SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน
เรื่องน่ารู้ของครีมกันแดด
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นายเจตนิพัทธ์ พุ่มจาปา เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1 นายเจตนิพัทธ์ พุ่มจาปา เลขที่ 3
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
เรื่องน่ารู้ของครีมกันแดด
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
sunscreen spf 50 pa+++
ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน : นายเจตนิพัทธ์ พุ่มจาปา
ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ปัจจุบันมีการผลิตเครื่องสาอางค์หลากหลายชนิดหลายรูปแบบให้ผู้บริโภคได้เลือกซื้อเลือกใช้
เพื่อดูแลบารุงผิวพรรณของตัวเอง หนึ่งในนั้นก็มีครีมกันแดดที่หลายคนต้องพกติดกระเป๋าไว้ เพื่อ
ปกป้องผิวพรรณจากแสงแดดที่เต็มไปด้วยรังสีUVซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ผิวเป็นอย่างมาก แต่หลาย
คนก็หารู้ไม่ว่าครีมกันแดดที่เราเห็นตามท้องตลาดทั่วไปนั้นมีหลายสูตร ซึ่งแต่ละสูตรก็ใช้ปกป้องผิว
จากรังสีที่แตกต่างกันไป ตัวการสาคัญในการทาลายผิวของเรานั้นคือรังสี UV หลายคนอาจจะสงสัย
ว่าครีมกันแดดตัวไหนใช้กันแดดยังไงบ้าง ตัวไหนจะสามารถใช้กันรังสี UV ได้มากเท่าใดเมื่อผิวของ
เราได้รับแสงแดด โดยเฉพาะแสงแดดที่แรงมากขึ้นทุก ๆ ปีในบ้านเรา เซลล์ผิวหนังก็จะสร้างเม็ดสีเม
ลานินเพิ่มมากขึ้น จนทาให้ผิวหนังมีสีคล้าขึ้น และบางคนอาจเกิดปัญหาฝ้า กระ ตามมา ถ้าได้รับ
แสงแดดจัดมาก ๆ ก็อาจทาให้เกิดอาการแดงหรืออาการถูกแดดเผาได้ นอกจากนี้รังสี
อัลตราไวโอเลตหรือรังสียูวีในแสงแดดยังอาจทาให้เกิดโรคมะเร็งผิวหนังได้อีกด้วย หลายคนอาจจะ
ยังไม่ทราบถึงคุณค่าที่สาคัญของครีมกันแดดอย่างแท้จริง แต่เนื่องด้วยอุณหภูมิโลกที่สูงขึ้น ทาให้
แสงแดดในสมัยปัจจุบันมีความอันตรายมากยิ่งขึ้น
จึงเป็นเหตุผลที่ผู้จัดทาโครงงานตัดสินใจเลือกทาโครงงานหัวข้อนี้ เพราะไม่เพียงแต่ผู้จัดทา
โครงงานจะได้รับความรู้แต่เพียงเท่านั้น ผู้จัดทายังสามารถเผยแพร่ความรู้ต่อผู้อื่นได้
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อข้อมูลที่เป็นประโยชน์มากขึ้น
2.เข้าใจความหมายของครีมกันแดดได้ลึกซึ้งมากขึ้น
3.รู้จักเลือกซื้อครีมกันแดดได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
การสร้างความเข้าใจและให้ความรู้ว่าครีมกันแดดนั้นคืออะไรและไม่ได้มีเพียงสูตรเดียวอย่างที่ทุกคน
เข้าใจ ซึ่งแต่ละสูตรก็มีจุดประสงค์การปกป้องผิวที่แตกต่างกันไป
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ครีมกันแดด (Sunscreen) คือ สารที่ช่วยปกป้องผิวจากรังสีอัลตราไวโอเลตหรือรังสียูวี
(Ultraviolet Radiation: UV) โดยช่วยให้ผิวไม่ถูกแสงแดดทาลายจนไหม้หรือเกิดจุดด่างดาต่าง ๆ
รวมทั้งลดโอกาสเสี่ยงเป็นมะเร็งผิวหนัง ส่วนผสมที่อยู่ในครีมกันแดดจะช่วยปกป้องผิวด้วยวิธีต่าง ๆ
ทั้งดูดซับรังสีอัลตราไวโอเลต ปกป้องชั้นผิวที่อยู่ลึก หรือสะท้อนรังสีอัลตราไวโอเลตกลับออกไป ทั้งนี้
ครีมกันแดดมีให้เลือกใช้หลากหลายรูปแบบ ได้แก่ โลชั่น ครีม ขี้ผึ้ง หรือสเปรย์
ครีมกันแดดจะมีค่าป้องกันแสงแดดหรือค่า SPF (Sun-Protection Factor: SPF) ระบุไว้บน
ผลิตภัณฑ์ โดยค่า SPF คือตัวเลขที่ใช้บอกระดับการปกป้องผิวจากแสงแดด ตัวเลขที่ต่างกันนั้น
ประเมินจากการป้องกันรังสียูวีบีว่าป้องกันได้มากกว่าปกติกี่เท่า อย่างไรก็ตาม ค่า SPF ไม่ได้แสดง
ประสิทธิภาพของการป้องกันรังสียูวีเอ เช่น ผู้ที่ไม่ได้ทาครีมกันแดดจะมีผิวหนังแดงหลังตากแดดเป็น
เวลา 15 นาที ส่วนผู้ที่ใช้ครีมกันแดดที่ค่า SPF 30 จะเกิดอาการดังกล่าวหลังตากแดดเป็นเวลา 450
นาที โดยคิดจากเวลาปกติที่ผิวหนังทนต่อแสงแดดได้คูณกับค่า SPF ที่ปกป้องผิวจากแสงแดดได้มาก
ถึง 30 เท่า นอกจากนี้ การปกป้องผิวจากแสงแดดขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ได้แก่ ระยะเวลาที่ออก
แดด ช่วงเวลาที่ออกแดด สภาพแวดล้อม ฤดูกาล และอากาศ อีกทั้งยังมีระดับความแรงของ
แสงแดด การเสียดสีสัมผัส เหงื่อ หรือน้า ซึ่งอาจทาให้ประสิทธิภาพของค่า SPF ในครีมกันแดดที่ใช้
ทาจริงต่ากว่าค่าที่ได้จากห้องทดลอง ผู้ที่ใช้ครีมกันแดดจึงควรเลี่ยงอยู่กลางแจ้งที่มีแดดจ้าเป็น
เวลานาน และต้องทาครีมกันแดดซ้าอยู่เสมอ หรือทาซ้าทุก 2-4 ชั่วโมง
ชนิดของรังสียูวี
แสงแดดที่แทรกชั้นบรรยากาศลงมาถึงโลกของเราได้นั้น จะมีรังสีแสงแดดที่มีผลต่อผิวหนังอย่างมาก
ซึ่งจะแบ่งเป็น 3 ช่วงคลื่นใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือ
ช่วงคลื่นระหว่าง 320-400 นาโนเมตร (คลื่นยาว) เราจะเรียกกันว่า รังสี UVA ซึ่งเป็นรังสีที่สามารถ
