SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
ระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากปัญหาหมอกควัน
เขตสุขภาพที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
2 สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
ระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ
จากปัญหาหมอกควัน เขตสุขภาพที่ 1
รหัสแต่ละโรงพยาบาลใช้ตัว u ตามด้วยรหัสโรงพยาบาล
password 1234
เช่น u10713 pass 1234
3 สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
ระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ
จากปัญหาหมอกควัน เขตสุขภาพที่ 1
สสอ.ใช้รหัสของโรงพยาบาล
ใช้ตัว u ตามด้วยรหัสโรงพยาบาล
password 1234
เช่น u10713 pass 1234
4 สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
ระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ
จากปัญหาหมอกควัน เขตสุขภาพที่ 1
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
รพศ./รพท./รพช
สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับเขต และส่วนกลาง เช่น สานักงานตรวจราชการ เขต 1
ศูนย์อนามัยที่ 1 ศูนย์ทรัพยากรธรรมชาติเขต เป็นต้น
Weekly Feed back report
ทุกหน่วยงาน
เข้าถึงได้ตลอดเวลา
สานักงานสาธารณสุขอาเภอ
1.รายงานผู้ป่วย
ผ่าน website ทุกวัน
(วันจันทร์/ศุกร์
ภายใน 9.00 น. )
วันอังคาร/พุธ/พฤหัส
(ส่งก่อนเที่ยง)
วันอังคาร
2. รายงานกิจกรรมทุก
วัน ก่อนเที่ยง
Weekly Feed back report
Weekly Feed back report
ระยะที่มีปัญหา
หมอกควัน
การรายงาน
5 สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
กลุ่มระบาดวิทยาและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
การรายงานโรค กลุ่มโรคที่เฝ้าระวังผลกระทบ
ต่อสุขภาพจาก PM2.5
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง ชื่อหรืออาการสาคัญของโรคจากสิ่งแวดล้อม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2565
1) หอบเหนื่อยมากขึ้นกว่าปกติ ไอมากขึ้นกว่าปกติ มีปริมาณเสมหะมากขึ้นกว่าปกติ เสมหะเปลี่ยนสี อันอาจเป็นอาการของโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกาเริบ (เฉียบพลัน) (Chronic
obstructive pulmonary disease with (acute) exacerbation)
2) ไอ แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีด หอบเหนื่อย อันอาจเป็นอาการของโรคหืดเฉียบพลัน (Acute asthma) ทั้งนี้ อาการดังกล่าวอาจหายได้เองหรืออาจหายได้เมื่อได้รับยาขยายหลอดลม
3) เจ็บเค้นที่บริเวณอกอย่างรุนแรงเฉียบพลันหรือขณะพักเป็นระยะเวลานานกว่ายี่สิบนาที ซึ่งอาจเพิ่งมีอาการดังกล่าวหรือมีอาการรุนแรงขึ้น ใจสั่น เหงื่อออก เหนื่อยมากขึ้นกว่าปกติขณะออก
แรง วิงเวียนหน้ามืดหรืออาจถึงขั้นหมดสติ หรือเสียชีวิต อันอาจเป็นอาการของโรคหัวใจขาดเลือดแบบเฉียบพลัน (Acute ischemic heart diseases) หรือโรคภาวะหัวใจขาดเลือดแบบ
เฉียบพลันที่เกิดขึ้นหลังจากพบภาวะหัวใจขาดเลือด (Subsequent ST elevation (STEMI) and non-ST elevation (NSTEMI) myocardial infarction)
4) ตาแดง แสบตา เคืองตา น้าตาไหลมาก คันตา มีสารคัดหลั่งออกจากตาหรือมีขี้ตา (Ocular discharge) อันอาจเป็นอาการของโรคเยื่อบุตาขาวอักเสบ (Conjunctivitis)
5) ผิวหนังมีผื่นแดง คัน ตุ่มแดง ตุ่มน้า หรือมีขุยร่วมด้วย อันอาจเป็นอาการของโรคผื่นผิวหนังอักเสบ (Eczema) หรือผิวหนังมีผื่นบวมนูนแดง (Wheal and flare) อันอาจเป็นอาการของโรคผื่น
ลมพิษ (Urticaria)
6 สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
การปรับการรายงานโรคในโปรแกรมเฝ้าระวังกระทบด้านสุขภาพ
จากปัญหาหมอกควัน สคร.1
โรคที่ต้องเฝ้าระวัง รหัส ICD10
1. กลุ่มโรคทางเดินหายใจรวม J00-J99
COPD J44.0, J44.1, J44.8, J44.9
Chronic obstructive pulmonary disease with (acute) exacerbation J44.1
Influenza with pneumonia, seasonal influenza virus identified J10.0
Influenza with pneumonia, virus not identified J11.0
Pneumonia J12-J18
Asthma J45, J44.2
Acute severe asthma J46
2.กลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือดรวม I00-I99
Acute ischemic heart diseases (I21.0-I21.9), (I22.0,I22.1,I22.8,I22.9), (I24.0,I24.1,I24.8,I24.9)
Subsequent ST elevation (STEMI) and non-ST elevation (NSTEMI) myocardial infarction I22
Stroke I64
Acute myocarditis Infraction I21
Acute Heart failure I50
Cerebrovascular diseases I60-I66
Other specified cerebrovascular diseases I67
3. กลุ่มโรคเยื่อบุตาขาวอักเสบ (Conjunctivitis) H10
4. กลุ่มโรคผิวหนังอักเสบ L30.9, L50
Dermatitis L30.9
Urticaria L50, L50.0-L50.9
7 สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
ระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ
จากปัญหาหมอกควัน เขตสุขภาพที่ 1
วิธีดาเนินการ
ช่องทางการรายงานข้อมูล
การรายงานในระบบ ฯ บันทึกข้อมูล Online บนเว็บไซต์สานักงานควบคุมป้องกันโรคที่ 1 เชียงใหม่
แบ่งเป็น 3 ส่วน
1. การรายงานจานวนผู้ป่วย ที่ได้รับผลกระทบต่อสุขภาพ แยกตาม โรค หรือกลุ่มอาการที่กาหนด
2. การรายงานจานวนผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยงหรือมีโรคประจาตัว แยกตาม โรค หรือกลุ่มอาการที่กาหนด
3. การรายงานกิจกรรมการดาเนินงานเพื่อป้องกันและควบคุมผลกระทบต่อสุขภาพ
8 สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
ระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ
จากปัญหาหมอกควัน เขตสุขภาพที่ 1
วิธีดาเนินการ
ระยะเวลาดาเนินการ แบ่งเป็น 2 ระยะ
1. ระยะที่มีปัญหาหมอกควัน (มกราคม – พฤษภาคม)
บันทึกเป็นรายวันตามสัปดาห์แรกของปีปฏิทิน
1. ระยะปกติ (มิถุนายน – ธันวาคม)
การบันทึกขึ้นอยู่กับจังหวัดจะใช้ประโยชน์ข้อมูลในระดับใด
9 สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
ระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ
จากปัญหาหมอกควัน เขตสุขภาพที่ 1
รายงานกิจกรรมการดาเนินงาน
• การรายงานกิจกรรมการป้องกันควบคุมโรคที่ดาเนินในระหว่างสัปดาห์นั้นในพื้นที่รับผิดชอบ :
รายงานทุกวันที่ดาเนินการ
• ผู้รายงานเป็นได้ทั้งสถานบริการระดับโรงพยาบาลขึ้นไป จนถึง สสอ. หรือ สสจ. ขึ้นอยู่กับ
ข้อตกลงของจังหวัด
• การรายงานให้รวบรวมข้อมูลและรูปภาพกิจกรรม แล้วรายงานทุกสัปดาห์ บนเว็บไซต์ของ
สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่
Thank You

