SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ลักษณะคําที,มาจากภาษาต่างประเทศ
เมื%อคนไทยมีการติดต่อกับประเทศต่างๆ ทั;งทางด้านการค้า การสงครามการเมือง การศึกษา วรรณคดี ศาสนา วัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียมประเพณี และอื%นๆ ทําให้มีการรับภาษาต่างๆ มาใช้ในภาษาไทยด้วย เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษา
เขมร ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั%งเศส ภาษามาลายู ภาษาญี%ปุ่น เป็นต้นการยืมคําภาษาต่างประเทศ มาใช้ในภาษาไทยทําให้
ภาษามีการงอกงามและมีคําใช้ในการสื%อสารกันมากยิ%งขึ;น คําที%ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ มีดังนี:
๑. คําบาลีสันสกฤต
ภาษาไทยมีคําศัพท์ที%มีการปรุงแต่งมาจากภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาบาลี และภาษาสันสกฤตอยู่มาก ส่วนใหญ่จะใช้
เกี%ยวกับเรื%องศาสนา วรรณคดี วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีรวมทั;งใช้ในคําสุภาพและคําศัพท์ทั%วไป มีหลักการสังเกต ดังนี;
๑ ) เป็นคําที,มีหลายพยางค์ เช่น
บิดา มารดา ภรรยา กรุณา อนุเคราะห์
สถาปนา เมตตา นิทรา ปราโมทย์ ทนงศักดิW
พรรณทิวา กีฬา ฤษี พิสดาร เกษียณ
๒ ) ตัวสะกดมักมีตัวการันต์อยู่ด้วย เช่น
แม่กง > องค์ รงค์ สงฆ์ วงศ์ หงส์ ณรงค์
แม่กน > สวรรค์ มนต์ ทันต์
แม่กม > พิมพ์ อารมณ์ รื%นรมย์
แม่กก > ทุกข์ พักตร์
แม่กด > ฤทธิW พจน์ โจทย์
แม่กบ > กาพย์ กษาปณ์
๓ ) มีคําที,ประสมด้วยพยัญนะ ฆ , ฌ , ญ , ฎ , ฏ , ฒ , ณ , ธ , ภ , ศ , ษ , ฤ , ฬ
เช่น ฆาต , มัชฌิม , สัญญา , กุฎี , โกฏิ , วุฒิ , เณร , พุทธ , โลภ , เศรษฐี , ฤดู ,จุฬา เป็นต้น
๔ ) เป็นคําที,มีอักษรควบ คําบาลีสันสกฤต นิยมคําที,มีอักษรควบ
เช่น จักร บุตร เพชร เนตร ประสูติ ประโยชน์ ปณิธาน ปราโมทย์ ปรัชญา ประมาท ประกาศ ปรัชญา ประสูติ เป็น
ต้น
๕ ) คําบาลีไม่มีวรรณยุกต์และไม้ไต่คู้
๒. ภาษาเขมร
ภาษาเขมรเข้ามาสู่ประทศไทยโดยทางการค้า การสงคราม การเมืองและวัฒนธรรม คําที%มาจากภาษาเขมรส่วนใหญ่ที%พบ
มักใช้ในวรรณกรรม วรรณคดี คําราชาศัพท์ และใช้ในชีวิตประจําวัน มีหลักในการสังเกตดังนี;
๑ ) คําภาษาเขมรมักไม่มีวรรณยุกต์ ยกเว้น เสน่ง เขม่า เป็นต้น
๒ ) คําภาษาเขมรมักไม่ประวิสรรชนีย์ เช่น ลออ ผจง ผอบ ฉงน เป็นต้น
๓ ) มักใช้ ร ล ญ เป็นตัวสะกดในมาตรา แม่ กน เช่น
ขจร ขะ-จอน ร เหมือน น สะกด
กาล กาน ล เหมือน น สะกด
เจริญ จะ-เริน ญ เหมือน น สะกด
๔ ) มักใช้ จ ส เป็นตัวสะกดในมาตรา แม่ กด เช่น เสด็จ เผด็จ บําเหน็จ บังอาจ ตรัส จํารัส เป็นต้น
๕ ) มักเป็นคําควบกลํ;าและอักษรนํา เช่น กระจอก กระออม ขนาด ขลัง โขมด ตรอก เฉนียน เผด็จ เป็นต้น
๖ ) คําราชาศัพท์บางคํามาจากภาษาเขมร เช่น
คําราชาศัพท์ ความหมาย คําราชาศัพท์ ความหมาย
แกล หน้าต่าง ปับผาสะ ปอด
ขนง คิ;ว
๗ ) คําที%ขึ;นต้นด้วย บัง บัน บํา บรร มักมาจากภาษาเขมร เช่น
บันดาล บันได บันทึก บันเทิง บันลือ บันโดย บันโหย บันเดิน บันกวด บังเกิด บรรทัด
บรรทม บรรทัด บรรจุ บรรลุ บรรพต บรรเลง บรรพชา บรรหาร บรรทุก บําเพ็ญ บําราศ
บําเรอ บํานาญ บําเหน็จ บําบัด บําบวม บังคม บังเกิด บังอาจ บังเหียน บังคับ บังคล บังเหิน
๘ ) คําที%ขึ;นต้นด้วย กํา คํา จํา ชํา ดํา ตํา ทํา มักมาจากภาษาเขมร เช่น
ชื%อ......................นามสกุล................เลขที%........ชั;น................
