SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
การเขียนโปรแกรมแบบโปรแกรมย่อย
วัตถุประสงค์ของการสร้างโปรแกรมย่อย
1. เป็นส่วนโปรแกรมที่ใช้ซ้ากันในหลาย ๆ แห่ง และจะแยกออกมาทาเป็น
โปรแกรมย่อย
2. เป็นคาที่สร้างขึ้นใหม่ เพื่อเก็บไว้ใช้ต่อไป
3. เมื่อต้องการเขียนโปรแกรมเป็น Module จุดประสงค์ของการเขียน
โปรแกรมเป็น Module ก็เพื่อตรวจหาที่ผิดได้ง่าย ดังนั้น โปรแกรมย่อยหนึ่ง ๆ
ก็คือ Module ๆ หนึ่ง
4. เพื่อสนองความต้องการของการเขียนโปรแกรมจากบนลงล่าง
ประเภทของโปรแกรมย่อย (Procedure) เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม มีหน้าที่เฉพาะตัว
โดยแยกการทางานออกจาก โปรแกรมอย่างอิสระการเขียนโปรแกรมที่มีการทางานแบบ
โปรแกรมย่อยจะช่วยลดความซับซ้อนของโปรแกรม ซึ่งจะทาให้สามารถแก้ไขและเพิ่มเติม
การทางานของโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ในบางครั้งโปรแกรมหลักจะมีการส่งข้อมูลไปทางานใน
โปรแกรมย่อยด้วย โดยข้อมูลนั้นจะเก็บอยู่ในรูป ตัวแปรพิเศษเรียกว่า พารามิเตอร์
Visual Basic 2008 สามารแบ่งโปรแกรมย่อยได้ 2 ประเภท คือ
• Sub มาจากคาเต็มว่า ซับรูทีน (Subroutine) เป็นโปรแกรมย่อยเมื่อทางานแล้ว จะ
ไม่มีการส่งผลการทางานกลับไปยังโปรแกรม ที่เรียกซับรูทีนนี้ใช้งาน
• Function เป็นโปรแกรมย่อยเมื่อทางานเสร็จแล้ว จะต้องมีการส่งผลการทางาน
กลับไปยังโปรแกรมที่เรียกฟังก์ชันนี้ใช้งาน
ในที่นี้ผู้เรียกใช้Sub หรือ Function จะเป็นตัวโปรแกรมหลัก หรือโปรแกรมย่อยอื่นๆก็
ได้
การใช้ฟังก์ชันมาตรฐานภาษาซี
ฟังก์ชันในภาษา C โดยจะประกอบไปด้วยเนื้อหาหลัก ๆ คือ เรื่องที่หนึ่ง ฟังก์ชันมาตรฐาน เป็น
ฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ใน header file ภาษา C คือเก็บไว้
ในแฟ้มที่มีนามสกุล *.h ต่าง ๆ ส่วนเรื่องที่สอง เป็นฟังก์ชันที่เขียนขึ้นหรือเรียกอีกอย่างว่า
โปรแกรมย่อย ที่ผู้เขียนโปรแกรมเขียนขึ้นมาใช้งานอย่างใดอย่างหนึ่งตามความต้องการของงานนั้น
ๆ เช่น ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ (mathematic functions)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้สาหรับการคานวณทางคณิตศาสตร์ และก่อนที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ จะต้องใช้
คาสั่ง #include <math.h> แทรกอยู่ตอนต้นของโปรแกรม และตัวแปรที่จะใช้ฟังก์ชัน
ประเภทนี้จะต้องมีชนิด (type) เป็น double เนื่องจากผลลัพธ์ที่ได้จากฟังก์ชันประเภทนี้จะ
ได้ค่าส่งกลับของข้อมูลเป็น double เช่นกัน
กรณีศึกษาการใช้โปรแกรมย่อย
1. พิมพ์ส่วนหัวของโปรแกรมย่อยลงในหน้าต่าง Code Editor จากนั้นกด
Enter
2. จะปรากฎข้อความ End Sub ของโปรแกรมย่อยนั้น จากนั้นพิมพ์คาสั่งสร้าง
โปรแกรมย่อย
การแสดงหรือแก้ไขคาสั่งที่อยู่ในโปรแกรมย่อย
1. เลือกคลาสที่จะประกาศโปรแกรมย่อย จากรายการ Object ListBox
(เลือก Module1)
2. เลือกชื่อโปรแกรมย่อยที่ต้องการ จากรายการ Procedure ListBox
(เลือก MyFunction)
3. VB.NET จะแสดงโปรแกรมย่อยที่เลือก
กรณีศึกษาการใช้ฟังก์ชันมาตรฐาน
ฟังก์ชันมาตรฐาน (Standard Function)
ฟังก์ชันมาตรฐาน คือ ฟังก์ชันที่ผู้ใช้สามารถเรียกใช้งานจากไลบรารี่
ของภาษาซีได้ทันที เช่น ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง ฟังก์ชัน
เกี่ยวกับการเปรียบเทียบ ฟังก์ชันเกี่ยวกับการแสดงผล และฟังก์ชันเกี่ยวกับวัน
เวลา เป็นต้น โดยจะเรียกไลบรารี่ผ่านคาสั่ง #include แล้วตามด้วยชื่อของ
ไลบรารี่นั้น ๆ ในส่วนของ header directive ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
2.1ไลบรารี่ (library) stdio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
• ฟังก์ชัน printf() ใช้ในการแสดงผลข้อมูล
• ฟังก์ชัน Scanf() ใช้ในการรับข้อมูล
2.2 ไลบรารี่ (library) conio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