แทรกซอนถึงผิวชั้นลึก ๆ หรือผิวหนังชั้นล่างได้ ทาลายเนื้อเยื่อและดีเอ็นเอของเซลล์ผิว (สามารถ
ทะลุผ่านเมฆและกระจกได้ด้วย) โดยเป็นตัวทาลายคอลลาเจนและความชุ่มชื้นของผิวหนัง ทาให้ผิว
4
แห้งจนเกิดริ้วรอยลึกหรือผิวเหี่ยวย่น (++++), ทาให้เกิดฝ้า กระ (+++), มะเร็งผิวหนัง (++) และผิว
หมองคล้า (+)
ช่วงคลื่นระหว่าง 290-320 นาโนเมตร (คลื่นกลาง) เราจะเรียกกันว่า รังสี UVB เป็นรังสีสามารถทะลุ
ได้ถึงชั้นหนังกาพร้าเท่านั้น จึงทาให้ผิวหนังแดงหรือผิวไหม้แดด ซึ่งเป็นตัวการหลักทาให้สีผิวของเรา
หมองคล้า หรือที่เราเรียกว่า "แดดเผา" (++++), เป็นมะเร็งผิวหนัง (+++), ทาให้เกิดริ้วรอย (++)
และปัญหาฝ้า กระ (+)
ช่วงคลื่นระหว่าง 200-290 นาโนเมตร (คลื่นสั้น) เราจะเรียกกันว่า รังสี UVC ซึ่งในปัจจุบันยังส่องมา
ที่พื้นโลกได้ไม่มากนัก เพราะเกือบทั้งหมดถูกกรองไปแล้วโดยชั้นบรรยากาศโอโซนที่ห่อหุ้มโลกของ
เราอยู่ จึงทาให้ไม่มีผลิตภัณฑ์สาหรับการป้องกันรังสีชนิดนี้
ค่า PA ในการป้องกันรังสี UVA
PA หรือ Protection Grade of UVA เป็นค่าที่แสดงถึงคุณสมบัติในการปกป้องผิวจากรังสียูวีเอ
(UVA) ส่วนเครื่องเครื่องหมาย + ที่ตามหลังนั้นคือค่าความสามารถในการปกป้องผิว โดยวัดเป็นเท่า
ของการเกิดผิวคล้าดา (Skin pigmentation) โดยค่า PA จะมีอยู่ด้วยกัน 3 ระดับ ดังนี้
PA+ สามารถป้องกันรังสี UVA ได้ 1-4 เท่าของผิวปกติ หรือป้องกันได้น้อย
PA++ สามารถป้องกันรังสี UVA ได้ 4-8 เท่าของผิวปกติ หรือป้องกันได้ปานกลาง (ทางานในร่ม)
PA+++ สามารถป้องกันรังสี UVA ได้ 8-16 เท่า หรือป้องกันได้มาก (ทางานกลางแดด)
PA++++ สามารถป้องกันรังสี UVA ได้ 16 เท่าขึ้นไป หรือป้องกันได้สูงมาก (ทางานกลางแดด
ตลอดเวลา)
ค่า PA เป็นค่าที่ประเทศญี่ปุ่นคิดขึ้น ไม่ใช่ค่าสากล ดังนั้นครีมกันแดดบางยี่ห้อของต่างประเทศจึง
ไม่ได้ระบุค่า PA มาให้ แต่จะบอกถึงสารที่ใส่มาซึ่งสามารถป้องกันรังสี UVA ได้ เช่น avobenzone,
zinc oxide, titanium dioxide เป็นต้น
แต่อย่างไรก็ตาม ค่า PA ก็ถือเป็นค่าที่มีความสาคัญไม่แพ้ค่า SPF เลยล่ะ เพราะมีผลการทดลองที่
แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของประสิทธิภาพในการปกป้องผิวระหว่างการทาครีมกันแดดที่มีค่า
SPF เพียงอย่างเดียว กับการทาครีมกันแดดที่มีทั้งค่า SPF และ PA ผลการทดลองพบว่า ครีมกันแดด
ที่มีทั้ง SPF และ PA สามารถช่วยปกป้องผิวไม่ให้คล้าเสียได้มากกว่าครีมกันแดดที่มีค่า SPF เพียง
อย่างเดียวอย่างเห็นได้ชัด (ระดับความไหม้ของผิวหนังต่างกันมาก)
ค่า SPF ในการป้องกันรังสี UVB
ค่าประสิทธิภาพในการป้องกันรังสียูวีบี (UVB) เราจะเรียกว่า SPF (Sun Protection Factor) แต่ถ้า
จะพูดให้เข้าใจง่าย ๆ “ค่า SPF ก็คือ ค่าความสามารถในการป้องกันรังสี UVB ไม่ให้เกิดอาการแดง
ของผิวหนัง” ซึ่งการจะคานวณระยะเวลาในการป้องกันรังสี UVB จะต้องดูพื้นผิวของเราเป็นหลัก
ซึ่งผิวแต่ละคนจะมีระยะเวลาในการป้องกันไม่เท่ากันอยู่แล้ว อย่างเช่น คนผิวขาวเมื่อตากแดดไป
เพียง 10 นาที ผิวก็จะเริ่มแดง แต่อย่างคนทั่วไปที่มีผิวสองสีจะต้องใช้เวลาตากแดด 15 นาที ผิวถึง
จะเริ่มแดง หรือถ้าเป็นคนผิวสีเข้มหรือผิวดา ก็อาจจะต้องตากแดดนานถึง 30 นาที ผิวถึงจะเริ่มแดง
เป็นต้น
ส่วนค่าตัวเลขหลัง SPF ที่ระบุไว้ อย่าง SPF 30 นั้นจะหมายถึง “การใช้ระยะเวลานานกว่า 30 เท่า
ของเวลาที่ทาให้ผิวแดงเมื่อเปรียบเทียบกับตอนที่เรายังไม่ได้ทาครีมกันแดด” เช่น ถ้าเราอาบแดดใน
5
หน้าร้อนโดยไม่ได้ทาครีมกันแดดแล้วผิวจะเริ่มแดงในเวลา 10 นาที หมายความว่า SPF 30 จะ
สามารถป้องกันไม่ให้ผิวแดงได้นาน 300 นาที (5 ชั่วโมง) ดังนั้นหลังจาก 300 นาที ถ้าเรายังต้องโดน
แสงแดดอยู่ ก็จาเป็นต้องทาครีมกันแดดซ้าด้วยครับ แต่จากหลักการข้างต้นนี้เป็นเพียงการอธิบายถึง
เวลาที่ต่อเนื่องเท่านั้น (เพื่อให้เข้าใจได้ง่าย) ทาให้หลาย ๆ คนยังเข้าใจผิดคิดว่าหากถูกรังสียูวีใน
ระยะเวลาที่น้อยกว่านี้ผิวคงไม่เป็นไร ! ทางที่ดีคุณควรคิดใหม่ว่า "แม้ปริมาณรังสียูวีที่ได้รับจะเป็น
เพียงแค่ 1 ใน 15 ของระยะเวลาในการปกป้องจากครีมกันแดด แต่ก็ไม่ได้หมายความจะทาให้
อิทธิพลจากรังสียูวีเป็นศูนย์"
อีกทั้งตัวเลขเหล่านี้ก็เป็นตัวเลขที่ได้มาจากการคานวณเท่าคร่าว ๆ นั้น เมื่อนามาใช้จริง ๆ ก็อาจจะ
เกิดความคลาดเคลื่อนได้บ้างพอสมควร ด้วยสาเหตุหลายประการ โดยเฉพาะปริมาณของครีมกัน
แดดที่เราใช้ทา ซึ่งถ้าจะให้ได้รับการป้องกันของค่า SPF ตามที่ระบุไว้ในฉลาก เราก็ต้องทาครีมกัน
แดดมากถึง 2 มิลลิกรัมต่อเนื้อที่ผิวหนัง 1 ตารางเซนติเมตร แต่ในชีวิตจริงเรามักทากันไม่ถึงขนาด
นั้นหรอกครับ ประสิทธิภาพที่บอกไว้ก็อาจจะลดลง 30-50% เช่น จากตัวเลข 5 ชั่ว ก็อาจจะเหลือแค่