กําเนิด กําหนด กําจร คํานับ จําเริญ จําเนียร ชํานาญ
ดําเนิน ดําริ ดํารง ตํารวจ ตํานาน ทํานาย ทําเนียม
๙ ) คําภาษาเขมรส่วนใหญ่มักแผลงคําได้ เช่น
เกิด > กําเนิด จ่าย > จําหน่าย
ครบ > คํารบ ชาญ > ชํานาญ
แจก > จําแนก ตรวจ > ตํารวจ
๓. ภาษาจีน
ภาษาจีนเข้าสู่ประเทศไทยโดยการติดต่อค้าขาย ลักษณะภาษาจีนและภาษาไทยมี คล้ายคลึงกัน เพราะเป็นภาษาคําโดดและ
มีเสียงวรรณยุกต์ โดยมากเป็นคํานามที%เป็นเรื%องของอาหารและเครื%องใช้
คําจีนที%นํามาใช้โดยมากใช้ตามสําเนียงเดิม จะมีเพี;ยนไปบ้างก็ไม่มาก พอฟังกันรู้เรื%อง เช่น เกาเหลา แป๊ ะซะ ก๋วยเตีrยว
เต้าหู้ เต้าส่วน พะโล้ กวยจัsบ จับฉ่าย บะฉ่อ เกีsยว ปุ้งกีr ตะหลิว บะหมี% เกีsยะ เป็นต้น
๔. ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษเข้ามาในภาษาไทย เนื%องจากความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีและการศึกษาในยุคที%ไร้พรมแดน ทําให้คน
ไทยเรียนรู้ภาษาอังกฤษมากขึ;น เช่น กราฟ กลูโคส กอล์ฟ คริสต์มาส เครดิต ( ชื%อเสียง ) เช็ค เชิ;ต โชว์ ชอล์ก เช็ค เชียร์ ซอส
ซีเมนต์ เซ็น เต็นท์ ทอฟฟี% บล็อก บรู๊ฟ ปลัsก พลาสติก ฟุลสแก๊ป ฟิล์ม ฟิวส์ แฟลต ไมโครเวฟ ไมโครโฟน ไมล์ ริบบิ;น ลิฟต์
เสิร์ฟ หรีด โหวด อิเล็กทรอนิกส์ โอลิมปิก ไอศกรีม ฮอกกี; เฮลิคอปเตอร์ เป็นต้น
๕. ภาษาชวา
ภาษาชวาเข้าปะปนในภาษาไทย เพราะอิทธิพลจากวรรณคดีเรื%องอิเหนา ซึ%งเป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศ
หล้านภาลัยเป็นที%รู้จักแพร่หลาย คนไทยจึงรู้จักภาษาชวา และนําภาษาชวามาใช้ในภาษาไทยมากขึ;น เช่น กระยาหงัน ( สวรรค์ ) กริช
โนรี ( นกแก้ว ) ซาหริ%ม ( ขนม ) ปั;นเหน่ง ( เข็มขัด) โดม ( สูง ) บุหงา ( ดอกไม้ ) บุหรง ( นกยูง ) บุหลัน ( ดวงจันทร์ ) ยาหยี
( น้องรัก ) ยี%หว่า ( ชีวิตจิตใจ ) ตุนาหงัน ( คู่หมั;น ) มะงุมมะงาหรา ช่าโบะ( ผ้าห่ม )
๖. ภาษาเปอร์เซีย เช่น กะลาสี ( ลูกเรือ ) กากี กาหลิน กุหลาบ จารบิ บัลกรี ยี%หร่า สักหลาด ชาร์ ( กษัตริย์ )
๗. ภาษาโปรตุเกส ภาษาโปรตุเกสเข้ามาในสมัยพระรามาธิบดีที% ๒ เช่น กะละมัง กะละแม ปิ%นโต เลหลัง สบู่ เหรียญ
แบบฝึกหัด
นักเรียนอ่านใบความรู้เรื,อง ลักษณะคําที,มาจากภาษาต่างประเทศ แล้วทําแบบฝึกหัดต่อไปนี:(ส่งในคาบ)
ตอนที, ๑ ให้นักเรียนอ่านบทความต่อไปนี:และหาคําต่างประเทศ พร้อมทั:งระบุว่ามาจากภาษาใด
ไยแพะต้องรับบาปด้วย
“แพะรับบาป” พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้อธิบายว่า เป็นสํานวน ซึ%งหมายถึงคนที%รับเคราะห์กรรมแทน
ผู้อื%นที%ทํากรรมนั;น ส่วนที%มาของสํานวนนี; พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์ครั;งที% ๒ (แก้ไขเพิ%มเติม) ได้
ระบุไว้ ดังนี;
ที%มาของคําว่า แพะรับบาป นี; ปรากฏในคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม ซึ%งเป็นคัมภีร์ของชาวอิสราเอลผู้มีภูมิหลังเป็นผู้มีอาชีพเลี;ยง
