SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
อ่านแล้วดีเลยเก็บมาฝากจากใจศน.เม ค่ะ
การวิเคราะห์ศักยภาพในการอ่าน
12 ธันวาคม 2556
การที่ใครคนใดคนหนึ่งจะชอบอ่านหนังสือได้นั้น ไม่ใช่แค่มีใจรักอย่างเดียว แต่ต้องมีความสามารถที่
จะอ่านหนังสือด้วย ครูบางท่านบ่นว่า “นักเรียนไม่ชอบอ่านหนังสือ” หรือ “นักเรียนไม่ชอบเรียนหนังสือ”
แน่นอนว่าอาจจะไม่ใช่อย่างนั้นเสียทีเดียว กล่าวคืออาจจะไม่ใช่เป็นเพราะเด็กเหล่านั้นไม่ชอบอ่านหนังสือ แต่
พวกเขาไม่มีความสามารถในการอ่านต่างหาก
องค์กรพัฒนาการศึกษาด้านการอ่านของเกาหลี เคยจัดโครงการพัฒนาความสามารถในการอ่านของ
เด็กๆ ซึ่งในบรรดาเด็กๆ ที่เข้าร่วมโครงการ ไม่มีใครที่ไม่ชอบหนังสือมาตั้งแต่แรกเลยสักคน อีกทั้งยังไม่มีเด็ก
คนไหนจงใจที่จะไม่อ่านหนังสือ และไม่มีเด็กคนไหนที่จงใจเรียนหนังสือไม่เก่งอีกด้วย เพียงแต่พวกเขาไม่อ่าน
หนังสือเพราะไม่สามารถอ่านได้ และผลการเรียนไม่ดีเพราะไม่มีความสามารถในการเรียน ดังนั้นครูจึงควรที่จะ
วิเคราะห์ศักยภาพในการอ่านของนักเรียน เพื่อให้ทราบว่าเด็กนักเรียนมีศักยภาพมากแค่ไหน
1. ด้านสมาธิ มีความมั่นคงในจิตใจ สุขุมลุ่มลึก มีสัญชาตญาณ จะช่วยให้มีศักยภาพในการอ่าน และ
การศึกษาเล่าเรียน
2. ด้านคาศัพท์ ปริมาณและคุณภาพของคาศัพท์ที่สามารถใช้ได้ เป็นเครื่องบ่งชี้ขอบเขตความคิดของ
มนุษย์ และเป็นกุญแจสาคัญในการเข้าใจเนื้อเรื่อง
3. ด้านการประติดประต่อโครงเรื่อง ช่วยให้สามารถลาดับเรื่องราวเป็นขั้นตอน ช่วยให้เข้าใจเรื่องยาวๆ
ได้ง่าย
4. ด้านความเข้าใจ เป็นกลไกพื้นฐานของการอ่าน โดยมีศักยภาพด้านคาศัพท์เป็นฐานรองรับ
5. ด้านการสรุปรวมความ เป็นความสามารถในการย่อเรื่องยาวๆ ให้สั้นลง โดยไม่ใส่ความคิดส่วนตัว
ด้านการคิดวิเคราะห์ เป็นความสามารถในการทองเห็นเรื่องทั้งหมดด้วยการแยกแยะออกเป็นส่วนๆ
ช่วยให้เข้าใจเรื่องราวต่างๆ ได้อย่างเป็นรูปธรรม
6. ด้านการใช้เหตุผล เป็นความสามารถในการเข้าใจ โดยอาศัยข้อเท็จจริงของเรื่องราวต่างๆ เป็นเครื่อง
ยืนยัน ช่วยให้จับประเด็นสาคัญของเรื่องราวที่ซับซ้อนได้
7. ด้านการใช้วิจารณญาณ เป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อเรื่องราวต่างๆ หากศักยภาพด้านนี้มีน้อยจะถูก
ล่อล่วงให้ไขว้เขวได้ง่าย
8. ด้านจินตนาการ เป็นความสามารถเข้าใจด้วยการอ่านพร้อมกับคิดวาดภาพในใจตามไปด้วย จะช่วย
เพิ่มความสนุกสนานในการอ่านมากขึ้น
9. ด้านการอนุมาน (การคาดคะเนอย่างมีหลักการตามข้อมูลหลักฐานที่มี) เป็นความสามารถ ในการ
ค้นหาความหมายที่ซ่อนอยู่ โดยอาศัยเงื่อนงาเล็กๆ น้อยๆ รู้เพียงเรื่องเดียวก็สามารถโยงไปได้หลาย
เรื่อง
10. ด้านการวินิจฉัย เป็นความสามาถในการประเมินค่าของสิ่งต่างๆ ถือเป็นพื้นฐานของการวิเคราะห์
การใช้เหตุผล และการอนุมานเป็นต้น
11. ด้านความคิดสร้างสรรค์ เป็นความสามารถในการคิดพลิกแพลง คิดให้หลายหลาย และเป็น
เอกลักษณ์ ซึ่งจะเป็นกุญแจสาคัญของการแก้ปัญหา
12. ด้านการแก้ปัญหา เป็นความสามารถซึ่งเป็นลักษณะร่วมชองคนที่ประสบความสาเร็จในชีวิตทั้งหลาย
และเป็นเป้าหมายสูงสุดของการศึกษาทุกแขนง