2-3 ชั่วโมง เป็นต้น
ในปัจจุบันนี้การวัดค่า SPF จากปริมาณแสงแดดที่น้อยที่สุดที่ทาให้เกิดอาการแดงที่ผิวหนัง จะเป็น
การสังเกตด้วยตาเป็นหลัก จึงอาจทาให้ค่าที่วัดได้ไม่เที่ยงตรงเท่าที่ควร เพราะจากการศึกษาพบว่า
ปริมาณแสงที่น้อยกว่านี้อาจทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผิวหนังและมีการทาลายเซลล์ของผิวหนังไป
แล้ว ซึ่งในอนาคตอาจต้องมีการวัดการทาลายผิวหนังของแสงแดดอาการแดงที่เห็นได้ด้วยตา เช่น
การดูลักษณะของเซลล์ผิวหนังที่เปลี่ยนไปจากการไหม้แดด, การดูลักษณะของเส้นใยอีลาสตินที่
เปลี่ยนรูปร่าง, การลดลงของจานวน Langerhans cell ซึ่งเป็นเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิต้านทาน
เป็นต้น
นอกจากนี้ ค่า SPF ยิ่งสูงก็ยิ่งแสดงว่าครีมกันแดดนั้นมีประสิทธิภาพในการป้องกันรังสียูวีได้มากขึ้น
ด้วย ดังนี้
SPF 2 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 50%
SPF 4 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 75%
SPF 6 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 80%
SPF 8 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 87.5%
SPF 10 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 80%
SPF 15 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 93.3%
SPF 20 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 95%
SPF 25 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 96%
SPF 30 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 96.7%
SPF 45 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 97.8%
SPF 50 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 98%
ประเภทของครีมกันแดด
ครีมกันแดดชนิดเคมี (Chemical sunscreen) เป็นครีมกันแดดที่มีส่วนผสมของสารเคมีที่ทาหน้าที่ใน
การปกป้องแสงแดด ด้วยการดูดซับรังสีเข้าผิวหนังแล้วเปลี่ยนเป็นความร้อน เพื่อป้องกันไม่ให้แสง
6
ผ่านลงในชั้นผิวหนังได้ (เนื้อครีมจะเป็นข้น ๆ น้านมเหมือนเนื้อครีมทั่วไป ซึมซับได้ง่าย) ซึ่งหลังจาก
โดนแดดสักพัก สารเคมีเหล่านี้ก็จะเสื่อมสภาพ นั่นจึงเป็นสาเหตุที่เราต้องทาครีมกันแดดทุก ๆ 2-3
ชั่วโมง สารป้องกันแดดประเภทนี้บางชนิดจะดูดซับได้เฉพาะรังสี UVA หรือ UVB หรือทั้งสองอย่าง
สารเคมีที่ใช้ผสมในครีมกันแดด คือ Panimate O, Bensophenone, Cinnamates, Antranilate,
Homosalate และ Oxybenzene ซึ่งครีมกันแดดที่มีส่วนผสมของสารเคมีในปริมาณมาก อาจทาให้
เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนังได้ง่ายขึ้นด้วย โดยเฉพาะกับคนที่มีผิวแพ้ง่าย
ครีมกันแดดชนิดกายภาพ (Physical sunscreen) จะมีส่วนผสมของสารที่สามารถสะท้อนรังสี UVA
และ UVB ที่ตกกระทบให้ออกไปจากผิวหนังได้ ซึ่งสารในกลุ่มนี้จะมีผลระคายเคืองต่อผิวหนังน้อย
กว่าสารในกลุ่มแรก แต่ข้อเสียของครีมกันแดดประเภทนี้คือจะไม่สามารถให้ค่า SPF ที่สูงได้ เนื้อครีม
จะไม่ละเอียดมากนักหรืออาจเป็นขุยหน่อย ๆ คล้ายกับมีแป้งผสมเพราะเป็นเหมือนรองพื้นในตัวได้
ด้วย และเมื่อนามาทาบนผิวหนังแล้วจะทาให้ดูวอกหรือดูขาวมากจนเกินไป (เนื่องจากสารจะเคลือบ
บนผิวหนังชั้นบนเพื่อรอแสงมากระทบ จึงมีการดูดซึมสู่ผิวน้อย) อีกทั้งยังล้างออกได้ยากอีกด้วย
ครีมกันแดดชนิดผสม (Chemical-Physical sunscreen) เป็นแบบผสมที่ช่วยเสริมข้อดีและลด
ข้อด้อยในแต่ละส่วน นั่นคือ ลดการระคายเคืองต่อผิวหนังจากสารเคมี ลดความขาวเมื่อทาครีม และ
ช่วยเสริมประสิทธิภาพในการป้องกันแสงแดดร่วมกัน
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน : นาข้อมูลที่จัดทาไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นทุกเพศทุกวัย
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ : notebook , microsoft word
7
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลำ
ดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดำห์ที่ ผู้รับผิด
ชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทา
เอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.สามารถเลือกซื้อครีมกันแดดใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากอันตรายของรังสีUVลดลง
3.เกิดความรู้และความเข้าใจในทางที่ถูกต้อง
สถานที่ดาเนินการ : โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://www.pobpad.com/%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%
B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%94%E0%B8%94-
%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B
9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2