แพะ เลี;ยงแกะ แพะรับบาปเป็นพิธีปฏิบัติในวันลบบาปประจําปีของชาวอิสราเอล ซึ%งเริ%มต้นด้วยปุโรหิตถวายวัวเป็นเครื%องบูชาไถ่บาปของ
ตนเองและครอบครัว เมื%อเสร็จพิธีแล้ว ปุโรหิตจะนําแพะ ๒ ตัวไปถวายพระเป็นเจ้าที%ประตูเต็นท์นัดพบ และจับสลากเลือกแพะ ๒ ตัวนั;น
สลากที% ๑ เป็นสลากสําหรับแพะที%ถวายพระเป็นเจ้า อีกสลากหนึ%งเป็นสลากสําหรับแพะรับบาป หากสลากแรกตกแก่แพะตัวใด
แพะตัวนั;นจะถูกฆ่าและถวายเป็นเครื%องบูชาเพื%อไถ่บาปของประชาชน เรียกว่า “แพะรับบาป”
ส่วนสลากที% ๒ หากตกแก่แพะตัวใด แพะตัวนั;นเรียกว่า “แพะรับบาป” ซึ%งปุโรหิตจะถวายพระเป็นเจ้าทั;งยังมีชีวิตอยู่ แล้วใช้ทําพิธี
ลบบาปของประชาชน โดยยกบาปให้ตกที%แพะตัวนั;น เสร็จแล้วก็จะปล่อยแพะตัวนั;นให้นําบาปเข้าไปในป่าลึกจนแพะและบาปไม่สามารถ
กลับมาอีก
ส่วนในศาสนาฮินดู เซอร์มอเนียร์ วิลเลียมส์ สันนิษฐานว่า การฆ่ามนุษย์บูชายัญคงไม่เป็นที%ถูกอัธยาศัยพื;นฐานของพวกอารยัน
คัมภีร์พราหมณะจึงอธิบายว่าเทวดาฆ่ามนุษย์ ส่วนที%เหมาะสมจะใช้บูชายัญก็ออกไปจากมนุษย์เข้าสู่ร่างม้า ม้าจึงกลายเป็นสัตว์ที%
เหมาะสมจะใช้บูชายัญ เมื%อฆ่าม้า ส่วนที%เหมาะสมจะใช้บูชาก็ออกจากม้าไปเข้าร่างโค เมื%อฆ่าโค ส่วนที%เหมาะสมจะใช้บูชาก็ออกจากโค
ไปสู่แกะ จากแกะไปแพะ ส่วนที%เหมาะสมจะใช้บูชา คงอยู่ในตัวแพะนานที%สุด แพะจึงกลายเป็นสัตว์ที%เหมาะสมที%สุดสําหรับใช้ฆ่าบูชายัญ
คํา มาจากภาษา คํา มาจากภาษา
๑. ๑๑.
๒. ๑๒.
๓. ๑๓.
๔. ๑๔.
๕. ๑๕.
๖. ๑๖.
๗. ๑๗.
๘. ๑๘.
๙. ๑๙.
๑๐. ๒๐.
ตอนที, ๒ บอกสาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย อย่างน้อย ๕ ข้อ
๑...................................................................................................................................................................................
๒...................................................................................................................................................................................
๓...................................................................................................................................................................................
๔...................................................................................................................................................................................
๕...................................................................................................................................................................................