ความสามารถในการอ่านหนังสือ ไม่ใช่สิ่งที่จะค่อยๆ
สร้างขึ้นได้ทีละนิดไปจนชั่วชีวิต แต่เป็นความสามารถที่ต้องเริ่มตั้งแต่การควบคุมจัดการด้านภาษา เมื่อเด็กอายุ
4 – 5 ปี และจะมีความสามารถการใช้ภาษาอยู่ตัว เมื่ออายุได้ประมาณ 12 ปี พูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ เป็น
ความสามารถที่ต้องปลูกฝังกันมาตั้งแต่ชั้นอนุบาลและชั้นประถม เด็กๆต้องอาศัยความสามารถในการอ่านที่
มั่นคงในช่วงนี้เป็นรากฐานในการเรียนระดับมัธยมต้น มัธยมปลาย และมหาวิทยาลัยต่อไป ดังนั้นหากเด็กคน
ใดไม่ได้รับการปลูกฝังให้มีความสามารถดังกล่าวในช่วงนี้ ยิ่งเรียนสูงขึ้นก็จะยิ่งลาบาก และยิ่งหมดความ
กระตือรือร้นในการเรียนมากขึ้น ในทางตรงกันข้าม เด็กที่ได้รับการปลูกฝังให้มีความสามารถด้านนี้ในช่วงวัย
ดังกล่าว ยิ่งเรียนสูงขึ้นก็จะยิ่งสบายมากขึ้น
อ้างอิงจาก : Nam mi-young. 10 นาทีมหัศจรรย์ยามเช้า สร้างลูกรักการอ่าน. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น ,
2554 สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2557 จาก http://www.readthailand.com

More Related Content

More from ศน. โมเมจ้า

รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
ศน. โมเมจ้า
 
การวิเคราะห์ศักยภาพในการอ่าน
การวิเคราะห์ศักยภาพในการอ่านการวิเคราะห์ศักยภาพในการอ่าน
การวิเคราะห์ศักยภาพในการอ่าน
ศน. โมเมจ้า
 
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 7
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 7เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 7
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 7
ศน. โมเมจ้า
 
เก็บมาฝากค่ะ ตอนที่ ๑ การอ่านจับใจความ
เก็บมาฝากค่ะ ตอนที่   ๑ การอ่านจับใจความเก็บมาฝากค่ะ ตอนที่   ๑ การอ่านจับใจความ
เก็บมาฝากค่ะ ตอนที่ ๑ การอ่านจับใจความ
ศน. โมเมจ้า
 
เก็บมาฝากจากศน.เม ตอนที่ ๑ การอ่านจับใจความ
เก็บมาฝากจากศน.เม ตอนที่   ๑ การอ่านจับใจความเก็บมาฝากจากศน.เม ตอนที่   ๑ การอ่านจับใจความ
เก็บมาฝากจากศน.เม ตอนที่ ๑ การอ่านจับใจความ
ศน. โมเมจ้า
 
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 2
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 2เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 2
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 2
ศน. โมเมจ้า
 
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 2
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 2ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 2
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 2
ศน. โมเมจ้า
 
