SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
• ภาษาปาสคาล เรียกโปรแกรมย่อยว่า Procedure ซึ่งเป็นโปรแกรม
เล็ก ๆ ภายในโปรแกรมใหญ่ทั้งหมด แต่โปรแกรมหลักจะมีความเป็น
อิสระในตัวเอง ส่วน Procedure จะเป็นอิสระและจบในตัวเอง แต่จะถูก
เรียกใช้จากโปรแกรมหลัก หรือ Procedure อื่น ๆ
• ประโยชน์ของการใช้โปรแกรมย่อย
– สามารถสร้างเป็นชุดคาสั่งใหม่ เก็บไว้ใน Library
– สร้างโปรแกรมย่อยเพื่อใช้กับงานที่ทาซ้าๆกัน เพื่อประหยัดเวลา
ในการเขียนโปรแกรม
– ง่ายต่อการแก้ไข (Debug) และ Maintainโปรแกรม
– ง่ายต่อการออกแบบโปรแกรม แบบ Top-Down Design
การเขียนโปรแกรมแบบโปรแกรมย่อย
• การเรียกใช้ Procedure จากโปรแกรมหลัก ทาได้โดยการเรียกชื่อ
ของ Procedure โดยถือว่า Procedureเป็นคาสั่ง ๆ หนึ่ง เช่น ถ้า
โปรแกรมใหญ่มี Procedure yyy; ในโปรแกรมหลักจะ
เรียกใช้ Procedure ได้โดยใช้คาสั่งภายในโปรแกรมหลักว่า yyy;
โปรแกรมย่อย Sub
เป็นโปรแกรมย่อยที่ไม่มีการส่งค่ากลับมา
[Private | Public] Sub <ชื่อของโปแกรมย่อย> (พารามิเตอร์ที่ส่งมา)
' ชุดคาสั่ง
[Exit Sub]
End Sub
การเขียนโปรแกรมแบบโปรแกรมย่อย
* Private หรือ Public เป็นการประกาศขอบเขตว่าต้องการให้
โปรแกรมย่อยนี้ มีขอบเขตอยู่ในเฉพาะในโมดูลนี้ หรือทุกโมดูลใน
โปรเจ็กต์
* Exit Sub จะทาให้ออกจากโปรแกรมย่อยทันที
* End Sub เป็นคาสั่งที่บอกว่าจบการทางานของโปรแกรมย่อยนี้
การเขียนโปรแกรมแบบโปรแกรมย่อย
โปรแกรมย่อย Functin
เป็นโปรแกรมย่อยที่มีการส่งค่ากลับมา
[Private | Public] Functin <ชื่อของโปรแกรมย่อย> (พารามิเตอร์ที่ส่งมา) As Type
' ชุดคาสั่ง
[Exit Function]
End Function
การเขียนโปรแกรมแบบโปรแกรมย่อย
* Private หรือ Public เป็นการประกาศขอบเขตว่าต้องการให้โปรแกรม
ย่อยนี้ มีขอบเขตอยู่ในเฉพาะในโมดูลนี้ หรือทุกโมดูลในโปรเจ็กต์
* Exit Function เป็นคาสั่งให้ออกจากโปรแกรมย่อยทันที
* End Function เป็นคาสั่งที่บอกว่าจบการทางานของโปรแกรม
ย่อยนี้
* As Type ใช้กาหนดชนิดข้อมูลที่ฟังก์ชันส่งกลับมาให้
โปรแกรมหลัก
การเขียนโปรแกรมแบบโปรแกรมย่อย
ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard
functions)
• เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ใน header
file ภาษา C คือเก็บไว้ในแฟ้ มที่มีนามสกุล *.h ต่าง ๆ เมื่อต้องการใช้
ฟังก์ชันใด จะต้องรู้ว่าฟังก์ชันนั้นอยู่ใน header file ใดจากนั้นจึงค่อยใช้
คาสั่ง #include<header file.h> เข้ามาในส่วนตอนต้นของโปรแกรม
จึงจะสามารถใช้ฟังก์ชันที่ต้องการได้ ซึ่งฟังก์ชันมาตรฐานเป็นฟังก์ชันที่
บริษัทผู้ผลิต C compiler เขียนขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้นาไปช่วยในการเขียน
โปรแกรมทาให้การเขียนโปรแกรมสะดวกและง่ายขึ้น บางครั้งเรา
อาจจะเรียกฟังก์ชันมาตรฐานว่า ”ไลบรารีฟังก์ชัน” (library
functions)
• ฟังก์ชันมาตรฐาน คือ ฟังก์ชันที่ผู้ใช้สามารถเรียกใช้งานจากไลบรารี่
ของภาษาซีได้ทันที เช่น ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเกี่ยวกับ
สตริง ฟังก์ชันเกี่ยวกับการเปรียบเทียบ ฟังก์ชันเกี่ยวกับการแสดงผล
และฟังก์ชันเกี่ยวกับวันเวลา เป็นต้น โดยจะเรียกไลบรารี่ผ่านคาสั่ง
#include แล้วตามด้วยชื่อของไลบรารี่นั้น ๆ ในส่วนของ header
directive ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard
functions)
ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard
functions)
2.1ไลบรารี่ (library) stdio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มี
ฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
2.1.1 ฟังก์ชัน printf() ใช้ในการแสดงผลข้อมูล
2.1.2 ฟังก์ชัน Scanf() ใช้ในการรับข้อมูล
2.2 ไลบรารี่ (library) conio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้
ดังนี้
2.1.1 ฟังก์ชัน getchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยการกด Enter
2.1.2 ฟังก์ชัน getche() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยไม่ต้องกด Enter
2.1.3 ฟังก์ชัน getch() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระไม่ปรากฏให้เห็นในการรับ
ข้อมูล
2.1.4 ฟังก์ชัน putchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระออกทางจอภาพ
2.1.5 ฟังก์ชัน clrscr() ใช้ในการลบจอภาพ
ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard
functions)
2.3 ไลบรารี่ (library) string.h เกี่ยวกับข้อความ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
2.3.1 ฟังก์ชัน strlen() ใช้ในการนับความยาวของอักขระที่รับเข้ามา
2.3.2 ฟังก์ชัน strcpy() ใช้ในการทาสาเนาข้อความจากข้อความหนึ่งไปยัง
อีกข้อความหนึ่ง
2.3.3 ฟังก์ชัน strcmp () ใช้ในการเปรียบเทียบข้อความ 2 ข้อความ
2.3.4 ฟังก์ชัน strcal() ใช้ในการเชื่อมตั้งแต่ 2 ข้อความเข้าด้วยกัน
ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard
functions)
2.4 ไลบรารี่ (library)marth.h เกี่ยวกับทางคณิตศาสตร์ มี
ฟังก์ชันที่ใช้ ดังนี้
2.4.1 ฟังก์ชัน sqrt() ใช้ในการหาราก (root) ที่สองของเลขจานวนเต็ม
2.4.2 ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า ex (Exponential)
2.4.3 ฟังก์ชัน pow(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xy
2.4.4 ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า sine ของ x
2.4.5 ฟังก์ชัน cos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า cosine ของ x
ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard
functions)
2.4.6 ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า tan ของ x
2.4.7 ฟังก์ชัน log(n) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน n
2.4.8 ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน 10
2.4.9 ฟังก์ชัน ceil(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าปัดเศษทศนิยมของตัวแปร x
2.4.10ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร x
2.4.11 ฟังก์ชัน fabs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสมบูรณ์ (absolute value) x
ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard
functions)
2.5 ไลบรารี่ (library) ctype.h เกี่ยวกับตัวอักษร มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
2.5.1 ฟังก์ชัน isalnum(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรมี
ค่าเป็น ตัวอักษรหรือตัวเลข
2.5.2 ฟังก์ชัน isalpha(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรมีค่า
เป็นตัวอักษรหรือไม่
2.5.3 ฟังก์ชัน isdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็น
ตัวเลข 0 ถึง 9 หรือไม่