ตอนที% ๓ กากบาทข้อที%ถูกต้องที%สุดเพียงข้อเดียว
i) คําที,เกี,ยวข้องกับอาหารการกิน มักจะยืมมาจากภาษาใด
ก. ภาษาจีน ข. ภาษาเขมร
ค. ภาษาอังกฤษ ง.ภาษาชวา-มาลายู
๒) คําในข้อใดเป็นคําภาษาเขมร
ก.ปกติ ข. ประถม
ค. ศก ง. สัตถา
๓) ข้อใดเป็นลักษณะของคําภาษาจีนที,ใช้ในคําภาษาไทย
ก. ส่วนใหญ่เป็นเสียงสามัญ
ข. ไม่มีตัวสะกดแต่นิยมด้วยสระเสียงยาว
ค. พยัญชนะต้อนเป็นอักษรกลางมากกว่าอักษรอื%น
ง. ส่วนใหญ่เป็นคําพยางค์เดียว ไทยนํามาสร้างคําใหม่เป็นคํา
ประสม
๔) คําภาษาชวาเข้ามาในภาษาไทยพร้อมกับวรรณคดีเรื,องใด
ก. รามเกียรติW ข. ระเด่นลันได
ค. ลิลิตเพชรมงกุฎง. ดาหลังและอิเหนา
๕) ข้อใดเป็นภาษามลายู
ก. หมึก ข. สบง
ค. สลาตัน ง.จอง
๖) คํายืมทีมาจากภาษาอังกฤษเริ,มเข้ามาในสมัยใด
ก. รัชกาลที% y ข. รัชกาลที% z
ค. รัชกาลที% {-| ง. รัชกาลที% }-~
๗) คําทับศัพท์มีลักษณะอย่างไร
ก. ยืมมาปรับเปลี%ยนความหมาย
ข. ยืมมาใช้โดยไม่มีการปรับปรุงแก้ไข
ค. ยืมมาปรับเปลี%ยนโคลงสร้างของคํา
๑๑.ข้อใดมีคําที,มาจากภาษาต่างประเทศมากที,สุด
ก.จงเจริญชเยศด้วยเดชะ
ข.ปราชญ์แสดงดําริด้วยไตรยางศ์
ค.อ้าจอมจักรพรรดิผู้เพ็ญยศ
ง.บัณฑิตวินิจเลิศ แถลงสาร
๑๒.คําประพันธ์ต่อไปนี:มีคํายืมจากต่างประเทศรวมกี,คํา
“บํารุงบิดามา ตุระด้วยหทัยปรีย์ หากลูกและเมียมี ก็ถนอม
ประนึ,งตน”
ก.๕ คํา ข.๖ คํา
ค. ๗ คํา ง.๘ ตํา
๑๓.คําในข้อใดไม่มีคํายืมจากภาษาอังกฤษ
ก.กินจุบกินจิบ คือการให้ทิปแก่กิเลสความโลภ
ข.ต้มและรักษาความร้อนโดยอัตโนมัติ
ค.สัญลักษณ์ปลาทองสร้างจากเทคโนโลยีทศวรรษหน้า
ง.มีปลัsกระบบแม่เหล็ก ป้องกันอุบัติเหตุจากการสะดุดสายไฟ
๑๔. ข้อใดเป็นคําที,มาจากภาษาต่างประเทศทุกคํา
ก. เกาเหลา ข้าวเปล่า ข. บันได แก้วนํ;า
ค. ทุเรียน มะขาม ง. กัลปังหา กีตาร์
๑๕. ข้อใดเป็นคําที,มาจากภาษาอังกฤษทุกคํา
ก. คอนเสิร์ต แท็กซี% นอต ข. เกียร์ ดีเซล จับกัง
ค. ทีวี บัดกรี ชอล์ก ง. จาระบี เรดาห์ สักหลาด
๑๖. ข้อใดเป็นคําที,มาจากภาษาอังกฤษทุกคํา
ก. กงสุล คาเฟ่ แท็กซี% เทนนิส
ข. เรสเตอรองท์ บุฟเฟต์ บูเกต์ เบคอน
ค. ไวโอลิน เต็นท์ เกียร์ แบตเตอรี%
ง. ยืมมาปรับเปลี%ยนวิธีการออกเสียง
๘) ข้อใดเป็นคํายืมภาษาฝรั,งเศส
ก.บาทหลวง ข.หลา
ค.เมตร ง.สบู่
๙) คําในข้อใดเป็นภาษาเปอร์เซีย
ก. ฝรั%ง ข.ตะกั%ว
ค.อาจาด ง.กํามะหยี%
๑๐) คําในข้อใดเป็นคําไทยแท้ทุกคํา
ก. อวย ถนน จมูก
ข. ตะวัน กระโดด โปรด
ค. จังหวัด ลําเนา เพลา
ง. สะใภ้ ตะวัน มะพร้าว
ง. เนกไท เครดิต แคชเชียร์ โชเฟอร์
๑๗. ข้อใดใช้ภาษาต่างประเทศโดยไม่จําเป็น
ก. เมื%อไฟดับควรตรวจดูว่าเป็นเพราะฟิวส์ขาดหรือปลัsกหลุด
ข. เด็ก ๆ ชอบรับประทานไอศกรีมช็อกโกแลตมากกว่าไอศกรีม
กะทิสด
ค. ก่อนเข้าแบงก์ผู้ขับขี%รถจักรยานยนต์ต้องถอดหมวกกันน็อก
และแว่นตาดําออก
ง. นักกอล์ฟหลายคนอยากเปลี%ยนวงสวิงให้คล้ายกับไทเกอร์วูดส์
เพื%อให้ตีลูกได้แม่นและไกล
๑๘. ข้อใดเป็นคําที,มาจากภาษาจีนทุกคํา
ก. โบตัrน กุยช่าย เท็มปุระ ข. คะน้า ท้อ สึนามิ
ค. ก๋วยเตีrยว โจ๊ก โอเลี;ยง ง.จับเลี;ยง ซาโยนาระ โหวงเฮ้ง

More Related Content

What's hot

แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3Kansinee Kosirojhiran
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์Supaporn Khiewwan
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง KruBowbaro
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพพัน พัน
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5SAM RANGSAM
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6sapatchanook
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 

What's hot (20)

แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
มาตรแม่กก ป2
มาตรแม่กก ป2มาตรแม่กก ป2
มาตรแม่กก ป2
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 

Similar to ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ

IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ absinthe39
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยครูเจริญศรี
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์phornphan1111
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์phornphan1111
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
Kam
KamKam
Kamsa
