริมทรัพย์และปัญหาการอนุมัติสินเชื่อหละหลวมในภาคสถาบันการเงิน ประกอบ กับปัญหาการต่อสู้ค่าเงินจนเงินทุนสารองระหว่างประเทศแทบไม่เหลือ ตอนหลังต้องยอมแพ้ประกาศลอยตัว ค่าเงินบาท ทาให้หนี้สินกู้ยืมมาจากต่างประเทศเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว ธุรกิจปิดกิจการคนตกงานเป็นจานวนมาก นัก ธุรกิจที่ร่ารวยเป็นพันล้านกลับกลายเป็นหนี้สินล้นตัว บางคนคิดสั้นฆ่าตัวตาย บางคนยอมรับและสู้ไม่ถอยและ ทาทุก อย่างเพื่อให้รอดมาได้ ปี พ.ศ. 2550 “วิกฤตสินเชื่อซับไพรม์” ที่ประเทศสหรัฐอเมริกากระเทือนไปทั่วโลก หรือที่คนไทยเรียกว่า “วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์” เกิดจากสถาบันการเงินขาดการรัดกุมในการปล่อยสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์กลุ่มลูกค้าด้อย คุณภาพ (Subprime) และพัฒนาเครื่องมือทางการเงินเพื่อให้ซื้อขายสินเชื่อประเภทนี้ได้สะดวก ทาให้เติบโต อย่างรวดเร็ว จนเป็นฟองสบู่ขนาดมหึมา ต่อมาภายหลังดอกเบี้ยปรับตัวสูงขึ้น แต่ราคาบ้านปรับตัวลดลง ลูกหนี้ ผ่อนจ่ายไม่ไหวเกิดหนี้เสียขึ้นมากจนเกินควบคุม สถาบันการเงินชั้นนาของสหรัฐอเมริกาบางแห่งปิดตัว บางแห่ง เพิ่มทุน บางแห่งตัดขายกิจการเพื่อความอยู่รอด ซึ่งเป็นเครื่องพิสูจน์ได้ว่าประเทศพัฒนาแล้วและมีนัก เศรษฐศาสตร์เก่ง ๆ มากมายก็หนีไม่พ้นวิกฤต วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ให้แนวทางต่อบุคคลทั่วไปให้สามารถรับมือกับวิกฤตเศรษฐกิจและใช้ชีวิตอย่างมีความสุขได้ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.อินเทอร์เน็ต 3.เว็บไซต์ต่างๆ งบประมาณ -
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ได้สรุปเรื่องราวของวิกฤตเศรษฐกิจให้สามารถอ่านและนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันของเราได้ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง สังคมศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1. https://www.finnomena.com/macroview/top-5-global-econ-crisis/ 2. https://www.krungsri.com/bank/th/plearn-plearn 3. http://www.forbesthailand.com/investment-outlook-detail.php?did=1386 4. https://thestandard.co/podcast/thesecretsauce-executive-espresso7/