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
ศน. โมเมจ้า
 
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
ศน. โมเมจ้า
 
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
ศน. โมเมจ้า
 
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
ศน. โมเมจ้า
 

More from ศน. โมเมจ้า (12)

แบบตอบรับ
แบบตอบรับแบบตอบรับ
แบบตอบรับ
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
 
การวิเคราะห์ศักยภาพในการอ่าน
การวิเคราะห์ศักยภาพในการอ่านการวิเคราะห์ศักยภาพในการอ่าน
การวิเคราะห์ศักยภาพในการอ่าน
 
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 7
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 7เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 7
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 7
 
เก็บมาฝากค่ะ ตอนที่ ๑ การอ่านจับใจความ
เก็บมาฝากค่ะ ตอนที่   ๑ การอ่านจับใจความเก็บมาฝากค่ะ ตอนที่   ๑ การอ่านจับใจความ
เก็บมาฝากค่ะ ตอนที่ ๑ การอ่านจับใจความ
 
เก็บมาฝากจากศน.เม ตอนที่ ๑ การอ่านจับใจความ
เก็บมาฝากจากศน.เม ตอนที่   ๑ การอ่านจับใจความเก็บมาฝากจากศน.เม ตอนที่   ๑ การอ่านจับใจความ
เก็บมาฝากจากศน.เม ตอนที่ ๑ การอ่านจับใจความ
 
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 2
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 2เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 2
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 2
 
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 2
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 2ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 2
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม 2
 
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
 
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
 
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
เนื้อ แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
 
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
ปก แนวการสอนซ่อมเสริม เล่ม1
 