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย rattasath
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
คำคมภาษาญี่ปุ่น
คำคมภาษาญี่ปุ่นคำคมภาษาญี่ปุ่น
คำคมภาษาญี่ปุ่นmasha199409
 
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมkrupanida sornkheang
 

Similar to ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ (20)

ระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอ
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
Kam
KamKam
Kam
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืมใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
 
ก.พ.57
ก.พ.57ก.พ.57
ก.พ.57
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
คำคมภาษาญี่ปุ่น
คำคมภาษาญี่ปุ่นคำคมภาษาญี่ปุ่น
คำคมภาษาญี่ปุ่น
 
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
 

ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ

  • 1. ลักษณะคําที,มาจากภาษาต่างประเทศ เมื%อคนไทยมีการติดต่อกับประเทศต่างๆ ทั;งทางด้านการค้า การสงครามการเมือง การศึกษา วรรณคดี ศาสนา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และอื%นๆ ทําให้มีการรับภาษาต่างๆ มาใช้ในภาษาไทยด้วย เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษา เขมร ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั%งเศส ภาษามาลายู ภาษาญี%ปุ่น เป็นต้นการยืมคําภาษาต่างประเทศ มาใช้ในภาษาไทยทําให้ ภาษามีการงอกงามและมีคําใช้ในการสื%อสารกันมากยิ%งขึ;น คําที%ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ มีดังนี: ๑. คําบาลีสันสกฤต ภาษาไทยมีคําศัพท์ที%มีการปรุงแต่งมาจากภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาบาลี และภาษาสันสกฤตอยู่มาก ส่วนใหญ่จะใช้ เกี%ยวกับเรื%องศาสนา วรรณคดี วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีรวมทั;งใช้ในคําสุภาพและคําศัพท์ทั%วไป มีหลักการสังเกต ดังนี; ๑ ) เป็นคําที,มีหลายพยางค์ เช่น บิดา มารดา ภรรยา กรุณา อนุเคราะห์ สถาปนา เมตตา นิทรา ปราโมทย์ ทนงศักดิW พรรณทิวา กีฬา ฤษี พิสดาร เกษียณ ๒ ) ตัวสะกดมักมีตัวการันต์อยู่ด้วย เช่น แม่กง > องค์ รงค์ สงฆ์ วงศ์ หงส์ ณรงค์ แม่กน > สวรรค์ มนต์ ทันต์ แม่กม > พิมพ์ อารมณ์ รื%นรมย์ แม่กก > ทุกข์ พักตร์ แม่กด > ฤทธิW พจน์ โจทย์ แม่กบ > กาพย์ กษาปณ์ ๓ ) มีคําที,ประสมด้วยพยัญนะ ฆ , ฌ , ญ , ฎ , ฏ , ฒ , ณ , ธ , ภ , ศ , ษ , ฤ , ฬ เช่น ฆาต , มัชฌิม , สัญญา , กุฎี , โกฏิ , วุฒิ , เณร , พุทธ , โลภ , เศรษฐี , ฤดู ,จุฬา เป็นต้น ๔ ) เป็นคําที,มีอักษรควบ คําบาลีสันสกฤต นิยมคําที,มีอักษรควบ เช่น จักร บุตร เพชร เนตร ประสูติ ประโยชน์ ปณิธาน ปราโมทย์ ปรัชญา ประมาท ประกาศ ปรัชญา ประสูติ เป็น ต้น ๕ ) คําบาลีไม่มีวรรณยุกต์และไม้ไต่คู้ ๒. ภาษาเขมร ภาษาเขมรเข้ามาสู่ประทศไทยโดยทางการค้า การสงคราม การเมืองและวัฒนธรรม คําที%มาจากภาษาเขมรส่วนใหญ่ที%พบ มักใช้ในวรรณกรรม วรรณคดี คําราชาศัพท์ และใช้ในชีวิตประจําวัน มีหลักในการสังเกตดังนี; ๑ ) คําภาษาเขมรมักไม่มีวรรณยุกต์ ยกเว้น เสน่ง เขม่า เป็นต้น ๒ ) คําภาษาเขมรมักไม่ประวิสรรชนีย์ เช่น ลออ ผจง ผอบ ฉงน เป็นต้น ๓ ) มักใช้ ร ล ญ เป็นตัวสะกดในมาตรา แม่ กน เช่น ขจร ขะ-จอน ร เหมือน น สะกด กาล กาน ล เหมือน น สะกด เจริญ จะ-เริน ญ เหมือน น สะกด ๔ ) มักใช้ จ ส เป็นตัวสะกดในมาตรา แม่ กด เช่น เสด็จ เผด็จ บําเหน็จ บังอาจ ตรัส จํารัส เป็นต้น ๕ ) มักเป็นคําควบกลํ;าและอักษรนํา เช่น กระจอก กระออม ขนาด ขลัง โขมด ตรอก เฉนียน เผด็จ เป็นต้น ๖ ) คําราชาศัพท์บางคํามาจากภาษาเขมร เช่น คําราชาศัพท์ ความหมาย คําราชาศัพท์ ความหมาย แกล หน้าต่าง ปับผาสะ ปอด ขนง คิ;ว ๗ ) คําที%ขึ;นต้นด้วย บัง บัน บํา บรร มักมาจากภาษาเขมร เช่น บันดาล บันได บันทึก บันเทิง บันลือ บันโดย บันโหย บันเดิน บันกวด บังเกิด บรรทัด บรรทม บรรทัด บรรจุ บรรลุ บรรพต บรรเลง บรรพชา บรรหาร บรรทุก บําเพ็ญ บําราศ บําเรอ บํานาญ บําเหน็จ บําบัด บําบวม บังคม บังเกิด บังอาจ บังเหียน บังคับ บังคล บังเหิน ๘ ) คําที%ขึ;นต้นด้วย กํา คํา จํา ชํา ดํา ตํา ทํา มักมาจากภาษาเขมร เช่น ชื%อ......................นามสกุล................เลขที%........ชั;น................