More Related Content

Similar to 2562 final-project 03-610

เต้นะไอสาส
เต้นะไอสาสเต้นะไอสาส
เต้นะไอสาส2793233922
 
เต้นะไอสาส
เต้นะไอสาสเต้นะไอสาส
เต้นะไอสาส2793233922
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (1)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (1)viratchayaporn punyada
 
โครงงานน้ำตะไคร้
โครงงานน้ำตะไคร้โครงงานน้ำตะไคร้
โครงงานน้ำตะไคร้satam14
 
2562 final-project pongpat-40
2562 final-project pongpat-402562 final-project pongpat-40
2562 final-project pongpat-40ssuserc41687
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมminddy Supicha
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานKanin Thejasa
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์jedsadakorn hongthong
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานSuphawit Rai
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานSuphawit Rai
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานSuphawit Rai
 

Similar to 2562 final-project 03-610 (20)

เต้นะไอสาส
เต้นะไอสาสเต้นะไอสาส
เต้นะไอสาส
 
เต้นะไอสาส
เต้นะไอสาสเต้นะไอสาส
เต้นะไอสาส
 
Aomp
AompAomp
Aomp
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (1)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
คอมแพท
คอมแพทคอมแพท
คอมแพท
 
โครงงานน้ำตะไคร้
โครงงานน้ำตะไคร้โครงงานน้ำตะไคร้
โครงงานน้ำตะไคร้
 
2559 project
2559 project2559 project
2559 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2562 final-project 14
2562 final-project 142562 final-project 14
2562 final-project 14
 