2.5.4 ฟังก์ชัน islower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็น
ตัวเล็กหรือไม่
ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard
functions)
2.5.5 ฟังก์ชัน isupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่
ในตัวแปรเป็นตัวใหญ่หรือไม่
2.5.6 ฟังก์ชัน tolowre(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวอักษรตัว
ใหญ่ให้เป็นตัวเล็ก
2.5.7 ฟังก์ชัน toupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวอักษรตัว
เล็กให้เป็นตัวใหญ่
ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard
functions)
2.6 ไลบรารี่ (library) stdlib.h เกี่ยวกับการแปลงค่า string มี
ฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
2.6.1 ฟังก์ชัน atoi(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ
(string) เป็นตัวเลขจานวนเต็ม (integer)
2.6.2 ฟังก์ชัน atof(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ
(string) เป็นตัวเลขจานวนทศนิยม( flot)
2.6.3 ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ
(string) เป็นตัวเลขจานวนเต็ม (integer) ชนิด long integer
ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard
functions)
2.7 ไลบรารี่ (library) dos.h เกี่ยวกับการติดต่อระบบปฏิบัติการ มี
ฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
2.7.1 ฟังก์ชัน gettime() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อเวลาของ
ระบบปฏิบัติการ
2.7.2 ฟังก์ชัน getdate() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อวันที่ของ
ระบบปฏิบัติการ
ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard
functions)
ศึกษาการใช้โปรแกรมย่อย
ในการสร้างโปรกรมย่อยใน VB.NET จะต้องวางโปรแกรมย่อยใน
ไฟล์ Module
1. คลิกเมาส์ ปุ่มขวาที่โปรเจ็กต์ เลือกเมนู Add > Add Module
2. ใส่ชื่อไฟล์ที่ต้องการ ที่มีนามสกุลเป็น .vb
ศึกษาการใช้โปรแกรมย่อย
Module ประกอบด้วยคาสั่ง Module...End Module
ศึกษาการใช้โปรแกรมย่อย
การทางานกับโปรแกรมย่อย
* การสร้างโปรแกรมย่อย
1. พิมพ์ส่วนหัวของโปรแกรมย่อยลงในหน้าต่าง Code Editor
จากนั้นกด Enter
ศึกษาการใช้โปรแกรมย่อย
2. จะปรากฎข้อความ End Sub ของโปรแกรมย่อยนั้น จากนั้นพิมพ์
คาสั่งสร้างโปรแกรมย่อย
ศึกษาการใช้โปรแกรมย่อย
การแสดงหรือแก้ไขคาสั่งที่อยู่ในโปรแกรมย่อย
1. เลือกคลาสที่จะประกาศโปรแกรมย่อย จากรายการ Object
ListBox (เลือก Module1)
2. เลือกชื่อโปรแกรมย่อยที่ต้องการ จากรายการ Procedure
ListBox (เลือก MyFunction)
3. VB.NET จะแสดงโปรแกรมย่อยที่เลือก
ศึกษาการใช้โปรแกรมย่อย
ศึกษาการใช้โปรแกรมย่อย
โปรแกรมตัวอย่าง แสดงการใช้งาน
ฟังก์ชัน isalnum(ch),isalpha(ch) และ isdigit(ch)
ศึกษาการใช้ฟังก์ชันมาตรฐาน
ศึกษาการใช้ฟังก์ชันมาตรฐาน
ศึกษาการใช้ฟังก์ชันมาตรฐาน
แสดงการใช้งานฟังก์ชัน islower(ch), isupper(ch),
tolower(ch) และ toupper(ch)
ศึกษาการใช้ฟังก์ชันมาตรฐาน
ศึกษาการใช้ฟังก์ชันมาตรฐาน
ศึกษาการใช้ฟังก์ชันมาตรฐาน
นางสาวจุฑามาศ ผาคา เลขที่ 11
นางสาวชนิดา ศรีจีนพงษ์ เลขที่ 12
นางสาวพรชนก เจริญพานิช เลขที่ 13
นางสาวธนัชพร คามะนา เลขที่ 17
นางสาวประภาพร เนียมหอม เลขที่ 18
นางสาวชาลินี รักสม เลขที่ 32
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2