  • 2. กําเนิด กําหนด กําจร คํานับ จําเริญ จําเนียร ชํานาญ ดําเนิน ดําริ ดํารง ตํารวจ ตํานาน ทํานาย ทําเนียม ๙ ) คําภาษาเขมรส่วนใหญ่มักแผลงคําได้ เช่น เกิด > กําเนิด จ่าย > จําหน่าย ครบ > คํารบ ชาญ > ชํานาญ แจก > จําแนก ตรวจ > ตํารวจ ๓. ภาษาจีน ภาษาจีนเข้าสู่ประเทศไทยโดยการติดต่อค้าขาย ลักษณะภาษาจีนและภาษาไทยมี คล้ายคลึงกัน เพราะเป็นภาษาคําโดดและ มีเสียงวรรณยุกต์ โดยมากเป็นคํานามที%เป็นเรื%องของอาหารและเครื%องใช้ คําจีนที%นํามาใช้โดยมากใช้ตามสําเนียงเดิม จะมีเพี;ยนไปบ้างก็ไม่มาก พอฟังกันรู้เรื%อง เช่น เกาเหลา แป๊ ะซะ ก๋วยเตีrยว เต้าหู้ เต้าส่วน พะโล้ กวยจัsบ จับฉ่าย บะฉ่อ เกีsยว ปุ้งกีr ตะหลิว บะหมี% เกีsยะ เป็นต้น ๔. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษเข้ามาในภาษาไทย เนื%องจากความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีและการศึกษาในยุคที%ไร้พรมแดน ทําให้คน ไทยเรียนรู้ภาษาอังกฤษมากขึ;น เช่น กราฟ กลูโคส กอล์ฟ คริสต์มาส เครดิต ( ชื%อเสียง ) เช็ค เชิ;ต โชว์ ชอล์ก เช็ค เชียร์ ซอส ซีเมนต์ เซ็น เต็นท์ ทอฟฟี% บล็อก บรู๊ฟ ปลัsก พลาสติก ฟุลสแก๊ป ฟิล์ม ฟิวส์ แฟลต ไมโครเวฟ ไมโครโฟน ไมล์ ริบบิ;น ลิฟต์ เสิร์ฟ หรีด โหวด อิเล็กทรอนิกส์ โอลิมปิก ไอศกรีม ฮอกกี; เฮลิคอปเตอร์ เป็นต้น ๕. ภาษาชวา ภาษาชวาเข้าปะปนในภาษาไทย เพราะอิทธิพลจากวรรณคดีเรื%องอิเหนา ซึ%งเป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศ หล้านภาลัยเป็นที%รู้จักแพร่หลาย คนไทยจึงรู้จักภาษาชวา และนําภาษาชวามาใช้ในภาษาไทยมากขึ;น เช่น กระยาหงัน ( สวรรค์ ) กริช โนรี ( นกแก้ว ) ซาหริ%ม ( ขนม ) ปั;นเหน่ง ( เข็มขัด) โดม ( สูง ) บุหงา ( ดอกไม้ ) บุหรง ( นกยูง ) บุหลัน ( ดวงจันทร์ ) ยาหยี ( น้องรัก ) ยี%หว่า ( ชีวิตจิตใจ ) ตุนาหงัน ( คู่หมั;น ) มะงุมมะงาหรา ช่าโบะ( ผ้าห่ม ) ๖. ภาษาเปอร์เซีย เช่น กะลาสี ( ลูกเรือ ) กากี กาหลิน กุหลาบ จารบิ บัลกรี ยี%หร่า สักหลาด ชาร์ ( กษัตริย์ ) ๗. ภาษาโปรตุเกส ภาษาโปรตุเกสเข้ามาในสมัยพระรามาธิบดีที% ๒ เช่น กะละมัง กะละแม ปิ%นโต เลหลัง สบู่ เหรียญ แบบฝึกหัด นักเรียนอ่านใบความรู้เรื,อง ลักษณะคําที,มาจากภาษาต่างประเทศ แล้วทําแบบฝึกหัดต่อไปนี:(ส่งในคาบ) ตอนที, ๑ ให้นักเรียนอ่านบทความต่อไปนี:และหาคําต่างประเทศ พร้อมทั:งระบุว่ามาจากภาษาใด ไยแพะต้องรับบาปด้วย “แพะรับบาป” พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้อธิบายว่า เป็นสํานวน ซึ%งหมายถึงคนที%รับเคราะห์กรรมแทน ผู้อื%นที%ทํากรรมนั;น ส่วนที%มาของสํานวนนี; พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์ครั;งที% ๒ (แก้ไขเพิ%มเติม) ได้ ระบุไว้ ดังนี; ที%มาของคําว่า แพะรับบาป นี; ปรากฏในคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม ซึ%งเป็นคัมภีร์ของชาวอิสราเอลผู้มีภูมิหลังเป็นผู้มีอาชีพเลี;ยง