การวิเคราะห์ศักยภาพในการอ่าน

  • 1. อ่านแล้วดีเลยเก็บมาฝากจากใจศน.เม ค่ะ การวิเคราะห์ศักยภาพในการอ่าน 12 ธันวาคม 2556 การที่ใครคนใดคนหนึ่งจะชอบอ่านหนังสือได้นั้น ไม่ใช่แค่มีใจรักอย่างเดียว แต่ต้องมีความสามารถที่ จะอ่านหนังสือด้วย ครูบางท่านบ่นว่า “นักเรียนไม่ชอบอ่านหนังสือ” หรือ “นักเรียนไม่ชอบเรียนหนังสือ” แน่นอนว่าอาจจะไม่ใช่อย่างนั้นเสียทีเดียว กล่าวคืออาจจะไม่ใช่เป็นเพราะเด็กเหล่านั้นไม่ชอบอ่านหนังสือ แต่ พวกเขาไม่มีความสามารถในการอ่านต่างหาก องค์กรพัฒนาการศึกษาด้านการอ่านของเกาหลี เคยจัดโครงการพัฒนาความสามารถในการอ่านของ เด็กๆ ซึ่งในบรรดาเด็กๆ ที่เข้าร่วมโครงการ ไม่มีใครที่ไม่ชอบหนังสือมาตั้งแต่แรกเลยสักคน อีกทั้งยังไม่มีเด็ก คนไหนจงใจที่จะไม่อ่านหนังสือ และไม่มีเด็กคนไหนที่จงใจเรียนหนังสือไม่เก่งอีกด้วย เพียงแต่พวกเขาไม่อ่าน หนังสือเพราะไม่สามารถอ่านได้ และผลการเรียนไม่ดีเพราะไม่มีความสามารถในการเรียน ดังนั้นครูจึงควรที่จะ วิเคราะห์ศักยภาพในการอ่านของนักเรียน เพื่อให้ทราบว่าเด็กนักเรียนมีศักยภาพมากแค่ไหน 1. ด้านสมาธิ มีความมั่นคงในจิตใจ สุขุมลุ่มลึก มีสัญชาตญาณ จะช่วยให้มีศักยภาพในการอ่าน และ การศึกษาเล่าเรียน 2. ด้านคาศัพท์ ปริมาณและคุณภาพของคาศัพท์ที่สามารถใช้ได้ เป็นเครื่องบ่งชี้ขอบเขตความคิดของ มนุษย์ และเป็นกุญแจสาคัญในการเข้าใจเนื้อเรื่อง 3. ด้านการประติดประต่อโครงเรื่อง ช่วยให้สามารถลาดับเรื่องราวเป็นขั้นตอน ช่วยให้เข้าใจเรื่องยาวๆ ได้ง่าย 4. ด้านความเข้าใจ เป็นกลไกพื้นฐานของการอ่าน โดยมีศักยภาพด้านคาศัพท์เป็นฐานรองรับ 5. ด้านการสรุปรวมความ เป็นความสามารถในการย่อเรื่องยาวๆ ให้สั้นลง โดยไม่ใส่ความคิดส่วนตัว ด้านการคิดวิเคราะห์ เป็นความสามารถในการทองเห็นเรื่องทั้งหมดด้วยการแยกแยะออกเป็นส่วนๆ ช่วยให้เข้าใจเรื่องราวต่างๆ ได้อย่างเป็นรูปธรรม 6. ด้านการใช้เหตุผล เป็นความสามารถในการเข้าใจ โดยอาศัยข้อเท็จจริงของเรื่องราวต่างๆ เป็นเครื่อง ยืนยัน ช่วยให้จับประเด็นสาคัญของเรื่องราวที่ซับซ้อนได้ 7. ด้านการใช้วิจารณญาณ เป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อเรื่องราวต่างๆ หากศักยภาพด้านนี้มีน้อยจะถูก ล่อล่วงให้ไขว้เขวได้ง่าย 8. ด้านจินตนาการ เป็นความสามารถเข้าใจด้วยการอ่านพร้อมกับคิดวาดภาพในใจตามไปด้วย จะช่วย เพิ่มความสนุกสนานในการอ่านมากขึ้น 9. ด้านการอนุมาน (การคาดคะเนอย่างมีหลักการตามข้อมูลหลักฐานที่มี) เป็นความสามารถ ในการ ค้นหาความหมายที่ซ่อนอยู่ โดยอาศัยเงื่อนงาเล็กๆ น้อยๆ รู้เพียงเรื่องเดียวก็สามารถโยงไปได้หลาย เรื่อง 10. ด้านการวินิจฉัย เป็นความสามาถในการประเมินค่าของสิ่งต่างๆ ถือเป็นพื้นฐานของการวิเคราะห์ การใช้เหตุผล และการอนุมานเป็นต้น 11. ด้านความคิดสร้างสรรค์ เป็นความสามารถในการคิดพลิกแพลง คิดให้หลายหลาย และเป็น เอกลักษณ์ ซึ่งจะเป็นกุญแจสาคัญของการแก้ปัญหา
  • 2. 12. ด้านการแก้ปัญหา เป็นความสามารถซึ่งเป็นลักษณะร่วมชองคนที่ประสบความสาเร็จในชีวิตทั้งหลาย และเป็นเป้าหมายสูงสุดของการศึกษาทุกแขนง ความสามารถในการอ่านหนังสือ ไม่ใช่สิ่งที่จะค่อยๆ สร้างขึ้นได้ทีละนิดไปจนชั่วชีวิต แต่เป็นความสามารถที่ต้องเริ่มตั้งแต่การควบคุมจัดการด้านภาษา เมื่อเด็กอายุ 4 – 5 ปี และจะมีความสามารถการใช้ภาษาอยู่ตัว เมื่ออายุได้ประมาณ 12 ปี พูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ เป็น ความสามารถที่ต้องปลูกฝังกันมาตั้งแต่ชั้นอนุบาลและชั้นประถม เด็กๆต้องอาศัยความสามารถในการอ่านที่ มั่นคงในช่วงนี้เป็นรากฐานในการเรียนระดับมัธยมต้น มัธยมปลาย และมหาวิทยาลัยต่อไป ดังนั้นหากเด็กคน ใดไม่ได้รับการปลูกฝังให้มีความสามารถดังกล่าวในช่วงนี้ ยิ่งเรียนสูงขึ้นก็จะยิ่งลาบาก และยิ่งหมดความ กระตือรือร้นในการเรียนมากขึ้น ในทางตรงกันข้าม เด็กที่ได้รับการปลูกฝังให้มีความสามารถด้านนี้ในช่วงวัย ดังกล่าว ยิ่งเรียนสูงขึ้นก็จะยิ่งสบายมากขึ้น อ้างอิงจาก : Nam mi-young. 10 นาทีมหัศจรรย์ยามเช้า สร้างลูกรักการอ่าน. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น , 2554 สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2557 จาก http://www.readthailand.com