More Related Content

What's hot

4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซีmansuang1978
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1Chay Nyx
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมguestc3a629f6
 
สแตกและคิว (Stack & queue)
สแตกและคิว (Stack & queue)สแตกและคิว (Stack & queue)
สแตกและคิว (Stack & queue)tumetr
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Mook Prapasson
 
แสตก
แสตกแสตก
แสตกNu_waew
 
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูลteedee111
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1prapassonmook
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงOnpreeya Sahnguansak
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานWorapod Khomkham
 
Reference :: Java :: เต็ม
 Reference :: Java :: เต็ม Reference :: Java :: เต็ม
Reference :: Java :: เต็มJitti Nut
 
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)tumetr
 

What's hot (19)

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
Python101
Python101Python101
Python101
 
Lab intro-5-1
Lab intro-5-1Lab intro-5-1
Lab intro-5-1
 
งานทำ Blog บทที่ 9
งานทำ Blog บทที่ 9งานทำ Blog บทที่ 9
งานทำ Blog บทที่ 9
 
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
 
7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
 
สแตกและคิว (Stack & queue)
สแตกและคิว (Stack & queue)สแตกและคิว (Stack & queue)
สแตกและคิว (Stack & queue)
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แสตก
แสตกแสตก
แสตก
 
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
 
Reference :: Java :: เต็ม
 Reference :: Java :: เต็ม Reference :: Java :: เต็ม
Reference :: Java :: เต็ม
 
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
 

Viewers also liked

Beeing social Credentials June 2016
Beeing social Credentials June 2016Beeing social Credentials June 2016
Beeing social Credentials June 2016Yash Gokhale
 
Leveraging Social Media - Strategies & Tactics - PostRank
Leveraging Social Media - Strategies & Tactics - PostRankLeveraging Social Media - Strategies & Tactics - PostRank
Leveraging Social Media - Strategies & Tactics - PostRankIlya Grigorik
 
Inovacao para sustentabilidade
Inovacao para sustentabilidadeInovacao para sustentabilidade
Inovacao para sustentabilidadeBandeirante Brazmo
 
El problema de la migración en italia
El problema de la migración en italiaEl problema de la migración en italia
El problema de la migración en italiaEomir
 
Doc sec guia_abordar_trastornos_sexuales
Doc sec guia_abordar_trastornos_sexualesDoc sec guia_abordar_trastornos_sexuales
Doc sec guia_abordar_trastornos_sexualesJLi Ceron Barron
 
Bab i hand tools up load
Bab i hand tools up loadBab i hand tools up load
Bab i hand tools up loadSuhari Suhari
 
สไลด์ โลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f29-4page
สไลด์  โลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f29-4pageสไลด์  โลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f29-4page
สไลด์ โลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f29-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศ
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศ
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศคุณครู กดชะกอน
 
Analisis perancangan sistem bengkel ramayana
Analisis perancangan sistem bengkel ramayanaAnalisis perancangan sistem bengkel ramayana
Analisis perancangan sistem bengkel ramayanapipin ibnu faqih
 
ใบความรู้+พืชไร้ดอก+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f15-4page
ใบความรู้+พืชไร้ดอก+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f15-4pageใบความรู้+พืชไร้ดอก+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f15-4page
ใบความรู้+พืชไร้ดอก+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f15-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
Les claus del disseny visual (resum)
Les claus del disseny visual (resum)Les claus del disseny visual (resum)
Les claus del disseny visual (resum)gerard vilanova
 
i-vtec engine technology
i-vtec engine technologyi-vtec engine technology
i-vtec engine technologyRahul Soni
 
Normas upel resumen_grupob
Normas upel resumen_grupobNormas upel resumen_grupob
Normas upel resumen_grupobcarmin cortez
 

Viewers also liked (17)

Beeing social Credentials June 2016
Beeing social Credentials June 2016Beeing social Credentials June 2016
Beeing social Credentials June 2016
 
Leveraging Social Media - Strategies & Tactics - PostRank
Leveraging Social Media - Strategies & Tactics - PostRankLeveraging Social Media - Strategies & Tactics - PostRank
Leveraging Social Media - Strategies & Tactics - PostRank
 
Inovacao para sustentabilidade
Inovacao para sustentabilidadeInovacao para sustentabilidade
Inovacao para sustentabilidade
 
El problema de la migración en italia
El problema de la migración en italiaEl problema de la migración en italia
El problema de la migración en italia
 
Doc sec guia_abordar_trastornos_sexuales
Doc sec guia_abordar_trastornos_sexualesDoc sec guia_abordar_trastornos_sexuales
Doc sec guia_abordar_trastornos_sexuales
 
Perfil - Bandeirante Brazmo
Perfil - Bandeirante BrazmoPerfil - Bandeirante Brazmo
Perfil - Bandeirante Brazmo
 
Company profile
Company profileCompany profile
Company profile
 
Bab i hand tools up load
Bab i hand tools up loadBab i hand tools up load
Bab i hand tools up load
 
สไลด์ โลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f29-4page
สไลด์  โลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f29-4pageสไลด์  โลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f29-4page
สไลด์ โลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ป.2+439+dltvsocp2+55t2soc p02 f29-4page
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศ
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศ
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์บรรยากาศ
 