แพะ เลี;ยงแกะ แพะรับบาปเป็นพิธีปฏิบัติในวันลบบาปประจําปีของชาวอิสราเอล ซึ%งเริ%มต้นด้วยปุโรหิตถวายวัวเป็นเครื%องบูชาไถ่บาปของ ตนเองและครอบครัว เมื%อเสร็จพิธีแล้ว ปุโรหิตจะนําแพะ ๒ ตัวไปถวายพระเป็นเจ้าที%ประตูเต็นท์นัดพบ และจับสลากเลือกแพะ ๒ ตัวนั;น สลากที% ๑ เป็นสลากสําหรับแพะที%ถวายพระเป็นเจ้า อีกสลากหนึ%งเป็นสลากสําหรับแพะรับบาป หากสลากแรกตกแก่แพะตัวใด แพะตัวนั;นจะถูกฆ่าและถวายเป็นเครื%องบูชาเพื%อไถ่บาปของประชาชน เรียกว่า “แพะรับบาป” ส่วนสลากที% ๒ หากตกแก่แพะตัวใด แพะตัวนั;นเรียกว่า “แพะรับบาป” ซึ%งปุโรหิตจะถวายพระเป็นเจ้าทั;งยังมีชีวิตอยู่ แล้วใช้ทําพิธี ลบบาปของประชาชน โดยยกบาปให้ตกที%แพะตัวนั;น เสร็จแล้วก็จะปล่อยแพะตัวนั;นให้นําบาปเข้าไปในป่าลึกจนแพะและบาปไม่สามารถ กลับมาอีก ส่วนในศาสนาฮินดู เซอร์มอเนียร์ วิลเลียมส์ สันนิษฐานว่า การฆ่ามนุษย์บูชายัญคงไม่เป็นที%ถูกอัธยาศัยพื;นฐานของพวกอารยัน คัมภีร์พราหมณะจึงอธิบายว่าเทวดาฆ่ามนุษย์ ส่วนที%เหมาะสมจะใช้บูชายัญก็ออกไปจากมนุษย์เข้าสู่ร่างม้า ม้าจึงกลายเป็นสัตว์ที%
  • 3. เหมาะสมจะใช้บูชายัญ เมื%อฆ่าม้า ส่วนที%เหมาะสมจะใช้บูชาก็ออกจากม้าไปเข้าร่างโค เมื%อฆ่าโค ส่วนที%เหมาะสมจะใช้บูชาก็ออกจากโค ไปสู่แกะ จากแกะไปแพะ ส่วนที%เหมาะสมจะใช้บูชา คงอยู่ในตัวแพะนานที%สุด แพะจึงกลายเป็นสัตว์ที%เหมาะสมที%สุดสําหรับใช้ฆ่าบูชายัญ คํา มาจากภาษา คํา มาจากภาษา ๑. ๑๑. ๒. ๑๒. ๓. ๑๓. ๔. ๑๔. ๕. ๑๕. ๖. ๑๖. ๗. ๑๗. ๘. ๑๘. ๙. ๑๙. ๑๐. ๒๐. ตอนที, ๒ บอกสาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย อย่างน้อย ๕ ข้อ ๑................................................................................................................................................................................... ๒................................................................................................................................................................................... ๓................................................................................................................................................................................... ๔................................................................................................................................................................................... ๕................................................................................................................................................................................... ตอนที% ๓ กากบาทข้อที%ถูกต้องที%สุดเพียงข้อเดียว i) คําที,เกี,ยวข้องกับอาหารการกิน มักจะยืมมาจากภาษาใด ก. ภาษาจีน ข. ภาษาเขมร ค. ภาษาอังกฤษ ง.