Stinky feet
Stinky feetStinky feet
Stinky feet
 
2562 final-project pongpat-40
2562 final-project pongpat-402562 final-project pongpat-40
2562 final-project pongpat-40
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
20
2020
20
 

More from pleng.mu

กิจกรรมที่3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 โครงงานคอมพิวเตอร์pleng.mu
 
กิจกรรมที่ 2 Presentation (แก้)
กิจกรรมที่ 2 Presentation (แก้)กิจกรรมที่ 2 Presentation (แก้)
กิจกรรมที่ 2 Presentation (แก้)pleng.mu
 
2562 final-project no.20-610
2562 final-project no.20-6102562 final-project no.20-610
2562 final-project no.20-610pleng.mu
 
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์pleng.mu
 
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์pleng.mu
 
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์pleng.mu
 
2562 final-project no.38
2562 final-project no.382562 final-project no.38
2562 final-project no.38pleng.mu
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project pleng.mu
 

More from pleng.mu (10)

กิจกรรมที่3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 2 Presentation (แก้)
กิจกรรมที่ 2 Presentation (แก้)กิจกรรมที่ 2 Presentation (แก้)
กิจกรรมที่ 2 Presentation (แก้)
 
2562 final-project no.20-610
2562 final-project no.20-6102562 final-project no.20-610
2562 final-project no.20-610
 
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project no.38
2562 final-project no.382562 final-project no.38
2562 final-project no.38
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
Project1
Project1Project1
Project1
 