• ฟังก์ชัน getchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยการกด Enter
• ฟังก์ชัน getche() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยไม่ต้องกด Enter
• ฟังก์ชัน getch() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระไม่ปรากฏให้เห็นในการรับข้อมูล
• ฟังก์ชัน putchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระออกทางจอภาพ
• ฟังก์ชัน clrscr() ใช้ในการลบจอภาพ
2.3 ไลบรารี่ (library) string.h เกี่ยวกับข้อความ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
• ฟังก์ชัน strlen() ใช้ในการนับความยาวของอักขระที่รับเข้ามา
• ฟังก์ชัน strcpy() ใช้ในการทาสาเนาข้อความจากข้อความหนึ่งไปยังอีกข้อความหนึ่ง
• ฟังก์ชัน strcmp () ใช้ในการเปรียบเทียบข้อความ 2 ข้อความ
• ฟังก์ชัน strcal() ใช้ในการเชื่อมตั้งแต่ 2 ข้อความเข้าด้วยกัน
2.4 ไลบรารี่ (library)marth.h เกี่ยวกับทางคณิตศาสตร์ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
• ฟังก์ชัน sqrt() ใช้ในการหาราก (root) ที่สองของเลขจานวนเต็ม
• ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า ex (Exponential)
• ฟังก์ชัน pow(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xy
• ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า sine ของ x
• ฟังก์ชัน cos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า cosine ของ x
• ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า tan ของ x
• ฟังก์ชัน log(n) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน n
• ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน 10
• ฟังก์ชัน ceil(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าปัดเศษทศนิยมของตัวแปรx
• ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร x
• ฟังก์ชัน fabs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสมบูรณ์ (absolute value) x
2.5 ไลบรารี่ (library) ctype.h เกี่ยวกับตัวอักษร มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
• ฟังก์ชัน isalnum(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรมีค่าเป็น
ตัวอักษรหรือตัวเลข
• ฟังก์ชัน isalpha(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรมีค่าเป็น
ตัวอักษรหรือไม่
• ฟังก์ชัน isdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวเลข 0 ถึง
9 หรือไม่
• ฟังก์ชัน islower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวเล็ก
หรือไม่
• ฟังก์ชัน isupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวใหญ่
หรือไม่
• ฟังก์ชัน tolowre(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวอักษรตัวใหญ่ให้เป็นตัวเล็ก
• ฟังก์ชัน toupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กให้เป็นตัวใหญ่
2.6 ไลบรารี่ (library) stdlib.h เกี่ยวกับการแปลงค่า string มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
• ฟังก์ชัน atoi(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็นตัวเลขจานวน
เต็ม (integer)
• ฟังก์ชัน atof(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็นตัวเลขจานวน
ทศนิยม( flot)
• ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็นตัวเลขจานวน
เต็ม (integer) ชนิด long integer
2.7 ไลบรารี่ (library) dos.h เกี่ยวกับการติดต่อระบบปฏิบัติการ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
• ฟังก์ชัน gettime() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อเวลาของระบบปฏิบัติการ
• ฟังก์ชัน getdate() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อวันที่ของระบบปฏิบัติการ
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