Analisis perancangan sistem bengkel ramayana
Analisis perancangan sistem bengkel ramayanaAnalisis perancangan sistem bengkel ramayana
Analisis perancangan sistem bengkel ramayana
 
ใบความรู้+พืชไร้ดอก+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f15-4page
ใบความรู้+พืชไร้ดอก+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f15-4pageใบความรู้+พืชไร้ดอก+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f15-4page
ใบความรู้+พืชไร้ดอก+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f15-4page
 
T 7. el adverbio
T 7. el adverbioT 7. el adverbio
T 7. el adverbio
 
Normas UPEL
Normas UPELNormas UPEL
Normas UPEL
 
Les claus del disseny visual (resum)
Les claus del disseny visual (resum)Les claus del disseny visual (resum)
Les claus del disseny visual (resum)
 
i-vtec engine technology
i-vtec engine technologyi-vtec engine technology
i-vtec engine technology
 
Normas upel resumen_grupob
Normas upel resumen_grupobNormas upel resumen_grupob
Normas upel resumen_grupob
 

Similar to โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานF'olk Worawoot
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมIce Ice
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)Boonwiset Seaho
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1Latcha MaMiew
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซีMorn Suwanno
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7Know Mastikate
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1nitchakan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
Java-Chapter 06 File Operations
Java-Chapter 06 File OperationsJava-Chapter 06 File Operations
Java-Chapter 06 File OperationsWongyos Keardsri
 

Similar to โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน (20)

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอม
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน. (1)
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
Unix Operation System
Unix Operation SystemUnix Operation System
Unix Operation System
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
Mindmapping
MindmappingMindmapping
Mindmapping
 
Mindmapping
MindmappingMindmapping
Mindmapping
 
กลุ่ม6
กลุ่ม6กลุ่ม6
กลุ่ม6
 
Java-Chapter 06 File Operations
Java-Chapter 06 File OperationsJava-Chapter 06 File Operations
Java-Chapter 06 File Operations
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน

  • 1.
  • 2. • ภาษาปาสคาล เรียกโปรแกรมย่อยว่า Procedure ซึ่งเป็นโปรแกรม เล็ก ๆ ภายในโปรแกรมใหญ่ทั้งหมด แต่โปรแกรมหลักจะมีความเป็น อิสระในตัวเอง ส่วน Procedure จะเป็นอิสระและจบในตัวเอง แต่จะถูก เรียกใช้จากโปรแกรมหลัก หรือ Procedure อื่น ๆ
  • 3. • ประโยชน์ของการใช้โปรแกรมย่อย – สามารถสร้างเป็นชุดคาสั่งใหม่ เก็บไว้ใน Library – สร้างโปรแกรมย่อยเพื่อใช้กับงานที่ทาซ้าๆกัน เพื่อประหยัดเวลา ในการเขียนโปรแกรม – ง่ายต่อการแก้ไข (Debug) และ Maintainโปรแกรม – ง่ายต่อการออกแบบโปรแกรม แบบ Top-Down Design
  • 4. การเขียนโปรแกรมแบบโปรแกรมย่อย • การเรียกใช้ Procedure จากโปรแกรมหลัก ทาได้โดยการเรียกชื่อ ของ Procedure โดยถือว่า Procedureเป็นคาสั่ง ๆ หนึ่ง เช่น ถ้า โปรแกรมใหญ่มี Procedure yyy; ในโปรแกรมหลักจะ เรียกใช้ Procedure ได้โดยใช้คาสั่งภายในโปรแกรมหลักว่า yyy;
  • 5. โปรแกรมย่อย Sub เป็นโปรแกรมย่อยที่ไม่มีการส่งค่ากลับมา [Private | Public] Sub <ชื่อของโปแกรมย่อย> (พารามิเตอร์ที่ส่งมา) ' ชุดคาสั่ง [Exit Sub] End Sub การเขียนโปรแกรมแบบโปรแกรมย่อย
  • 6. * Private หรือ Public เป็นการประกาศขอบเขตว่าต้องการให้ โปรแกรมย่อยนี้ มีขอบเขตอยู่ในเฉพาะในโมดูลนี้ หรือทุกโมดูลใน โปรเจ็กต์ * Exit Sub จะทาให้ออกจากโปรแกรมย่อยทันที * End Sub เป็นคาสั่งที่บอกว่าจบการทางานของโปรแกรมย่อยนี้ การเขียนโปรแกรมแบบโปรแกรมย่อย
  • 7. โปรแกรมย่อย Functin เป็นโปรแกรมย่อยที่มีการส่งค่ากลับมา [Private | Public] Functin <ชื่อของโปรแกรมย่อย> (พารามิเตอร์ที่ส่งมา) As Type ' ชุดคาสั่ง [Exit Function] End Function การเขียนโปรแกรมแบบโปรแกรมย่อย
  • 8. * Private หรือ Public เป็นการประกาศขอบเขตว่าต้องการให้โปรแกรม ย่อยนี้ มีขอบเขตอยู่ในเฉพาะในโมดูลนี้ หรือทุกโมดูลในโปรเจ็กต์ * Exit Function เป็นคาสั่งให้ออกจากโปรแกรมย่อยทันที * End Function เป็นคาสั่งที่บอกว่าจบการทางานของโปรแกรม ย่อยนี้ * As Type ใช้กาหนดชนิดข้อมูลที่ฟังก์ชันส่งกลับมาให้ โปรแกรมหลัก การเขียนโปรแกรมแบบโปรแกรมย่อย
  • 9. ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard functions) • เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ใน header file ภาษา C คือเก็บไว้ในแฟ้ มที่มีนามสกุล *.h ต่าง ๆ เมื่อต้องการใช้ ฟังก์ชันใด จะต้องรู้ว่าฟังก์ชันนั้นอยู่ใน header file ใดจากนั้นจึงค่อยใช้ คาสั่ง #include<header file.h> เข้ามาในส่วนตอนต้นของโปรแกรม จึงจะสามารถใช้ฟังก์ชันที่ต้องการได้ ซึ่งฟังก์ชันมาตรฐานเป็นฟังก์ชันที่ บริษัทผู้ผลิต C compiler เขียนขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้นาไปช่วยในการเขียน โปรแกรมทาให้การเขียนโปรแกรมสะดวกและง่ายขึ้น บางครั้งเรา อาจจะเรียกฟังก์ชันมาตรฐานว่า ”ไลบรารีฟังก์ชัน” (library functions)
  • 10. • ฟังก์ชันมาตรฐาน คือ ฟังก์ชันที่ผู้ใช้สามารถเรียกใช้งานจากไลบรารี่ ของภาษาซีได้ทันที เช่น ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเกี่ยวกับ สตริง ฟังก์ชันเกี่ยวกับการเปรียบเทียบ ฟังก์ชันเกี่ยวกับการแสดงผล และฟังก์ชันเกี่ยวกับวันเวลา เป็นต้น โดยจะเรียกไลบรารี่ผ่านคาสั่ง #include แล้วตามด้วยชื่อของไลบรารี่นั้น ๆ ในส่วนของ header directive ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard functions)
  • 11. ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard functions) 2.1ไลบรารี่ (library) stdio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มี ฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ 2.1.1 ฟังก์ชัน printf() ใช้ในการแสดงผลข้อมูล 2.1.2 ฟังก์ชัน Scanf() ใช้ในการรับข้อมูล
  • 12. 2.2 ไลบรารี่ (library) conio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้ ดังนี้ 2.1.1 ฟังก์ชัน getchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยการกด Enter 2.1.2 ฟังก์ชัน getche() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยไม่ต้องกด Enter 2.1.3 ฟังก์ชัน getch() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระไม่ปรากฏให้เห็นในการรับ ข้อมูล 2.1.4 ฟังก์ชัน putchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระออกทางจอภาพ 2.1.5 ฟังก์ชัน clrscr() ใช้ในการลบจอภาพ ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard functions)
  • 13. 2.3 ไลบรารี่ (library) string.h เกี่ยวกับข้อความ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ 2.3.1 ฟังก์ชัน strlen() ใช้ในการนับความยาวของอักขระที่รับเข้ามา 2.3.2 ฟังก์ชัน strcpy() ใช้ในการทาสาเนาข้อความจากข้อความหนึ่งไปยัง อีกข้อความหนึ่ง 2.3.3 ฟังก์ชัน strcmp () ใช้ในการเปรียบเทียบข้อความ 2 ข้อความ 2.3.4 ฟังก์ชัน strcal() ใช้ในการเชื่อมตั้งแต่ 2 ข้อความเข้าด้วยกัน ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard functions)