More Related Content

More from ssuser4255cc

แนวคิดการทำ 5 ส.ppt
แนวคิดการทำ  5 ส.pptแนวคิดการทำ  5 ส.ppt
แนวคิดการทำ 5 ส.pptssuser4255cc
 
งานนำเสนอ 5 นาที.pptx
งานนำเสนอ 5 นาที.pptxงานนำเสนอ 5 นาที.pptx
งานนำเสนอ 5 นาที.pptxssuser4255cc
 
ยาเสพติด2.ppt
ยาเสพติด2.pptยาเสพติด2.ppt
ยาเสพติด2.pptssuser4255cc
 
ยาเสพติด1.ppt
ยาเสพติด1.pptยาเสพติด1.ppt
ยาเสพติด1.pptssuser4255cc
 
ยาเสพติด.ppt
ยาเสพติด.pptยาเสพติด.ppt
ยาเสพติด.pptssuser4255cc
 

More from ssuser4255cc (8)

แนวคิดการทำ 5 ส.ppt
แนวคิดการทำ  5 ส.pptแนวคิดการทำ  5 ส.ppt
แนวคิดการทำ 5 ส.ppt
 
งานนำเสนอ 5 นาที.pptx
งานนำเสนอ 5 นาที.pptxงานนำเสนอ 5 นาที.pptx
งานนำเสนอ 5 นาที.pptx
 