การเริ่มใช้งานExcel
การเริ่มใช้งานExcelการเริ่มใช้งานExcel
การเริ่มใช้งานExcelKrongkaew kumpet
 
Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5Nuth Otanasap
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมIce Ice
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปpeter dontoom
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 3.docx
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 3.docxระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 3.docx
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 3.docxBuraparThailand
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1ninewnilubon
 
E library
E libraryE library
E libraryangsuma
 
Java-Chapter 06 File Operations
Java-Chapter 06 File OperationsJava-Chapter 06 File Operations
Java-Chapter 06 File OperationsWongyos Keardsri
 

What's hot (15)

การจัดการโปรเซส
การจัดการโปรเซสการจัดการโปรเซส
การจัดการโปรเซส
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การเริ่มใช้งานExcel
การเริ่มใช้งานExcelการเริ่มใช้งานExcel
การเริ่มใช้งานExcel
 
Ch06th
Ch06thCh06th
Ch06th
 
Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5Operating System Chapter 5
Operating System Chapter 5
 
Ch09th
Ch09thCh09th
Ch09th
 
Ch07ath
Ch07athCh07ath
Ch07ath
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอม
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 3.docx
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 3.docxระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 3.docx
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น บทที่ 3.docx
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
E library
E libraryE library
E library
 
Open Source Health Library System
Open Source Health Library SystemOpen Source Health Library System
Open Source Health Library System
 
53011220085
5301122008553011220085
53011220085
 
Java-Chapter 06 File Operations
Java-Chapter 06 File OperationsJava-Chapter 06 File Operations
Java-Chapter 06 File Operations
 

Similar to กลุ่ม6

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน...
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน...โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน...
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน...Monnapa Insang
 
ใบความรู้เขียนโปรแกรม
ใบความรู้เขียนโปรแกรมใบความรู้เขียนโปรแกรม
ใบความรู้เขียนโปรแกรมPhijittra Klintan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2SubLt Masu
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานPrapatsorn Keawnoun
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซีMorn Suwanno
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาmee_suwita
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาmarkno339
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlopPor Kung
 
Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4Nuth Otanasap
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr rubtumproject.com
 

Similar to กลุ่ม6 (20)

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน...
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน...โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน...
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน...
 
ใบความรู้เขียนโปรแกรม
ใบความรู้เขียนโปรแกรมใบความรู้เขียนโปรแกรม
ใบความรู้เขียนโปรแกรม
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
Mindmapping
MindmappingMindmapping
Mindmapping
 
Mindmapping
MindmappingMindmapping
Mindmapping
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
mind map
mind map mind map
mind map
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr
 