  • 14. 2.4 ไลบรารี่ (library)marth.h เกี่ยวกับทางคณิตศาสตร์ มี ฟังก์ชันที่ใช้ ดังนี้ 2.4.1 ฟังก์ชัน sqrt() ใช้ในการหาราก (root) ที่สองของเลขจานวนเต็ม 2.4.2 ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า ex (Exponential) 2.4.3 ฟังก์ชัน pow(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xy 2.4.4 ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า sine ของ x 2.4.5 ฟังก์ชัน cos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า cosine ของ x ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard functions)
  • 15. 2.4.6 ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า tan ของ x 2.4.7 ฟังก์ชัน log(n) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน n 2.4.8 ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน 10 2.4.9 ฟังก์ชัน ceil(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าปัดเศษทศนิยมของตัวแปร x 2.4.10ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร x 2.4.11 ฟังก์ชัน fabs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสมบูรณ์ (absolute value) x ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard functions)
  • 16. 2.5 ไลบรารี่ (library) ctype.h เกี่ยวกับตัวอักษร มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ 2.5.1 ฟังก์ชัน isalnum(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรมี ค่าเป็น ตัวอักษรหรือตัวเลข 2.5.2 ฟังก์ชัน isalpha(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรมีค่า เป็นตัวอักษรหรือไม่ 2.5.3 ฟังก์ชัน isdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็น ตัวเลข 0 ถึง 9 หรือไม่ 2.5.4 ฟังก์ชัน islower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็น ตัวเล็กหรือไม่ ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard functions)
  • 17. 2.5.5 ฟังก์ชัน isupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ ในตัวแปรเป็นตัวใหญ่หรือไม่ 2.5.6 ฟังก์ชัน tolowre(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวอักษรตัว ใหญ่ให้เป็นตัวเล็ก 2.5.7 ฟังก์ชัน toupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวอักษรตัว เล็กให้เป็นตัวใหญ่ ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard functions)
  • 18. 2.6 ไลบรารี่ (library) stdlib.h เกี่ยวกับการแปลงค่า string มี ฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ 2.6.1 ฟังก์ชัน atoi(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็นตัวเลขจานวนเต็ม (integer) 2.6.2 ฟังก์ชัน atof(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็นตัวเลขจานวนทศนิยม( flot) 2.6.3 ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็นตัวเลขจานวนเต็ม (integer) ชนิด long integer ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard functions)
  • 19. 2.7 ไลบรารี่ (library) dos.h เกี่ยวกับการติดต่อระบบปฏิบัติการ มี ฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ 2.7.1 ฟังก์ชัน gettime() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อเวลาของ ระบบปฏิบัติการ 2.7.2 ฟังก์ชัน getdate() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อวันที่ของ ระบบปฏิบัติการ ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard functions)
  • 22. Module ประกอบด้วยคาสั่ง Module...End Module ศึกษาการใช้โปรแกรมย่อย
  • 24. 2. จะปรากฎข้อความ End Sub ของโปรแกรมย่อยนั้น จากนั้นพิมพ์ คาสั่งสร้างโปรแกรมย่อย ศึกษาการใช้โปรแกรมย่อย
  • 25. การแสดงหรือแก้ไขคาสั่งที่อยู่ในโปรแกรมย่อย 1. เลือกคลาสที่จะประกาศโปรแกรมย่อย จากรายการ Object ListBox (เลือก Module1) 2. เลือกชื่อโปรแกรมย่อยที่ต้องการ จากรายการ Procedure ListBox (เลือก MyFunction) 3. VB.NET จะแสดงโปรแกรมย่อยที่เลือก ศึกษาการใช้โปรแกรมย่อย
  • 27. โปรแกรมตัวอย่าง แสดงการใช้งาน ฟังก์ชัน isalnum(ch),isalpha(ch) และ isdigit(ch) ศึกษาการใช้ฟังก์ชันมาตรฐาน
  • 30. แสดงการใช้งานฟังก์ชัน islower(ch), isupper(ch), tolower(ch) และ toupper(ch) ศึกษาการใช้ฟังก์ชันมาตรฐาน
  • 33. นางสาวจุฑามาศ ผาคา เลขที่ 11 นางสาวชนิดา ศรีจีนพงษ์ เลขที่ 12 นางสาวพรชนก เจริญพานิช เลขที่ 13 นางสาวธนัชพร คามะนา เลขที่ 17 นางสาวประภาพร เนียมหอม เลขที่ 18 นางสาวชาลินี รักสม เลขที่ 32 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2