ยาเสพติด2.ppt
ยาเสพติด2.pptยาเสพติด2.ppt
ยาเสพติด2.ppt
 
ยาเสพติด1.ppt
ยาเสพติด1.pptยาเสพติด1.ppt
ยาเสพติด1.ppt
 
ยาเสพติด.ppt
ยาเสพติด.pptยาเสพติด.ppt
ยาเสพติด.ppt
 
doc000001.ppt
doc000001.pptdoc000001.ppt
doc000001.ppt
 
jeab2.ppt
jeab2.pptjeab2.ppt
jeab2.ppt
 
2101643.ppt
2101643.ppt2101643.ppt
2101643.ppt
 

การใช้งานระบบเฝ้าระวัง.pptx

  • 2. 2 สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ ระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ จากปัญหาหมอกควัน เขตสุขภาพที่ 1 รหัสแต่ละโรงพยาบาลใช้ตัว u ตามด้วยรหัสโรงพยาบาล password 1234 เช่น u10713 pass 1234
  • 3. 3 สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ ระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ จากปัญหาหมอกควัน เขตสุขภาพที่ 1 สสอ.ใช้รหัสของโรงพยาบาล ใช้ตัว u ตามด้วยรหัสโรงพยาบาล password 1234 เช่น u10713 pass 1234
  • 4. 4 สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ ระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ จากปัญหาหมอกควัน เขตสุขภาพที่ 1 สานักงานสาธารณสุขจังหวัด รพศ./รพท./รพช สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับเขต และส่วนกลาง เช่น สานักงานตรวจราชการ เขต 1 ศูนย์อนามัยที่ 1 ศูนย์ทรัพยากรธรรมชาติเขต เป็นต้น Weekly Feed back report ทุกหน่วยงาน เข้าถึงได้ตลอดเวลา สานักงานสาธารณสุขอาเภอ 1.รายงานผู้ป่วย ผ่าน website ทุกวัน (วันจันทร์/ศุกร์ ภายใน 9.00 น. ) วันอังคาร/พุธ/พฤหัส (ส่งก่อนเที่ยง) วันอังคาร 2. รายงานกิจกรรมทุก วัน ก่อนเที่ยง Weekly Feed back report Weekly Feed back report ระยะที่มีปัญหา หมอกควัน การรายงาน
  • 5. 5 สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ กลุ่มระบาดวิทยาและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ การรายงานโรค กลุ่มโรคที่เฝ้าระวังผลกระทบ ต่อสุขภาพจาก PM2.5 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อหรืออาการสาคัญของโรคจากสิ่งแวดล้อม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2565 1) หอบเหนื่อยมากขึ้นกว่าปกติ ไอมากขึ้นกว่าปกติ มีปริมาณเสมหะมากขึ้นกว่าปกติ เสมหะเปลี่ยนสี อันอาจเป็นอาการของโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกาเริบ (เฉียบพลัน) (Chronic obstructive pulmonary disease with (acute) exacerbation) 2) ไอ แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีด หอบเหนื่อย อันอาจเป็นอาการของโรคหืดเฉียบพลัน (Acute asthma) ทั้งนี้ อาการดังกล่าวอาจหายได้เองหรืออาจหายได้เมื่อได้รับยาขยายหลอดลม 3) เจ็บเค้นที่บริเวณอกอย่างรุนแรงเฉียบพลันหรือขณะพักเป็นระยะเวลานานกว่ายี่สิบนาที ซึ่งอาจเพิ่งมีอาการดังกล่าวหรือมีอาการรุนแรงขึ้น ใจสั่น เหงื่อออก เหนื่อยมากขึ้นกว่าปกติขณะออก แรง วิงเวียนหน้ามืดหรืออาจถึงขั้นหมดสติ หรือเสียชีวิต อันอาจเป็นอาการของโรคหัวใจขาดเลือดแบบเฉียบพลัน (Acute ischemic heart diseases) หรือโรคภาวะหัวใจขาดเลือดแบบ เฉียบพลันที่เกิดขึ้นหลังจากพบภาวะหัวใจขาดเลือด (Subsequent ST elevation (STEMI) and non-ST elevation (NSTEMI) myocardial infarction) 4) ตาแดง แสบตา เคืองตา น้าตาไหลมาก คันตา มีสารคัดหลั่งออกจากตาหรือมีขี้ตา (Ocular discharge) อันอาจเป็นอาการของโรคเยื่อบุตาขาวอักเสบ (Conjunctivitis) 5) ผิวหนังมีผื่นแดง คัน ตุ่มแดง ตุ่มน้า หรือมีขุยร่วมด้วย อันอาจเป็นอาการของโรคผื่นผิวหนังอักเสบ (Eczema) หรือผิวหนังมีผื่นบวมนูนแดง (Wheal and flare) อันอาจเป็นอาการของโรคผื่น ลมพิษ (Urticaria)