2562 final-project 03-610

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน เรื่องน่ารู้ของครีมกันแดด ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นายเจตนิพัทธ์ พุ่มจาปา เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1 นายเจตนิพัทธ์ พุ่มจาปา เลขที่ 3 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) เรื่องน่ารู้ของครีมกันแดด ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) sunscreen spf 50 pa+++ ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน : นายเจตนิพัทธ์ พุ่มจาปา ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ปัจจุบันมีการผลิตเครื่องสาอางค์หลากหลายชนิดหลายรูปแบบให้ผู้บริโภคได้เลือกซื้อเลือกใช้ เพื่อดูแลบารุงผิวพรรณของตัวเอง หนึ่งในนั้นก็มีครีมกันแดดที่หลายคนต้องพกติดกระเป๋าไว้ เพื่อ ปกป้องผิวพรรณจากแสงแดดที่เต็มไปด้วยรังสีUVซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ผิวเป็นอย่างมาก แต่หลาย คนก็หารู้ไม่ว่าครีมกันแดดที่เราเห็นตามท้องตลาดทั่วไปนั้นมีหลายสูตร ซึ่งแต่ละสูตรก็ใช้ปกป้องผิว จากรังสีที่แตกต่างกันไป ตัวการสาคัญในการทาลายผิวของเรานั้นคือรังสี UV หลายคนอาจจะสงสัย ว่าครีมกันแดดตัวไหนใช้กันแดดยังไงบ้าง ตัวไหนจะสามารถใช้กันรังสี UV ได้มากเท่าใดเมื่อผิวของ เราได้รับแสงแดด โดยเฉพาะแสงแดดที่แรงมากขึ้นทุก ๆ ปีในบ้านเรา เซลล์ผิวหนังก็จะสร้างเม็ดสีเม ลานินเพิ่มมากขึ้น จนทาให้ผิวหนังมีสีคล้าขึ้น และบางคนอาจเกิดปัญหาฝ้า กระ ตามมา ถ้าได้รับ แสงแดดจัดมาก ๆ ก็อาจทาให้เกิดอาการแดงหรืออาการถูกแดดเผาได้ นอกจากนี้รังสี อัลตราไวโอเลตหรือรังสียูวีในแสงแดดยังอาจทาให้เกิดโรคมะเร็งผิวหนังได้อีกด้วย หลายคนอาจจะ ยังไม่ทราบถึงคุณค่าที่สาคัญของครีมกันแดดอย่างแท้จริง แต่เนื่องด้วยอุณหภูมิโลกที่สูงขึ้น ทาให้ แสงแดดในสมัยปัจจุบันมีความอันตรายมากยิ่งขึ้น จึงเป็นเหตุผลที่ผู้จัดทาโครงงานตัดสินใจเลือกทาโครงงานหัวข้อนี้ เพราะไม่เพียงแต่ผู้จัดทา โครงงานจะได้รับความรู้แต่เพียงเท่านั้น ผู้จัดทายังสามารถเผยแพร่ความรู้ต่อผู้อื่นได้
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อข้อมูลที่เป็นประโยชน์มากขึ้น 2.เข้าใจความหมายของครีมกันแดดได้ลึกซึ้งมากขึ้น 3.รู้จักเลือกซื้อครีมกันแดดได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) การสร้างความเข้าใจและให้ความรู้ว่าครีมกันแดดนั้นคืออะไรและไม่ได้มีเพียงสูตรเดียวอย่างที่ทุกคน เข้าใจ ซึ่งแต่ละสูตรก็มีจุดประสงค์การปกป้องผิวที่แตกต่างกันไป หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ครีมกันแดด (Sunscreen) คือ สารที่ช่วยปกป้องผิวจากรังสีอัลตราไวโอเลตหรือรังสียูวี (Ultraviolet Radiation: UV) โดยช่วยให้ผิวไม่ถูกแสงแดดทาลายจนไหม้หรือเกิดจุดด่างดาต่าง ๆ รวมทั้งลดโอกาสเสี่ยงเป็นมะเร็งผิวหนัง ส่วนผสมที่อยู่ในครีมกันแดดจะช่วยปกป้องผิวด้วยวิธีต่าง ๆ ทั้งดูดซับรังสีอัลตราไวโอเลต ปกป้องชั้นผิวที่อยู่ลึก หรือสะท้อนรังสีอัลตราไวโอเลตกลับออกไป ทั้งนี้ ครีมกันแดดมีให้เลือกใช้หลากหลายรูปแบบ ได้แก่ โลชั่น ครีม ขี้ผึ้ง หรือสเปรย์ ครีมกันแดดจะมีค่าป้องกันแสงแดดหรือค่า SPF (Sun-Protection Factor: SPF) ระบุไว้บน ผลิตภัณฑ์ โดยค่า SPF คือตัวเลขที่ใช้บอกระดับการปกป้องผิวจากแสงแดด ตัวเลขที่ต่างกันนั้น ประเมินจากการป้องกันรังสียูวีบีว่าป้องกันได้มากกว่าปกติกี่เท่า อย่างไรก็ตาม ค่า SPF ไม่ได้แสดง ประสิทธิภาพของการป้องกันรังสียูวีเอ เช่น ผู้ที่ไม่ได้ทาครีมกันแดดจะมีผิวหนังแดงหลังตากแดดเป็น เวลา 15 นาที ส่วนผู้ที่ใช้ครีมกันแดดที่ค่า SPF 30 จะเกิดอาการดังกล่าวหลังตากแดดเป็นเวลา 450 นาที โดยคิดจากเวลาปกติที่ผิวหนังทนต่อแสงแดดได้คูณกับค่า SPF ที่ปกป้องผิวจากแสงแดดได้มาก ถึง 30 เท่า นอกจากนี้ การปกป้องผิวจากแสงแดดขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ได้แก่ ระยะเวลาที่ออก แดด ช่วงเวลาที่ออกแดด สภาพแวดล้อม ฤดูกาล และอากาศ อีกทั้งยังมีระดับความแรงของ แสงแดด การเสียดสีสัมผัส เหงื่อ หรือน้า ซึ่งอาจทาให้ประสิทธิภาพของค่า SPF ในครีมกันแดดที่ใช้ ทาจริงต่ากว่าค่าที่ได้จากห้องทดลอง ผู้ที่ใช้ครีมกันแดดจึงควรเลี่ยงอยู่กลางแจ้งที่มีแดดจ้าเป็น เวลานาน และต้องทาครีมกันแดดซ้าอยู่เสมอ หรือทาซ้าทุก 2-4 ชั่วโมง ชนิดของรังสียูวี แสงแดดที่แทรกชั้นบรรยากาศลงมาถึงโลกของเราได้นั้น จะมีรังสีแสงแดดที่มีผลต่อผิวหนังอย่างมาก ซึ่งจะแบ่งเป็น 3 ช่วงคลื่นใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือ ช่วงคลื่นระหว่าง 320-400 นาโนเมตร (คลื่นยาว) เราจะเรียกกันว่า รังสี UVA ซึ่งเป็นรังสีที่สามารถ แทรกซอนถึงผิวชั้นลึก ๆ หรือผิวหนังชั้นล่างได้ ทาลายเนื้อเยื่อและดีเอ็นเอของเซลล์ผิว (สามารถ ทะลุผ่านเมฆและกระจกได้ด้วย) โดยเป็นตัวทาลายคอลลาเจนและความชุ่มชื้นของผิวหนัง ทาให้ผิว