กลุ่ม6

  • 1.
  • 2. การเขียนโปรแกรมแบบโปรแกรมย่อย วัตถุประสงค์ของการสร้างโปรแกรมย่อย 1. เป็นส่วนโปรแกรมที่ใช้ซ้ากันในหลาย ๆ แห่ง และจะแยกออกมาทาเป็น โปรแกรมย่อย 2. เป็นคาที่สร้างขึ้นใหม่ เพื่อเก็บไว้ใช้ต่อไป 3. เมื่อต้องการเขียนโปรแกรมเป็น Module จุดประสงค์ของการเขียน โปรแกรมเป็น Module ก็เพื่อตรวจหาที่ผิดได้ง่าย ดังนั้น โปรแกรมย่อยหนึ่ง ๆ ก็คือ Module ๆ หนึ่ง 4. เพื่อสนองความต้องการของการเขียนโปรแกรมจากบนลงล่าง
  • 3. ประเภทของโปรแกรมย่อย (Procedure) เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม มีหน้าที่เฉพาะตัว โดยแยกการทางานออกจาก โปรแกรมอย่างอิสระการเขียนโปรแกรมที่มีการทางานแบบ โปรแกรมย่อยจะช่วยลดความซับซ้อนของโปรแกรม ซึ่งจะทาให้สามารถแก้ไขและเพิ่มเติม การทางานของโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ในบางครั้งโปรแกรมหลักจะมีการส่งข้อมูลไปทางานใน โปรแกรมย่อยด้วย โดยข้อมูลนั้นจะเก็บอยู่ในรูป ตัวแปรพิเศษเรียกว่า พารามิเตอร์ Visual Basic 2008 สามารแบ่งโปรแกรมย่อยได้ 2 ประเภท คือ • Sub มาจากคาเต็มว่า ซับรูทีน (Subroutine) เป็นโปรแกรมย่อยเมื่อทางานแล้ว จะ ไม่มีการส่งผลการทางานกลับไปยังโปรแกรม ที่เรียกซับรูทีนนี้ใช้งาน • Function เป็นโปรแกรมย่อยเมื่อทางานเสร็จแล้ว จะต้องมีการส่งผลการทางาน กลับไปยังโปรแกรมที่เรียกฟังก์ชันนี้ใช้งาน ในที่นี้ผู้เรียกใช้Sub หรือ Function จะเป็นตัวโปรแกรมหลัก หรือโปรแกรมย่อยอื่นๆก็ ได้
  • 4. การใช้ฟังก์ชันมาตรฐานภาษาซี ฟังก์ชันในภาษา C โดยจะประกอบไปด้วยเนื้อหาหลัก ๆ คือ เรื่องที่หนึ่ง ฟังก์ชันมาตรฐาน เป็น ฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ใน header file ภาษา C คือเก็บไว้ ในแฟ้มที่มีนามสกุล *.h ต่าง ๆ ส่วนเรื่องที่สอง เป็นฟังก์ชันที่เขียนขึ้นหรือเรียกอีกอย่างว่า โปรแกรมย่อย ที่ผู้เขียนโปรแกรมเขียนขึ้นมาใช้งานอย่างใดอย่างหนึ่งตามความต้องการของงานนั้น ๆ เช่น ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ (mathematic functions) เป็นฟังก์ชันที่ใช้สาหรับการคานวณทางคณิตศาสตร์ และก่อนที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ จะต้องใช้ คาสั่ง #include <math.h> แทรกอยู่ตอนต้นของโปรแกรม และตัวแปรที่จะใช้ฟังก์ชัน ประเภทนี้จะต้องมีชนิด (type) เป็น double เนื่องจากผลลัพธ์ที่ได้จากฟังก์ชันประเภทนี้จะ ได้ค่าส่งกลับของข้อมูลเป็น double เช่นกัน
  • 6. 2. จะปรากฎข้อความ End Sub ของโปรแกรมย่อยนั้น จากนั้นพิมพ์คาสั่งสร้าง โปรแกรมย่อย
  • 7. การแสดงหรือแก้ไขคาสั่งที่อยู่ในโปรแกรมย่อย 1. เลือกคลาสที่จะประกาศโปรแกรมย่อย จากรายการ Object ListBox (เลือก Module1) 2. เลือกชื่อโปรแกรมย่อยที่ต้องการ จากรายการ Procedure ListBox (เลือก MyFunction) 3. VB.NET จะแสดงโปรแกรมย่อยที่เลือก
  • 8. กรณีศึกษาการใช้ฟังก์ชันมาตรฐาน ฟังก์ชันมาตรฐาน (Standard Function) ฟังก์ชันมาตรฐาน คือ ฟังก์ชันที่ผู้ใช้สามารถเรียกใช้งานจากไลบรารี่ ของภาษาซีได้ทันที เช่น ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง ฟังก์ชัน เกี่ยวกับการเปรียบเทียบ ฟังก์ชันเกี่ยวกับการแสดงผล และฟังก์ชันเกี่ยวกับวัน เวลา เป็นต้น โดยจะเรียกไลบรารี่ผ่านคาสั่ง #include แล้วตามด้วยชื่อของ ไลบรารี่นั้น ๆ ในส่วนของ header directive ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
  • 9. 2.1ไลบรารี่ (library) stdio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ • ฟังก์ชัน printf() ใช้ในการแสดงผลข้อมูล • ฟังก์ชัน Scanf() ใช้ในการรับข้อมูล 2.2 ไลบรารี่ (library) conio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ • ฟังก์ชัน getchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยการกด Enter • ฟังก์ชัน getche() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยไม่ต้องกด Enter • ฟังก์ชัน getch() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระไม่ปรากฏให้เห็นในการรับข้อมูล • ฟังก์ชัน putchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระออกทางจอภาพ • ฟังก์ชัน clrscr() ใช้ในการลบจอภาพ 2.3 ไลบรารี่ (library) string.h เกี่ยวกับข้อความ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ • ฟังก์ชัน strlen() ใช้ในการนับความยาวของอักขระที่รับเข้ามา • ฟังก์ชัน strcpy() ใช้ในการทาสาเนาข้อความจากข้อความหนึ่งไปยังอีกข้อความหนึ่ง • ฟังก์ชัน strcmp () ใช้ในการเปรียบเทียบข้อความ 2 ข้อความ • ฟังก์ชัน strcal() ใช้ในการเชื่อมตั้งแต่ 2 ข้อความเข้าด้วยกัน
  • 10. 2.4 ไลบรารี่ (library)marth.h เกี่ยวกับทางคณิตศาสตร์ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ • ฟังก์ชัน sqrt() ใช้ในการหาราก (root) ที่สองของเลขจานวนเต็ม • ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า ex (Exponential) • ฟังก์ชัน pow(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xy • ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า sine ของ x • ฟังก์ชัน cos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า cosine ของ x • ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า tan ของ x • ฟังก์ชัน log(n) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน n • ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน 10 • ฟังก์ชัน ceil(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าปัดเศษทศนิยมของตัวแปรx • ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร x • ฟังก์ชัน fabs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสมบูรณ์ (absolute value) x
  • 11. 2.5 ไลบรารี่ (library) ctype.h เกี่ยวกับตัวอักษร มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ • ฟังก์ชัน isalnum(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรมีค่าเป็น ตัวอักษรหรือตัวเลข • ฟังก์ชัน isalpha(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรมีค่าเป็น ตัวอักษรหรือไม่ • ฟังก์ชัน isdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวเลข 0 ถึง 9 หรือไม่ • ฟังก์ชัน islower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวเล็ก หรือไม่ • ฟังก์ชัน isupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวใหญ่ หรือไม่ • ฟังก์ชัน tolowre(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวอักษรตัวใหญ่ให้เป็นตัวเล็ก • ฟังก์ชัน toupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กให้เป็นตัวใหญ่
  • 12. 2.6 ไลบรารี่ (library) stdlib.h เกี่ยวกับการแปลงค่า string มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ • ฟังก์ชัน atoi(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็นตัวเลขจานวน เต็ม (integer) • ฟังก์ชัน atof(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็นตัวเลขจานวน ทศนิยม( flot) • ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็นตัวเลขจานวน เต็ม (integer) ชนิด long integer 2.7 ไลบรารี่ (library) dos.h เกี่ยวกับการติดต่อระบบปฏิบัติการ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ • ฟังก์ชัน gettime() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อเวลาของระบบปฏิบัติการ • ฟังก์ชัน getdate() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อวันที่ของระบบปฏิบัติการ