ภาษาชวา-มาลายู ๒) คําในข้อใดเป็นคําภาษาเขมร ก.ปกติ ข. ประถม ค. ศก ง. สัตถา ๓) ข้อใดเป็นลักษณะของคําภาษาจีนที,ใช้ในคําภาษาไทย ก. ส่วนใหญ่เป็นเสียงสามัญ ข. ไม่มีตัวสะกดแต่นิยมด้วยสระเสียงยาว ค. พยัญชนะต้อนเป็นอักษรกลางมากกว่าอักษรอื%น ง. ส่วนใหญ่เป็นคําพยางค์เดียว ไทยนํามาสร้างคําใหม่เป็นคํา ประสม ๔) คําภาษาชวาเข้ามาในภาษาไทยพร้อมกับวรรณคดีเรื,องใด ก. รามเกียรติW ข. ระเด่นลันได ค. ลิลิตเพชรมงกุฎง. ดาหลังและอิเหนา ๕) ข้อใดเป็นภาษามลายู ก. หมึก ข. สบง ค. สลาตัน ง.จอง ๖) คํายืมทีมาจากภาษาอังกฤษเริ,มเข้ามาในสมัยใด ก. รัชกาลที% y ข. รัชกาลที% z ค. รัชกาลที% {-| ง. รัชกาลที% }-~ ๗) คําทับศัพท์มีลักษณะอย่างไร ก. ยืมมาปรับเปลี%ยนความหมาย ข. ยืมมาใช้โดยไม่มีการปรับปรุงแก้ไข ค. ยืมมาปรับเปลี%ยนโคลงสร้างของคํา ๑๑.ข้อใดมีคําที,มาจากภาษาต่างประเทศมากที,สุด ก.จงเจริญชเยศด้วยเดชะ ข.ปราชญ์แสดงดําริด้วยไตรยางศ์ ค.อ้าจอมจักรพรรดิผู้เพ็ญยศ ง.บัณฑิตวินิจเลิศ แถลงสาร ๑๒.คําประพันธ์ต่อไปนี:มีคํายืมจากต่างประเทศรวมกี,คํา “บํารุงบิดามา ตุระด้วยหทัยปรีย์ หากลูกและเมียมี ก็ถนอม ประนึ,งตน” ก.๕ คํา ข.๖ คํา ค. ๗ คํา ง.๘ ตํา ๑๓.คําในข้อใดไม่มีคํายืมจากภาษาอังกฤษ ก.กินจุบกินจิบ คือการให้ทิปแก่กิเลสความโลภ ข.ต้มและรักษาความร้อนโดยอัตโนมัติ ค.สัญลักษณ์ปลาทองสร้างจากเทคโนโลยีทศวรรษหน้า ง.มีปลัsกระบบแม่เหล็ก ป้องกันอุบัติเหตุจากการสะดุดสายไฟ ๑๔. ข้อใดเป็นคําที,มาจากภาษาต่างประเทศทุกคํา ก. เกาเหลา ข้าวเปล่า ข. บันได แก้วนํ;า ค. ทุเรียน มะขาม ง. กัลปังหา กีตาร์ ๑๕. ข้อใดเป็นคําที,มาจากภาษาอังกฤษทุกคํา ก. คอนเสิร์ต แท็กซี% นอต ข. เกียร์ ดีเซล จับกัง ค. ทีวี บัดกรี ชอล์ก ง. จาระบี เรดาห์ สักหลาด ๑๖. ข้อใดเป็นคําที,มาจากภาษาอังกฤษทุกคํา ก. กงสุล คาเฟ่ แท็กซี% เทนนิส ข. เรสเตอรองท์ บุฟเฟต์ บูเกต์ เบคอน ค. ไวโอลิน เต็นท์ เกียร์ แบตเตอรี%
  • 4. ง. ยืมมาปรับเปลี%ยนวิธีการออกเสียง ๘) ข้อใดเป็นคํายืมภาษาฝรั,งเศส ก.บาทหลวง ข.หลา ค.เมตร ง.สบู่ ๙) คําในข้อใดเป็นภาษาเปอร์เซีย ก. ฝรั%ง ข.ตะกั%ว ค.อาจาด ง.กํามะหยี% ๑๐) คําในข้อใดเป็นคําไทยแท้ทุกคํา ก. อวย ถนน จมูก ข. ตะวัน กระโดด โปรด ค. จังหวัด ลําเนา เพลา ง. สะใภ้ ตะวัน มะพร้าว ง. เนกไท เครดิต แคชเชียร์ โชเฟอร์ ๑๗. ข้อใดใช้ภาษาต่างประเทศโดยไม่จําเป็น ก. เมื%อไฟดับควรตรวจดูว่าเป็นเพราะฟิวส์ขาดหรือปลัsกหลุด ข. เด็ก ๆ ชอบรับประทานไอศกรีมช็อกโกแลตมากกว่าไอศกรีม กะทิสด ค. ก่อนเข้าแบงก์ผู้ขับขี%รถจักรยานยนต์ต้องถอดหมวกกันน็อก และแว่นตาดําออก ง. นักกอล์ฟหลายคนอยากเปลี%ยนวงสวิงให้คล้ายกับไทเกอร์วูดส์ เพื%อให้ตีลูกได้แม่นและไกล ๑๘. ข้อใดเป็นคําที,มาจากภาษาจีนทุกคํา ก. โบตัrน กุยช่าย เท็มปุระ ข. คะน้า ท้อ สึนามิ ค. ก๋วยเตีrยว โจ๊ก โอเลี;ยง ง.จับเลี;ยง ซาโยนาระ โหวงเฮ้ง