  • 4. 4 แห้งจนเกิดริ้วรอยลึกหรือผิวเหี่ยวย่น (++++), ทาให้เกิดฝ้า กระ (+++), มะเร็งผิวหนัง (++) และผิว หมองคล้า (+) ช่วงคลื่นระหว่าง 290-320 นาโนเมตร (คลื่นกลาง) เราจะเรียกกันว่า รังสี UVB เป็นรังสีสามารถทะลุ ได้ถึงชั้นหนังกาพร้าเท่านั้น จึงทาให้ผิวหนังแดงหรือผิวไหม้แดด ซึ่งเป็นตัวการหลักทาให้สีผิวของเรา หมองคล้า หรือที่เราเรียกว่า "แดดเผา" (++++), เป็นมะเร็งผิวหนัง (+++), ทาให้เกิดริ้วรอย (++) และปัญหาฝ้า กระ (+) ช่วงคลื่นระหว่าง 200-290 นาโนเมตร (คลื่นสั้น) เราจะเรียกกันว่า รังสี UVC ซึ่งในปัจจุบันยังส่องมา ที่พื้นโลกได้ไม่มากนัก เพราะเกือบทั้งหมดถูกกรองไปแล้วโดยชั้นบรรยากาศโอโซนที่ห่อหุ้มโลกของ เราอยู่ จึงทาให้ไม่มีผลิตภัณฑ์สาหรับการป้องกันรังสีชนิดนี้ ค่า PA ในการป้องกันรังสี UVA PA หรือ Protection Grade of UVA เป็นค่าที่แสดงถึงคุณสมบัติในการปกป้องผิวจากรังสียูวีเอ (UVA) ส่วนเครื่องเครื่องหมาย + ที่ตามหลังนั้นคือค่าความสามารถในการปกป้องผิว โดยวัดเป็นเท่า ของการเกิดผิวคล้าดา (Skin pigmentation) โดยค่า PA จะมีอยู่ด้วยกัน 3 ระดับ ดังนี้ PA+ สามารถป้องกันรังสี UVA ได้ 1-4 เท่าของผิวปกติ หรือป้องกันได้น้อย PA++ สามารถป้องกันรังสี UVA ได้ 4-8 เท่าของผิวปกติ หรือป้องกันได้ปานกลาง (ทางานในร่ม) PA+++ สามารถป้องกันรังสี UVA ได้ 8-16 เท่า หรือป้องกันได้มาก (ทางานกลางแดด) PA++++ สามารถป้องกันรังสี UVA ได้ 16 เท่าขึ้นไป หรือป้องกันได้สูงมาก (ทางานกลางแดด ตลอดเวลา) ค่า PA เป็นค่าที่ประเทศญี่ปุ่นคิดขึ้น ไม่ใช่ค่าสากล ดังนั้นครีมกันแดดบางยี่ห้อของต่างประเทศจึง ไม่ได้ระบุค่า PA มาให้ แต่จะบอกถึงสารที่ใส่มาซึ่งสามารถป้องกันรังสี UVA ได้ เช่น avobenzone, zinc oxide, titanium dioxide เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม ค่า PA ก็ถือเป็นค่าที่มีความสาคัญไม่แพ้ค่า SPF เลยล่ะ เพราะมีผลการทดลองที่ แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของประสิทธิภาพในการปกป้องผิวระหว่างการทาครีมกันแดดที่มีค่า SPF เพียงอย่างเดียว กับการทาครีมกันแดดที่มีทั้งค่า SPF และ PA ผลการทดลองพบว่า ครีมกันแดด ที่มีทั้ง SPF และ PA สามารถช่วยปกป้องผิวไม่ให้คล้าเสียได้มากกว่าครีมกันแดดที่มีค่า SPF เพียง อย่างเดียวอย่างเห็นได้ชัด (ระดับความไหม้ของผิวหนังต่างกันมาก) ค่า SPF ในการป้องกันรังสี UVB ค่าประสิทธิภาพในการป้องกันรังสียูวีบี (UVB) เราจะเรียกว่า SPF (Sun Protection Factor) แต่ถ้า จะพูดให้เข้าใจง่าย ๆ “ค่า SPF ก็คือ ค่าความสามารถในการป้องกันรังสี UVB ไม่ให้เกิดอาการแดง ของผิวหนัง” ซึ่งการจะคานวณระยะเวลาในการป้องกันรังสี UVB จะต้องดูพื้นผิวของเราเป็นหลัก ซึ่งผิวแต่ละคนจะมีระยะเวลาในการป้องกันไม่เท่ากันอยู่แล้ว อย่างเช่น คนผิวขาวเมื่อตากแดดไป เพียง 10 นาที ผิวก็จะเริ่มแดง แต่อย่างคนทั่วไปที่มีผิวสองสีจะต้องใช้เวลาตากแดด 15 นาที ผิวถึง จะเริ่มแดง หรือถ้าเป็นคนผิวสีเข้มหรือผิวดา ก็อาจจะต้องตากแดดนานถึง 30 นาที ผิวถึงจะเริ่มแดง เป็นต้น ส่วนค่าตัวเลขหลัง SPF ที่ระบุไว้ อย่าง SPF 30 นั้นจะหมายถึง “การใช้ระยะเวลานานกว่า 30 เท่า ของเวลาที่ทาให้ผิวแดงเมื่อเปรียบเทียบกับตอนที่เรายังไม่ได้ทาครีมกันแดด” เช่น ถ้าเราอาบแดดใน
  • 5. 5 หน้าร้อนโดยไม่ได้ทาครีมกันแดดแล้วผิวจะเริ่มแดงในเวลา 10 นาที หมายความว่า SPF 30 จะ สามารถป้องกันไม่ให้ผิวแดงได้นาน 300 นาที (5 ชั่วโมง) ดังนั้นหลังจาก 300 นาที ถ้าเรายังต้องโดน แสงแดดอยู่ ก็จาเป็นต้องทาครีมกันแดดซ้าด้วยครับ แต่จากหลักการข้างต้นนี้เป็นเพียงการอธิบายถึง เวลาที่ต่อเนื่องเท่านั้น (เพื่อให้เข้าใจได้ง่าย) ทาให้หลาย ๆ คนยังเข้าใจผิดคิดว่าหากถูกรังสียูวีใน ระยะเวลาที่น้อยกว่านี้ผิวคงไม่เป็นไร ! ทางที่ดีคุณควรคิดใหม่ว่า "แม้ปริมาณรังสียูวีที่ได้รับจะเป็น เพียงแค่ 1 ใน 15 ของระยะเวลาในการปกป้องจากครีมกันแดด แต่ก็ไม่ได้หมายความจะทาให้ อิทธิพลจากรังสียูวีเป็นศูนย์" อีกทั้งตัวเลขเหล่านี้ก็เป็นตัวเลขที่ได้มาจากการคานวณเท่าคร่าว ๆ นั้น เมื่อนามาใช้จริง ๆ ก็อาจจะ เกิดความคลาดเคลื่อนได้บ้างพอสมควร ด้วยสาเหตุหลายประการ โดยเฉพาะปริมาณของครีมกัน แดดที่เราใช้ทา ซึ่งถ้าจะให้ได้รับการป้องกันของค่า SPF ตามที่ระบุไว้ในฉลาก เราก็ต้องทาครีมกัน แดดมากถึง 2 มิลลิกรัมต่อเนื้อที่ผิวหนัง 1 ตารางเซนติเมตร แต่ในชีวิตจริงเรามักทากันไม่ถึงขนาด นั้นหรอกครับ ประสิทธิภาพที่บอกไว้ก็อาจจะลดลง 30-50% เช่น จากตัวเลข 5 ชั่ว ก็อาจจะเหลือแค่ 2-3 ชั่วโมง เป็นต้น ในปัจจุบันนี้การวัดค่า SPF จากปริมาณแสงแดดที่น้อยที่สุดที่ทาให้เกิดอาการแดงที่ผิวหนัง จะเป็น การสังเกตด้วยตาเป็นหลัก จึงอาจทาให้ค่าที่วัดได้ไม่เที่ยงตรงเท่าที่ควร เพราะจากการศึกษาพบว่า ปริมาณแสงที่น้อยกว่านี้อาจทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผิวหนังและมีการทาลายเซลล์ของผิวหนังไป แล้ว ซึ่งในอนาคตอาจต้องมีการวัดการทาลายผิวหนังของแสงแดดอาการแดงที่เห็นได้ด้วยตา เช่น การดูลักษณะของเซลล์ผิวหนังที่เปลี่ยนไปจากการไหม้แดด, การดูลักษณะของเส้นใยอีลาสตินที่ เปลี่ยนรูปร่าง, การลดลงของจานวน Langerhans cell ซึ่งเป็นเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิต้านทาน เป็นต้น นอกจากนี้ ค่า SPF ยิ่งสูงก็ยิ่งแสดงว่าครีมกันแดดนั้นมีประสิทธิภาพในการป้องกันรังสียูวีได้มากขึ้น ด้วย ดังนี้ SPF 2 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 50% SPF 4 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 75% SPF 6 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 80% SPF 8 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 87.5% SPF 10 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 80% SPF 15 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 93.3% SPF 20 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 95% SPF 25 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 96% SPF 30 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 96.7% SPF 45 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 97.8% SPF 50 ป้องกันแสงแดด UVB ได้ 98% ประเภทของครีมกันแดด ครีมกันแดดชนิดเคมี (Chemical sunscreen) เป็นครีมกันแดดที่มีส่วนผสมของสารเคมีที่ทาหน้าที่ใน การปกป้องแสงแดด ด้วยการดูดซับรังสีเข้าผิวหนังแล้วเปลี่ยนเป็นความร้อน เพื่อป้องกันไม่ให้แสง
  • 6. 6 ผ่านลงในชั้นผิวหนังได้ (เนื้อครีมจะเป็นข้น ๆ น้านมเหมือนเนื้อครีมทั่วไป ซึมซับได้ง่าย) ซึ่งหลังจาก โดนแดดสักพัก สารเคมีเหล่านี้ก็จะเสื่อมสภาพ นั่นจึงเป็นสาเหตุที่เราต้องทาครีมกันแดดทุก ๆ 2-3 ชั่วโมง สารป้องกันแดดประเภทนี้บางชนิดจะดูดซับได้เฉพาะรังสี UVA หรือ UVB หรือทั้งสองอย่าง สารเคมีที่ใช้ผสมในครีมกันแดด คือ Panimate O, Bensophenone, Cinnamates, Antranilate, Homosalate และ Oxybenzene ซึ่งครีมกันแดดที่มีส่วนผสมของสารเคมีในปริมาณมาก อาจทาให้ เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนังได้ง่ายขึ้นด้วย โดยเฉพาะกับคนที่มีผิวแพ้ง่าย ครีมกันแดดชนิดกายภาพ (Physical sunscreen) จะมีส่วนผสมของสารที่สามารถสะท้อนรังสี UVA และ UVB ที่ตกกระทบให้ออกไปจากผิวหนังได้ ซึ่งสารในกลุ่มนี้จะมีผลระคายเคืองต่อผิวหนังน้อย กว่าสารในกลุ่มแรก แต่ข้อเสียของครีมกันแดดประเภทนี้คือจะไม่สามารถให้ค่า SPF ที่สูงได้ เนื้อครีม จะไม่ละเอียดมากนักหรืออาจเป็นขุยหน่อย ๆ คล้ายกับมีแป้งผสมเพราะเป็นเหมือนรองพื้นในตัวได้ ด้วย และเมื่อนามาทาบนผิวหนังแล้วจะทาให้ดูวอกหรือดูขาวมากจนเกินไป (เนื่องจากสารจะเคลือบ บนผิวหนังชั้นบนเพื่อรอแสงมากระทบ จึงมีการดูดซึมสู่ผิวน้อย) อีกทั้งยังล้างออกได้ยากอีกด้วย ครีมกันแดดชนิดผสม (Chemical-Physical sunscreen) เป็นแบบผสมที่ช่วยเสริมข้อดีและลด ข้อด้อยในแต่ละส่วน นั่นคือ ลดการระคายเคืองต่อผิวหนังจากสารเคมี ลดความขาวเมื่อทาครีม และ ช่วยเสริมประสิทธิภาพในการป้องกันแสงแดดร่วมกัน วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน : นาข้อมูลที่จัดทาไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นทุกเพศทุกวัย เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ : notebook , microsoft word
  • 7. 7 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลำ ดับ ที่ ขั้นตอน สัปดำห์ที่ ผู้รับผิด ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทา เอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.สามารถเลือกซื้อครีมกันแดดใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากอันตรายของรังสีUVลดลง 3.เกิดความรู้และความเข้าใจในทางที่ถูกต้อง สถานที่ดาเนินการ : โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://www.pobpad.com/%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0% B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%94%E0%B8%94- %E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B 9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2