  • 6. 6 สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ การปรับการรายงานโรคในโปรแกรมเฝ้าระวังกระทบด้านสุขภาพ จากปัญหาหมอกควัน สคร.1 โรคที่ต้องเฝ้าระวัง รหัส ICD10 1. กลุ่มโรคทางเดินหายใจรวม J00-J99 COPD J44.0, J44.1, J44.8, J44.9 Chronic obstructive pulmonary disease with (acute) exacerbation J44.1 Influenza with pneumonia, seasonal influenza virus identified J10.0 Influenza with pneumonia, virus not identified J11.0 Pneumonia J12-J18 Asthma J45, J44.2 Acute severe asthma J46 2.กลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือดรวม I00-I99 Acute ischemic heart diseases (I21.0-I21.9), (I22.0,I22.1,I22.8,I22.9), (I24.0,I24.1,I24.8,I24.9) Subsequent ST elevation (STEMI) and non-ST elevation (NSTEMI) myocardial infarction I22 Stroke I64 Acute myocarditis Infraction I21 Acute Heart failure I50 Cerebrovascular diseases I60-I66 Other specified cerebrovascular diseases I67 3. กลุ่มโรคเยื่อบุตาขาวอักเสบ (Conjunctivitis) H10 4. กลุ่มโรคผิวหนังอักเสบ L30.9, L50 Dermatitis L30.9 Urticaria L50, L50.0-L50.9
  • 7. 7 สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ ระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ จากปัญหาหมอกควัน เขตสุขภาพที่ 1 วิธีดาเนินการ ช่องทางการรายงานข้อมูล การรายงานในระบบ ฯ บันทึกข้อมูล Online บนเว็บไซต์สานักงานควบคุมป้องกันโรคที่ 1 เชียงใหม่ แบ่งเป็น 3 ส่วน 1. การรายงานจานวนผู้ป่วย ที่ได้รับผลกระทบต่อสุขภาพ แยกตาม โรค หรือกลุ่มอาการที่กาหนด 2. การรายงานจานวนผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยงหรือมีโรคประจาตัว แยกตาม โรค หรือกลุ่มอาการที่กาหนด 3. การรายงานกิจกรรมการดาเนินงานเพื่อป้องกันและควบคุมผลกระทบต่อสุขภาพ
  • 8. 8 สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ ระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ จากปัญหาหมอกควัน เขตสุขภาพที่ 1 วิธีดาเนินการ ระยะเวลาดาเนินการ แบ่งเป็น 2 ระยะ 1. ระยะที่มีปัญหาหมอกควัน (มกราคม – พฤษภาคม) บันทึกเป็นรายวันตามสัปดาห์แรกของปีปฏิทิน 1. ระยะปกติ (มิถุนายน – ธันวาคม) การบันทึกขึ้นอยู่กับจังหวัดจะใช้ประโยชน์ข้อมูลในระดับใด
  • 9. 9 สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ ระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ จากปัญหาหมอกควัน เขตสุขภาพที่ 1 รายงานกิจกรรมการดาเนินงาน • การรายงานกิจกรรมการป้องกันควบคุมโรคที่ดาเนินในระหว่างสัปดาห์นั้นในพื้นที่รับผิดชอบ : รายงานทุกวันที่ดาเนินการ • ผู้รายงานเป็นได้ทั้งสถานบริการระดับโรงพยาบาลขึ้นไป จนถึง สสอ. หรือ สสจ. ขึ้นอยู่กับ ข้อตกลงของจังหวัด • การรายงานให้รวบรวมข้อมูลและรูปภาพกิจกรรม แล้วรายงานทุกสัปดาห์ บนเว็บไซต์ของ สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่